SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
0
บทสรุปผู้บริหาร
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า
สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์
จัดทาโดย....กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองลาพูน
1
บทสรุปผู้บริหาร
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า
 ความเป็นมา
การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าในประเทศไทย เริ่มต้นในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งเป็นเมืองเก่า
ของกรุงเทพมหานครที่สามารถดาเนินการสัมฤทธิ์ผลได้อย่างเป็นรูปธรรม และมีการพัฒนาเมืองเก่า
ตามแนวทางการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ที่ให้ความสาคัญกับความสมดุลของระบบนิเวศน์ สภาพ
เศรษฐกิจชุมชน และสภาพความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน และเพื่อให้บริเวณเมืองเก่าสามารถดารง
คุณค่าความเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้าค่าของชาติไว้ได้ พร้อมไปกับการใช้ประโยชน์อย่าง
เหมาะสมและยั่งยืนของประชาชน จึงได้ขยายการดาเนินงานไปยังพื้นที่เมืองเก่าอื่นๆ ภายใต้ระเบียบ
สานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า พ.ศ.2546 ให้
คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า ทาหน้าที่วางนโยบาย กาหนดพื้นที่
จัดทาแผนแม่บท แนวทาง แผนปฏิบัติการ และมาตรการต่างๆ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า พ.ศ. 2548-2552 ได้กาหนดวิสัยทัศน์ ดังนี้ “เมืองเก่า
ได้รับการอนุรักษ์และพัฒนาอย่างเหมาะสม สามารถดารงคุณค่าความเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่
สาคัญของชาติไว้ได้ พร้อมไปกับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เพื่อคงไว้ซึ่งความซึ่งความสมดุลของระบบ
นิเวศเมืองและประโยชน์สุขของประชาชน” และเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ในการ
อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า ภายใต้ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีฯ คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนา
กรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า เห็นชอบให้เมืองเก่า 10 เมือง ได้แก่ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าน่าน
เมืองเก่าลาพูน เมืองเก่าลาปาง เมืองเก่ากาแพงเพชร เมืองเก่าพิษณุโลก เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่า
พิมาย เมืองเก่านครศรีธรรมราช และเมืองเก่าสงขลา เป็นเมืองเก่ากลุ่มที่ 1 โดยให้ดาเนินการเร่งรัด
ประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่า และจัดทาแผนบริหารจัดการเมืองเก่า เพื่อให้เมืองเก่าได้รับการคุ้มครอง
ดูแลอย่างถูกต้องเหมาะสม ซึ่งปัจจุบันได้ประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่าตามมติคณะรัฐมนตรีแล้วจานวน 9
เมือง ได้แก่ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าลาปาง เมืองเก่ากาแพงเพชร เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่าพิมาย
เมืองเก่านครศรีธรรมราช เมืองเก่าสงขลา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2553, เมืองเก่าลาพูน เมื่อวันที่
8 มีนาคม 2554 และเมืองเก่าน่าน เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2548 ส่วน เมืองเก่าพิษณุโลก (รอการ
ประกาศ) โดยได้มีการแจ้งยืนยันว่ามีความพร้อมให้ความร่วมมือในการที่จะสนับสนุนเพื่อนาไปสู่การ
ขับเคลื่อนให้จังหวัดพิษณุโลกเป็นเขตพื้นที่เมืองเก่า ต่อไป
2
ปัจจุบันในพื้นที่เมืองเก่า ทั้ง 10 แห่งมีสายไฟฟ้าและสายสื่อสาร ระโยงระยาง รกรุงรัง ดูไร้
ระเบียบ ทาให้ภูมิทัศน์เมืองเก่าถูกบดบังความงามอย่างสิ้นเชิง ที่ผ่านมา เทศบาลเมืองลาพูน ได้เป็น
เจ้าภาพในการจัดประชุม หารือ เพื่อจัดทาโครงการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ 10 เมืองเก่า
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์) ครั้งแรก ณ อาคารอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี
อาเภอปากเกร็ด จ.นนทบุรี เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557 โดยมติที่ประชุมให้ทั้ง 10เมืองร่วมกัน
ศึกษาและทาแผนการดาเนินโครงการดังกล่าวร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปิดมุมมองใหม่ของเมือง
เพิ่มศักยภาพในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเมืองเก่า ทั้ง 10 เมือง และให้เทศบาล
เมืองลาพูนเป็นเจ้าภาพในการรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทารูปเล่มโครงการนาเสนอคณะรัฐมนตรีใน
โอกาสต่อไป หลังจากนั้น ผู้บริหารและคณะทางานที่เกี่ยวข้อง ของเทศบาลเมืองลาพูนได้เดินทางเข้า
ศึกษาดูงานการพัฒนาเขตเมืองเก่า ในพื้นที่เมืองเก่า ทั้ง 9 เมือง เพื่อสร้างความเข้าใจและช่วยประสาน
หน่วยงาน การไฟฟ้าฯ และการสื่อสารของแต่ละพื้นที่ ในการให้ความร่วมมือออกสารวจ จัดทาแบบ
และประมาณการค่าใช้จ่าย เพื่อรวบรวมข้อมูลส่งให้แก่เทศบาลเมืองลาพูนในการเขียนโครงการ และใน
เดือนธันวาคม 2557 เทศบาลเมืองลาพูนได้เชิญตัวแทนจากเมืองเก่าทั้ง 10 แห่ง มาประชุมเพื่อ
ติดตามความคีบหน้า และแลกเปลี่ยนข้อมูลการดาเนินงานโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ 10 เมืองเก่า
ณ. พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง (คุ้มเจ้าราชสัมพันธ์วงศ์) หลังจากนั้น ได้มีการลงนามความร่วมมือของ
ผู้บริหารเมืองเก่า 10 เมือง โดยมีอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมเป็นประธานในการ
ลงนาม ที่ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์ กาญจนาภิเษก จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2559
ซึ่ง ปัจจุบัน เทศบาลเมืองลาพูน ได้รวบรวมข้อมูลที่ได้จากเมืองเก่าทั้ง 9 แห่ง นามารวบรวมและสรุป
เป็นโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการ
ท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์) เรียบร้อยแล้ว และได้เข้าพบปะหารือเพื่อกาหนดแนวทางการขอรับการ
สนับสนุนงบประมาณระหว่าง ผู้บริหารเมืองเก่า, นายจรินทร์ จักกะพาก อธิบดีกรมส่งเสริมการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น และ รศ.วุฒิสาร ตันไชย เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้าในงานเวทีท้องถิ่นไทย
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2559 และเห็นพ้อง
ต้องกันให้นาเสนอโครงการผ่านสานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอ
ต่อคณะอนุกรรมการกลั่นกรองและพิจารณาแผนการดาเนินงานในพื้นที่เมืองเก่า และคณะกรรมการ
อนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า ตามลาดับ สาหรับสถานะปัจจุบัน คณะอนุกรรมการ
กลั่นกรองและพิจารณาแผนการดาเนินงานในพื้นที่เมืองเก่า ในการประชุมครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันศุกร์
ที่ 4 พฤศจิกายน 2559 มีมติสนับสนุนโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมือง
เก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์) และขอให้เทศบาลเมืองลาพูนปรับปรุง
เอกสารโครงการตามความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ เพื่อนาเสนอ
คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า ต่อไป
3
 ขั้นตอนการดาเนินงาน
1. จัดประชุมเพื่อวางแนวทางการดาเนินงานโครงการ กับผู้บริหารของเมืองเก่า ทั้ง 10 แห่ง
ตามมติคณะรัฐมนตรี ได้แก่ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าลาปาง เมืองเก่ากาแพงเพชร เมือง
เก่าพิษณุโลก เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่าพิมาย เมืองเก่านครศรีธรรมราช เมืองเก่าสงขลา
เมืองเก่าน่าน และเมืองเก่าลาพูน
2. ผู้บริหารและคณะทางานที่เกี่ยวข้องในการจัดทาโครงการ ของเทศบาลเมืองลาพูนได้เดิน
ทางเข้าศึกษาดูงานการพัฒนาเขตเมืองเก่า ในพื้นที่เมืองเก่า ทั้ง 9 เมือง
3. ประชุมติดตามงาน
4. เมืองเก่าทั้งหมดส่งข้อมูลพื้นที่ดาเนินโครงการพร้อมแบบและประมาณการมายังเทศบาล
เมืองลาพูน
5. เทศบาลเมืองลาพูน รวบรวมข้อมูลที่ได้จากเมืองเก่าทั้ง 9 แห่ง นามาเขียนโครงการ
ปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการ
ท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์
6. ผู้บริหารทั้ง 10 เมืองเก่า นาโครงการเพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก
คณะรัฐมนตรีผ่านทางคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า
 วัตถุประสงค์
- เพื่อปรับสภาพภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมบริเวณภายในเขตเมืองเก่า 10เมือง (9 เมืองเก่ากลุ่ม
ที่ 1 ที่ประกาศเขตพื้นที่ตามมติคณะรัฐมนตรี ได้แก่ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าน่าน เมืองเก่าลาปาง
เมืองเก่าลาพูน เมืองเก่ากาแพงเพชร เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่าพิมาย เมืองเก่านครศรีธรรมราช และ
เมืองเก่าสงขลา ส่วนเมืองเก่าพิษณุโลก อยู่ระหว่างชะลอการประกาศ) ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงาม มากยิ่งขึ้น
- เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จากการที่สายไฟฟ้า/สายสื่อสาร มาบดบังทัศนียภาพที่
สวยงามในเขตเมืองเก่า
- เพื่อรักษาความเป็นเอกลักษณ์และวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่เมืองเก่า
- เพื่อจัดระเบียบเมืองและควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามผังเมือง
- เพื่อเปิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์แบบเชื่อมโยง
- เพื่อเปิดมุมมองใหม่ของเมือง เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
สร้างความประทับใจแก่นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชม และมีการหมุนเวียนเม็ดเงินพัฒนาระบบเศรษฐกิจ
ท้องถิ่นจากการท่องเที่ยว
4
- เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน และประชาชน
- เพื่อสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น
 ความเชื่อมโยงของกลุ่ม 10 เมืองเก่า
๑. กลุ่มจังหวัดที่มีความเชื่อมโยงมิติทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่าลาพูน
เมืองเก่าลาปาง เมืองเก่าเชียงใหม่ และเมืองเก่าน่าน ซึ่งเมืองเก่าทั้ง ๕ เมืองนี้มีประวัติศาสตร์ทาง
ศาสนา วัฒนธรรมเชื่อมโยงเรียงร้อยกัน หรือมีหลักฐานทางโบราณคดีและสถาปัตยกรรมที่เป็น
ร่องรอยความเจริญในอดีตคล้ายคลึงกัน คือ เมืองเก่าทุกเมืองในกลุ่มนี้ยกเว้นเมืองเก่าลพบุรี จัดว่าเป็น
เมืองในอาณาจักรล้านนาโดยมีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง โดยดินแดนล้านนานั้นมีจุดเริ่มต้นสมัย
ประวัติศาสตร์เมื่อพระนางจามเทวีนาเอาพุทธศาสนาแบบเถรวาทจากละโว้หรือลพบุรีมาประดิษฐานที่
ลาพูนหรือหริภุญไชยและลาปางในพุทธศตวรรษที่ ๑๓และในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ พญามังรายจึงได้หริ
ภุญไชยไว้ในอานาจแล้วสถาปนาเมืองเชียงใหม่ขึ้น จากนั้นในสมัยพระเจ้าติโลกราชเชียงใหม่เติบโตขึ้น
จนพัฒนาเป็นอาณาจักรล้านนาและได้เมืองน่านไว้ในพระราชอาณาจักรในต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๑ซึ่ง
ร่องรอยหลักฐานทางศิลปกรรมจากความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์ดังกล่าว จะเห็นได้จาก
ประติมากรรมทางพุทธศาสนาของลพบุรีและหริภุญไชยหรือลาพูน ทาเลที่ตั้งและลักษณะของคูน้า-คัน
ดินรูปหอยสังข์ของเมืองลาพูนและลาปาง หรือเจดีย์ที่มีลักษณะเฉพาะ เช่นเจดีย์กู่กุดวัดจามเทวีและ
สุวรรณเจดีย์ที่วัดพระธาตุหริภุญไชย จังหวัดลาพูน เจดีย์เหลี่ยมที่เวียงกุมกามจังหวัดเชียงใหม่ และ
เจดีย์ประธานวัดพญาวัด จังหวัดน่าน เป็นต้นจากความเชื่อมโยงกันทางประวัติศาสตร์และ
ศิลปวัฒนธรรมของเมืองในกลุ่มนี้ดังกล่าวมาแล้ว จึงอาจจะส่งเสริม สนับสนุนให้เป็นเส้นทางการ
ท่องเที่ยวในเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม แบบเชื่อมโยง อันจะนาไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน
จากซ้าย :กู่กุดวัดจามเทวี สุวรรณเจดีย์ วัดพระธาตุหริภุญไชย เจดีย์เหลี่ยม เวียงกุมกาม
เจดีย์ประธานวัดพญาวัด
5
๒. กลุ่มจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ร่วมสมัยกัน ได้แก่เมืองเก่าพิษณุโลกและเมืองเก่ากาแพงเพชร
ซึ่งทั้งสองเมืองจัดเป็นเป็นเมืองในสมัยสุโขทัย โดยมีฐานะเป็นหัวเมืองหรือเมืองบริวารของสุโขทัย
ดังนั้น ทั้งศิลปกรรมในพุทธศาสนาและศิลปกรรมอื่นๆที่พบในทั้งสองเมืองนี้จึงเป็นศิลปกรรมในอิทธิพล
ศิลปะสุโขทัยทั้งสิ้น เช่น เจดีย์ พระพุทธรูป เครื่องปั้นดินเผา เป็นต้น ต่อมาเมื่อสุโขทัยเสี่อมอานาจลง
และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอยุธยา ทั้งสองเมืองก็ยังคงเป็นเมืองที่มีความสาคัญยิ่งทางภาคเหนือของ
อยุธยาด้วย โดยเฉพาะเมืองพิษณุโลก ซึ่งในสมัยพระบรมไตรโลกนาฏ ซึ่งมีสงครามติดพันกับพระเจ้าติ
โลกราชแห่งล้านนาเกือบตลอดรัชสมัยของพระองค์ ได้ทรงย้ายมาประทับอยู่ที่เมืองพิษณุโลกโดยให้
เมืองพิษณุโลกเป็นเมืองหลวงและกลับให้อยุธยาเป็นเมืองลูกหลวงแทน ตลอดจนได้ทรงผนวชที่วัดจุฬา
มณีในเมืองพิษณุโลกด้วย ซึ่งเมืองเก่าทั้งสองหากได้รับการสนับสนุนปรับปรุง ก็จะสามารถสร้าง
รูปแบบของการท่องเที่ยวแบบเชื่อมโยงในกลุ่มที่มีประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คือเมืองเก่าพิษณุโลกและ
การเชื่อมโยงกับเมืองมรดกโลกอยุธยา
3. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ที่มีความคล้ายคลึงทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี ได้แก่ เมืองเก่า
นครศรีธรรมราช เมืองเก่าสงขลา เป็นกลุ่มเมืองเก่าของภาคใต้ที่มีความโดดเด่นเฉพาะตัวในเชิง
ประวัติศาสตร์แต่ก็มีความคล้ายคลึงกันในแง่ของการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันของ
ผู้คนที่มีค่านิยม ความเชื่อที่คล้ายคลึงกัน อาทิ ในเมืองเก่านครศรีธรรมราช จะพบได้ทั้งวัด มัสยิด
โบสถ์คริสต์ นอกจากนั้นยังสามารถพบเห็นสถาปัตยกรรมแบบจีนดั้งเดิม จีนผสมตะวันตก และจีน
ยุโรปมุสลิม เป็นต้น
4. เมืองเก่าพิมาย เป็นเมืองที่มีความโดดเด่นด้านประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรมที่ได้รับ
อิทธิพลของอารยธรรมขอม ในด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ศาสนา ค่านิยม ความเชื่อ และสถาปัตยกรรม
เป็นเมืองที่มีปราสาทหินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและเป็นต้นเค้าของปราสาทนครวัดอัน
ยิ่งใหญ่ของอาณาจักรขอมโบราณ
 งบประมาณ
ใช้งบประมาณทั้งสิ้น จานวน 2,300,639,341 บาท โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้
1. เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ในรูปแบบของเงินอุดหนุน จานวน
2,150,639,341 บาท(เป็นงบประมาณส่วนของไฟฟ้าฯ งบประมาณส่วนของการสื่อสารฯ
และงบในส่วนของ อปท. ) (งบประมาณช่องที่ 1 + งบประมาณช่องที่ 2 + งบประมาณช่องที่
4) โดยให้เทศบาลทั้ง 10 แห่ง เป็นผู้ดาเนินการเพื่อให้เกิดความคล่องตัว สามารถควบคุม
6
ระยะเวลาการดาเนินการได้ ลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ดาเนิน
โครงการ ตามรายละเอียดการดาเนินงานของเมืองเก่าแต่ละเมือง
2. เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ในรูปแบบของเงินอุดหนุน ให้กับกรม
ศิลปากร ในการดาเนินการขุดค้นทางโบราณคดี สาหรับเมืองเก่าทั้ง 10 เมือง จานวน
150,000,000 บาท (งบประมาณในส่วนของการขุดค้นทางโบราณคดี ชองที่ 3)
จะเห็นได้ว่าเมืองเก่าทั้ง 10 เมือง ล้วนมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม สามารถ
พัฒนาให้เป็นพื้นที่การท่องเที่ยวที่สาคัญของประเทศ การดาเนินโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดก
ทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า ร่วมกันของผู้บริหารทั้ง 10 เมือง ที่ได้มองเห็นคุณค่าทางประวัติศาสตร์
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าของเมือง จึงต้องการจรรโลงให้คุณค่าเหล่านี้ดารงอยู่เพื่อส่งมอบ
มรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าไปสู่คนรุ่นต่อไป
ทั้งนี้ โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดิน
เพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์) จะเป็นการจุดประกายครั้งสาคัญของประเทศไทยที่จะนาไปสู่การ
พัฒนาเมืองโดยมีมรดกทางวัฒนธรรมเป็นเป้าหมายในการพัฒนา อันจะนาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
(SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOAL)
***************************
7
บทส่งท้าย
กรอบแนวคิดการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูน
เพื่อนาไปสู่ การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
1. กรอบแนวคิดในการดาเนินโครงการ
ตามที่ คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า โดยความเห็นชอบของ
คณะรัฐมนตรี ได้กาหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่ 1 โดยประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่าลาพูนตามมติ
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2554 เทศบาลเมืองลาพูนได้ดาเนินการพัฒนาเมืองตามแผน
แม่บทและผังแม่บทการพัฒนาเมืองเก่าลาพูน ซึ่งการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมเป็นโครงการที่
สาคัญของแนวทางการดาเนินงานตามแผนที่วางไว้ด้วย โดยการดาเนินโครงการสาธารณูปโภคใต้ดิน
เพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เป็นโครงการที่ทาให้เทศบาลเมืองลาพูนได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดีปีงบประมาณ 2557 ด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
และได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคาในปี พ.ศ.2559 ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และ
ประชาสังคม โดยเทศบาลได้วางกรอบแนวคิดในการดาเนินงานไว้ดังนี้
8
2. ความมีชีวิตชีวาที่กลับคืนมา
จากการเป็นเมืองเก่ากลุ่มที่ 1 ของเมืองลาพูน และการดาเนินการตามกรอบแนวคิดการ
อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูน 7 ประการ ทาให้ลาพูนได้ความมีชีวิตชีวากลับคืนมาดังจะ
เป็นได้จากการดาเนินโครงการต่างๆ อาทิ
โครงการอนุรักษ์เฮือนพื้นถิ่น คุ้มเจ้า บ้านเก่า
9
 การส่งเสริมศิลปินตามโครงการเฮือนศิลปินหริภุญชัย
 การรื้อฟื้นประเพณีและวัฒนธรรม นารถบุษบกมาใช้ในงานพิธีสาคัญต่างๆ
 การปรับเปลี่ยนหน้าตาอาคารในเขตพื้นที่เมืองเก่า เป็นต้น
10
รูปพื้นที่ดาเนินโครงการของ 10 เมืองเก่า
11
รูปขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าเชียงใหม่ตามมติคณะรัฐมนตรี
พื้นที่ดาเนินโครงการของเมืองเก่าเชียงใหม่
12
รูปขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าลาปางตามมติคณะรัฐมนตรี
รูปพื้นที่ดาเนินโครงการของเมืองเก่าลาปาง
13
รูปขอบเขตพื้นที่เมืองเก่ากาแพงเพชรตามมติคณะรัฐมนตรี
14
รูปพื้นที่ดาเนินโครงการของเมืองเก่ากาแพงเพชร
15
รูปขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าลพบุรี
รูปพื้นที่ดาเนินโครงการของเมืองเก่าลพบุรี
16
รูปขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าพิมาย
17
รูปพื้นที่ดาเนินโครงการของเมืองเก่าพิมาย
18
รูปขอบเขตพื้นที่เมืองเก่านครศรีธรรมราช
19
รูปพื้นที่ดาเนินโครงการของเมืองเก่านครศรีธรรมราช
20
รูปขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าสงขลา
21
รูปพื้นที่ดาเนินโครงการของเมืองเก่าสงขลา
22
นามาขอตามโครงการนี้ในระยะที่ 4 และระยะที่ 5 ดังต่อไปนี้
- ระยะที่ 4 ถนนไทรบุรี ระยะทาง 850 เมตร
- ระยะที่ 5 ถนนรองเมือง ถนนจะนะ ถนนซอยย่อยเชื่อมถนนนางงาม และถนนนครใน
ระยะทาง 1,270 เมตร
23
รูปขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าลาพูน
24
รูปพื้นที่ดาเนินการของเมืองเก่าลาพูน
25
รูปพื้นที่ขอบเขตเมืองเก่าน่าน
รูปพื้นที่ดาเนินโครงการเมืองเก่าน่าน
26
รูปขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าพิษณุโลก
รูปพื้นที่ดาเนินโครงการของเมืองเก่าพิษณุโลก
27
สาเนาบันทึกความร่วมมือ
28
29
30
31
มติคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนา
กรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
แจ้งแบบและประมาณการของสานักศิลปากร
42
43
44
45
46
47
48
49
งบประมาณโครงการในภาพรวม
50
งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินโครงการ
เมืองเก่า งบประมาณส่วนของ
ไฟฟ้าฯ
1
งบประมาณส่วน
ของการสื่อสารฯ
2
งบประมาณใน
ส่วนของการขุด
ค้นทางโบราณคดี
3
งบในส่วนของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4
งบประมาณ
รวม
5
งานไฟฟ้าฯ งานโยธา รวม งานท่อร้อยสาย งานขุดค้น งานไฟฟ้า งาน
สาธารณูปโภค
/กล้องวงจรปิด
รวม
เมืองเก่าเชียงใหม่ 315,659,000 200,930,000 516,589,000 231,507,000 15,000,000 62,377,333 66,300,667 128,678,000 891,774,000
เมืองเก่าลาปาง 75,279,000 62,037,000 137,316,000 107,000,000 15,000,000 - - - 259,316,000
เมืองเก่า
กาแพงเพชร
25,346,900 16,872,600 42,219,500 17,406,790 15,000,000 - - -
74,626,290
เมืองเก่าลพบุรี 35,621,000 23,888,000 59,509,000 10,700,000 15,000,000 - - - 85,209,000
เมืองเก่าพิมาย - - - 27,595,000 15,000,000 9,754,479 - 9,754,479 52,349,479
เมืองเก่า
นครศรีธรรมราช
114,355,608 90,138,191 204,493,799 8,659,762 15,000,000 - - -
228,153,561
เมืองเก่าสงขลา* 100,800,000 90,000,000 190,800,000 - 15,000,000 - - - 205,800,000
เมืองเก่าลาพูน 64,202,000 53,935,000 118,137,000 50,741,700 15,000,000 - - - 183,878,700
เมืองเก่าน่าน 10,310,000 16,170,000 26,480,000 26,337,631 15,000,000 - - - 67,817,631
เมืองเก่าพิษณุโลก 139,304,960 73,432,960 185,700,000 33,752,600 15,000,000 12,176,762 5,085,318 17,262,080 251,714,680
รวม 1,481,244,299 513,700,483 150,000,000 155,694,559 2,300,639,341
หมายเหตุ : 1. งบประมาณในส่วนของไฟฟ้า อ้างอิงจากประมาณการของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 2. งบประมาณในส่วนของการสื่อสารฯ อ้างอิงจากประมาณการของบริษัททีโอที จากัด (มหาชน)
3. งบประมาณในส่วนของการขุดค้นทางโบราณคดี อ้างอิงจากกรมศิลปากร 4. งบประมาณในส่วนของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อ้างอิงจากประมาณการของเทศบาล

More Related Content

Similar to บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)

เอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพ
เอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพเอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพ
เอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพTeerawat Arpaspipat
 
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนามthammanoon laohpiyavisut
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐dtschool
 
หนังสืออบรม
หนังสืออบรมหนังสืออบรม
หนังสืออบรมMr-Dusit Kreachai
 
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตรหนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตรMr-Dusit Kreachai
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาคPPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาคFURD_RSU
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาFURD_RSU
 
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...chatkul chuensuwankul
 
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองPower Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองFURD_RSU
 
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูนเครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูนปิยนันท์ ราชธานี
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...Kanjana thong
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)Kanjana thong
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตjeabjeabloei
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015Thana Chirapiwat
 
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx jeabjeabloei
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiativesrattapol
 

Similar to บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61) (20)

เอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพ
เอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพเอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพ
เอกสารงานเสวนาวิธีและกลไกการรักษาแหล่งมรดกวัฒนธรรกรุงเทพ
 
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
 
หนังสืออบรม
หนังสืออบรมหนังสืออบรม
หนังสืออบรม
 
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตรหนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
หนังสือเชิญอบรมหลักสูตร
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาคPPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
 
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมืองPower Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติสถาปัตยกรรมและผังเมือง
 
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูนเครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
 
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiatives
 

More from ปิยนันท์ ราชธานี

บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณปิยนันท์ ราชธานี
 
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)ปิยนันท์ ราชธานี
 
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคสรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคปิยนันท์ ราชธานี
 
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)ปิยนันท์ ราชธานี
 

More from ปิยนันท์ ราชธานี (7)

ผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอ
 
นำเสนอเฮือนศิลปิน 64
นำเสนอเฮือนศิลปิน 64 นำเสนอเฮือนศิลปิน 64
นำเสนอเฮือนศิลปิน 64
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
 
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคสรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
 
รายงานผลการประชุมประชาคม
รายงานผลการประชุมประชาคมรายงานผลการประชุมประชาคม
รายงานผลการประชุมประชาคม
 
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
 

บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)

  • 2. 1 บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า  ความเป็นมา การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าในประเทศไทย เริ่มต้นในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งเป็นเมืองเก่า ของกรุงเทพมหานครที่สามารถดาเนินการสัมฤทธิ์ผลได้อย่างเป็นรูปธรรม และมีการพัฒนาเมืองเก่า ตามแนวทางการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ที่ให้ความสาคัญกับความสมดุลของระบบนิเวศน์ สภาพ เศรษฐกิจชุมชน และสภาพความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน และเพื่อให้บริเวณเมืองเก่าสามารถดารง คุณค่าความเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้าค่าของชาติไว้ได้ พร้อมไปกับการใช้ประโยชน์อย่าง เหมาะสมและยั่งยืนของประชาชน จึงได้ขยายการดาเนินงานไปยังพื้นที่เมืองเก่าอื่นๆ ภายใต้ระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า พ.ศ.2546 ให้ คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า ทาหน้าที่วางนโยบาย กาหนดพื้นที่ จัดทาแผนแม่บท แนวทาง แผนปฏิบัติการ และมาตรการต่างๆ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า พ.ศ. 2548-2552 ได้กาหนดวิสัยทัศน์ ดังนี้ “เมืองเก่า ได้รับการอนุรักษ์และพัฒนาอย่างเหมาะสม สามารถดารงคุณค่าความเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ สาคัญของชาติไว้ได้ พร้อมไปกับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เพื่อคงไว้ซึ่งความซึ่งความสมดุลของระบบ นิเวศเมืองและประโยชน์สุขของประชาชน” และเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ในการ อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า ภายใต้ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีฯ คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนา กรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า เห็นชอบให้เมืองเก่า 10 เมือง ได้แก่ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าน่าน เมืองเก่าลาพูน เมืองเก่าลาปาง เมืองเก่ากาแพงเพชร เมืองเก่าพิษณุโลก เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่า พิมาย เมืองเก่านครศรีธรรมราช และเมืองเก่าสงขลา เป็นเมืองเก่ากลุ่มที่ 1 โดยให้ดาเนินการเร่งรัด ประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่า และจัดทาแผนบริหารจัดการเมืองเก่า เพื่อให้เมืองเก่าได้รับการคุ้มครอง ดูแลอย่างถูกต้องเหมาะสม ซึ่งปัจจุบันได้ประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่าตามมติคณะรัฐมนตรีแล้วจานวน 9 เมือง ได้แก่ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าลาปาง เมืองเก่ากาแพงเพชร เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่าพิมาย เมืองเก่านครศรีธรรมราช เมืองเก่าสงขลา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2553, เมืองเก่าลาพูน เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2554 และเมืองเก่าน่าน เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2548 ส่วน เมืองเก่าพิษณุโลก (รอการ ประกาศ) โดยได้มีการแจ้งยืนยันว่ามีความพร้อมให้ความร่วมมือในการที่จะสนับสนุนเพื่อนาไปสู่การ ขับเคลื่อนให้จังหวัดพิษณุโลกเป็นเขตพื้นที่เมืองเก่า ต่อไป
  • 3. 2 ปัจจุบันในพื้นที่เมืองเก่า ทั้ง 10 แห่งมีสายไฟฟ้าและสายสื่อสาร ระโยงระยาง รกรุงรัง ดูไร้ ระเบียบ ทาให้ภูมิทัศน์เมืองเก่าถูกบดบังความงามอย่างสิ้นเชิง ที่ผ่านมา เทศบาลเมืองลาพูน ได้เป็น เจ้าภาพในการจัดประชุม หารือ เพื่อจัดทาโครงการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ 10 เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์) ครั้งแรก ณ อาคารอิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี อาเภอปากเกร็ด จ.นนทบุรี เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557 โดยมติที่ประชุมให้ทั้ง 10เมืองร่วมกัน ศึกษาและทาแผนการดาเนินโครงการดังกล่าวร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปิดมุมมองใหม่ของเมือง เพิ่มศักยภาพในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเมืองเก่า ทั้ง 10 เมือง และให้เทศบาล เมืองลาพูนเป็นเจ้าภาพในการรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทารูปเล่มโครงการนาเสนอคณะรัฐมนตรีใน โอกาสต่อไป หลังจากนั้น ผู้บริหารและคณะทางานที่เกี่ยวข้อง ของเทศบาลเมืองลาพูนได้เดินทางเข้า ศึกษาดูงานการพัฒนาเขตเมืองเก่า ในพื้นที่เมืองเก่า ทั้ง 9 เมือง เพื่อสร้างความเข้าใจและช่วยประสาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฯ และการสื่อสารของแต่ละพื้นที่ ในการให้ความร่วมมือออกสารวจ จัดทาแบบ และประมาณการค่าใช้จ่าย เพื่อรวบรวมข้อมูลส่งให้แก่เทศบาลเมืองลาพูนในการเขียนโครงการ และใน เดือนธันวาคม 2557 เทศบาลเมืองลาพูนได้เชิญตัวแทนจากเมืองเก่าทั้ง 10 แห่ง มาประชุมเพื่อ ติดตามความคีบหน้า และแลกเปลี่ยนข้อมูลการดาเนินงานโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ 10 เมืองเก่า ณ. พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง (คุ้มเจ้าราชสัมพันธ์วงศ์) หลังจากนั้น ได้มีการลงนามความร่วมมือของ ผู้บริหารเมืองเก่า 10 เมือง โดยมีอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมเป็นประธานในการ ลงนาม ที่ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์ กาญจนาภิเษก จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2559 ซึ่ง ปัจจุบัน เทศบาลเมืองลาพูน ได้รวบรวมข้อมูลที่ได้จากเมืองเก่าทั้ง 9 แห่ง นามารวบรวมและสรุป เป็นโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการ ท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์) เรียบร้อยแล้ว และได้เข้าพบปะหารือเพื่อกาหนดแนวทางการขอรับการ สนับสนุนงบประมาณระหว่าง ผู้บริหารเมืองเก่า, นายจรินทร์ จักกะพาก อธิบดีกรมส่งเสริมการ ปกครองส่วนท้องถิ่น และ รศ.วุฒิสาร ตันไชย เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้าในงานเวทีท้องถิ่นไทย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2559 และเห็นพ้อง ต้องกันให้นาเสนอโครงการผ่านสานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอ ต่อคณะอนุกรรมการกลั่นกรองและพิจารณาแผนการดาเนินงานในพื้นที่เมืองเก่า และคณะกรรมการ อนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า ตามลาดับ สาหรับสถานะปัจจุบัน คณะอนุกรรมการ กลั่นกรองและพิจารณาแผนการดาเนินงานในพื้นที่เมืองเก่า ในการประชุมครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันศุกร์ ที่ 4 พฤศจิกายน 2559 มีมติสนับสนุนโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมือง เก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์) และขอให้เทศบาลเมืองลาพูนปรับปรุง เอกสารโครงการตามความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ เพื่อนาเสนอ คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า ต่อไป
  • 4. 3  ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. จัดประชุมเพื่อวางแนวทางการดาเนินงานโครงการ กับผู้บริหารของเมืองเก่า ทั้ง 10 แห่ง ตามมติคณะรัฐมนตรี ได้แก่ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าลาปาง เมืองเก่ากาแพงเพชร เมือง เก่าพิษณุโลก เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่าพิมาย เมืองเก่านครศรีธรรมราช เมืองเก่าสงขลา เมืองเก่าน่าน และเมืองเก่าลาพูน 2. ผู้บริหารและคณะทางานที่เกี่ยวข้องในการจัดทาโครงการ ของเทศบาลเมืองลาพูนได้เดิน ทางเข้าศึกษาดูงานการพัฒนาเขตเมืองเก่า ในพื้นที่เมืองเก่า ทั้ง 9 เมือง 3. ประชุมติดตามงาน 4. เมืองเก่าทั้งหมดส่งข้อมูลพื้นที่ดาเนินโครงการพร้อมแบบและประมาณการมายังเทศบาล เมืองลาพูน 5. เทศบาลเมืองลาพูน รวบรวมข้อมูลที่ได้จากเมืองเก่าทั้ง 9 แห่ง นามาเขียนโครงการ ปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการ ท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์ 6. ผู้บริหารทั้ง 10 เมืองเก่า นาโครงการเพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก คณะรัฐมนตรีผ่านทางคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า  วัตถุประสงค์ - เพื่อปรับสภาพภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมบริเวณภายในเขตเมืองเก่า 10เมือง (9 เมืองเก่ากลุ่ม ที่ 1 ที่ประกาศเขตพื้นที่ตามมติคณะรัฐมนตรี ได้แก่ เมืองเก่าเชียงใหม่ เมืองเก่าน่าน เมืองเก่าลาปาง เมืองเก่าลาพูน เมืองเก่ากาแพงเพชร เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่าพิมาย เมืองเก่านครศรีธรรมราช และ เมืองเก่าสงขลา ส่วนเมืองเก่าพิษณุโลก อยู่ระหว่างชะลอการประกาศ) ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม มากยิ่งขึ้น - เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จากการที่สายไฟฟ้า/สายสื่อสาร มาบดบังทัศนียภาพที่ สวยงามในเขตเมืองเก่า - เพื่อรักษาความเป็นเอกลักษณ์และวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่เมืองเก่า - เพื่อจัดระเบียบเมืองและควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามผังเมือง - เพื่อเปิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์แบบเชื่อมโยง - เพื่อเปิดมุมมองใหม่ของเมือง เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สร้างความประทับใจแก่นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชม และมีการหมุนเวียนเม็ดเงินพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ท้องถิ่นจากการท่องเที่ยว
  • 5. 4 - เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน - เพื่อสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น  ความเชื่อมโยงของกลุ่ม 10 เมืองเก่า ๑. กลุ่มจังหวัดที่มีความเชื่อมโยงมิติทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ เมืองเก่าลพบุรี เมืองเก่าลาพูน เมืองเก่าลาปาง เมืองเก่าเชียงใหม่ และเมืองเก่าน่าน ซึ่งเมืองเก่าทั้ง ๕ เมืองนี้มีประวัติศาสตร์ทาง ศาสนา วัฒนธรรมเชื่อมโยงเรียงร้อยกัน หรือมีหลักฐานทางโบราณคดีและสถาปัตยกรรมที่เป็น ร่องรอยความเจริญในอดีตคล้ายคลึงกัน คือ เมืองเก่าทุกเมืองในกลุ่มนี้ยกเว้นเมืองเก่าลพบุรี จัดว่าเป็น เมืองในอาณาจักรล้านนาโดยมีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง โดยดินแดนล้านนานั้นมีจุดเริ่มต้นสมัย ประวัติศาสตร์เมื่อพระนางจามเทวีนาเอาพุทธศาสนาแบบเถรวาทจากละโว้หรือลพบุรีมาประดิษฐานที่ ลาพูนหรือหริภุญไชยและลาปางในพุทธศตวรรษที่ ๑๓และในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ พญามังรายจึงได้หริ ภุญไชยไว้ในอานาจแล้วสถาปนาเมืองเชียงใหม่ขึ้น จากนั้นในสมัยพระเจ้าติโลกราชเชียงใหม่เติบโตขึ้น จนพัฒนาเป็นอาณาจักรล้านนาและได้เมืองน่านไว้ในพระราชอาณาจักรในต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๑ซึ่ง ร่องรอยหลักฐานทางศิลปกรรมจากความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์ดังกล่าว จะเห็นได้จาก ประติมากรรมทางพุทธศาสนาของลพบุรีและหริภุญไชยหรือลาพูน ทาเลที่ตั้งและลักษณะของคูน้า-คัน ดินรูปหอยสังข์ของเมืองลาพูนและลาปาง หรือเจดีย์ที่มีลักษณะเฉพาะ เช่นเจดีย์กู่กุดวัดจามเทวีและ สุวรรณเจดีย์ที่วัดพระธาตุหริภุญไชย จังหวัดลาพูน เจดีย์เหลี่ยมที่เวียงกุมกามจังหวัดเชียงใหม่ และ เจดีย์ประธานวัดพญาวัด จังหวัดน่าน เป็นต้นจากความเชื่อมโยงกันทางประวัติศาสตร์และ ศิลปวัฒนธรรมของเมืองในกลุ่มนี้ดังกล่าวมาแล้ว จึงอาจจะส่งเสริม สนับสนุนให้เป็นเส้นทางการ ท่องเที่ยวในเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม แบบเชื่อมโยง อันจะนาไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน จากซ้าย :กู่กุดวัดจามเทวี สุวรรณเจดีย์ วัดพระธาตุหริภุญไชย เจดีย์เหลี่ยม เวียงกุมกาม เจดีย์ประธานวัดพญาวัด
  • 6. 5 ๒. กลุ่มจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ร่วมสมัยกัน ได้แก่เมืองเก่าพิษณุโลกและเมืองเก่ากาแพงเพชร ซึ่งทั้งสองเมืองจัดเป็นเป็นเมืองในสมัยสุโขทัย โดยมีฐานะเป็นหัวเมืองหรือเมืองบริวารของสุโขทัย ดังนั้น ทั้งศิลปกรรมในพุทธศาสนาและศิลปกรรมอื่นๆที่พบในทั้งสองเมืองนี้จึงเป็นศิลปกรรมในอิทธิพล ศิลปะสุโขทัยทั้งสิ้น เช่น เจดีย์ พระพุทธรูป เครื่องปั้นดินเผา เป็นต้น ต่อมาเมื่อสุโขทัยเสี่อมอานาจลง และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอยุธยา ทั้งสองเมืองก็ยังคงเป็นเมืองที่มีความสาคัญยิ่งทางภาคเหนือของ อยุธยาด้วย โดยเฉพาะเมืองพิษณุโลก ซึ่งในสมัยพระบรมไตรโลกนาฏ ซึ่งมีสงครามติดพันกับพระเจ้าติ โลกราชแห่งล้านนาเกือบตลอดรัชสมัยของพระองค์ ได้ทรงย้ายมาประทับอยู่ที่เมืองพิษณุโลกโดยให้ เมืองพิษณุโลกเป็นเมืองหลวงและกลับให้อยุธยาเป็นเมืองลูกหลวงแทน ตลอดจนได้ทรงผนวชที่วัดจุฬา มณีในเมืองพิษณุโลกด้วย ซึ่งเมืองเก่าทั้งสองหากได้รับการสนับสนุนปรับปรุง ก็จะสามารถสร้าง รูปแบบของการท่องเที่ยวแบบเชื่อมโยงในกลุ่มที่มีประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คือเมืองเก่าพิษณุโลกและ การเชื่อมโยงกับเมืองมรดกโลกอยุธยา 3. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ที่มีความคล้ายคลึงทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี ได้แก่ เมืองเก่า นครศรีธรรมราช เมืองเก่าสงขลา เป็นกลุ่มเมืองเก่าของภาคใต้ที่มีความโดดเด่นเฉพาะตัวในเชิง ประวัติศาสตร์แต่ก็มีความคล้ายคลึงกันในแง่ของการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันของ ผู้คนที่มีค่านิยม ความเชื่อที่คล้ายคลึงกัน อาทิ ในเมืองเก่านครศรีธรรมราช จะพบได้ทั้งวัด มัสยิด โบสถ์คริสต์ นอกจากนั้นยังสามารถพบเห็นสถาปัตยกรรมแบบจีนดั้งเดิม จีนผสมตะวันตก และจีน ยุโรปมุสลิม เป็นต้น 4. เมืองเก่าพิมาย เป็นเมืองที่มีความโดดเด่นด้านประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรมที่ได้รับ อิทธิพลของอารยธรรมขอม ในด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ศาสนา ค่านิยม ความเชื่อ และสถาปัตยกรรม เป็นเมืองที่มีปราสาทหินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและเป็นต้นเค้าของปราสาทนครวัดอัน ยิ่งใหญ่ของอาณาจักรขอมโบราณ  งบประมาณ ใช้งบประมาณทั้งสิ้น จานวน 2,300,639,341 บาท โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้ 1. เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ในรูปแบบของเงินอุดหนุน จานวน 2,150,639,341 บาท(เป็นงบประมาณส่วนของไฟฟ้าฯ งบประมาณส่วนของการสื่อสารฯ และงบในส่วนของ อปท. ) (งบประมาณช่องที่ 1 + งบประมาณช่องที่ 2 + งบประมาณช่องที่ 4) โดยให้เทศบาลทั้ง 10 แห่ง เป็นผู้ดาเนินการเพื่อให้เกิดความคล่องตัว สามารถควบคุม
  • 7. 6 ระยะเวลาการดาเนินการได้ ลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ดาเนิน โครงการ ตามรายละเอียดการดาเนินงานของเมืองเก่าแต่ละเมือง 2. เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ในรูปแบบของเงินอุดหนุน ให้กับกรม ศิลปากร ในการดาเนินการขุดค้นทางโบราณคดี สาหรับเมืองเก่าทั้ง 10 เมือง จานวน 150,000,000 บาท (งบประมาณในส่วนของการขุดค้นทางโบราณคดี ชองที่ 3) จะเห็นได้ว่าเมืองเก่าทั้ง 10 เมือง ล้วนมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม สามารถ พัฒนาให้เป็นพื้นที่การท่องเที่ยวที่สาคัญของประเทศ การดาเนินโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดก ทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า ร่วมกันของผู้บริหารทั้ง 10 เมือง ที่ได้มองเห็นคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าของเมือง จึงต้องการจรรโลงให้คุณค่าเหล่านี้ดารงอยู่เพื่อส่งมอบ มรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าไปสู่คนรุ่นต่อไป ทั้งนี้ โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดิน เพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์) จะเป็นการจุดประกายครั้งสาคัญของประเทศไทยที่จะนาไปสู่การ พัฒนาเมืองโดยมีมรดกทางวัฒนธรรมเป็นเป้าหมายในการพัฒนา อันจะนาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOAL) ***************************
  • 8. 7 บทส่งท้าย กรอบแนวคิดการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูน เพื่อนาไปสู่ การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม 1. กรอบแนวคิดในการดาเนินโครงการ ตามที่ คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า โดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี ได้กาหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่ 1 โดยประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่าลาพูนตามมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2554 เทศบาลเมืองลาพูนได้ดาเนินการพัฒนาเมืองตามแผน แม่บทและผังแม่บทการพัฒนาเมืองเก่าลาพูน ซึ่งการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมเป็นโครงการที่ สาคัญของแนวทางการดาเนินงานตามแผนที่วางไว้ด้วย โดยการดาเนินโครงการสาธารณูปโภคใต้ดิน เพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เป็นโครงการที่ทาให้เทศบาลเมืองลาพูนได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดีปีงบประมาณ 2557 ด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี และได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคาในปี พ.ศ.2559 ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และ ประชาสังคม โดยเทศบาลได้วางกรอบแนวคิดในการดาเนินงานไว้ดังนี้
  • 9. 8 2. ความมีชีวิตชีวาที่กลับคืนมา จากการเป็นเมืองเก่ากลุ่มที่ 1 ของเมืองลาพูน และการดาเนินการตามกรอบแนวคิดการ อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูน 7 ประการ ทาให้ลาพูนได้ความมีชีวิตชีวากลับคืนมาดังจะ เป็นได้จากการดาเนินโครงการต่างๆ อาทิ โครงการอนุรักษ์เฮือนพื้นถิ่น คุ้มเจ้า บ้านเก่า
  • 10. 9  การส่งเสริมศิลปินตามโครงการเฮือนศิลปินหริภุญชัย  การรื้อฟื้นประเพณีและวัฒนธรรม นารถบุษบกมาใช้ในงานพิธีสาคัญต่างๆ  การปรับเปลี่ยนหน้าตาอาคารในเขตพื้นที่เมืองเก่า เป็นต้น
  • 23. 22 นามาขอตามโครงการนี้ในระยะที่ 4 และระยะที่ 5 ดังต่อไปนี้ - ระยะที่ 4 ถนนไทรบุรี ระยะทาง 850 เมตร - ระยะที่ 5 ถนนรองเมือง ถนนจะนะ ถนนซอยย่อยเชื่อมถนนนางงาม และถนนนครใน ระยะทาง 1,270 เมตร
  • 29. 28
  • 30. 29
  • 31. 30
  • 33. 32
  • 34. 33
  • 35. 34
  • 36. 35
  • 37. 36
  • 38. 37
  • 39. 38
  • 40. 39
  • 41. 40
  • 43. 42
  • 44. 43
  • 45. 44
  • 46. 45
  • 47. 46
  • 48. 47
  • 49. 48
  • 51. 50 งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินโครงการ เมืองเก่า งบประมาณส่วนของ ไฟฟ้าฯ 1 งบประมาณส่วน ของการสื่อสารฯ 2 งบประมาณใน ส่วนของการขุด ค้นทางโบราณคดี 3 งบในส่วนของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 งบประมาณ รวม 5 งานไฟฟ้าฯ งานโยธา รวม งานท่อร้อยสาย งานขุดค้น งานไฟฟ้า งาน สาธารณูปโภค /กล้องวงจรปิด รวม เมืองเก่าเชียงใหม่ 315,659,000 200,930,000 516,589,000 231,507,000 15,000,000 62,377,333 66,300,667 128,678,000 891,774,000 เมืองเก่าลาปาง 75,279,000 62,037,000 137,316,000 107,000,000 15,000,000 - - - 259,316,000 เมืองเก่า กาแพงเพชร 25,346,900 16,872,600 42,219,500 17,406,790 15,000,000 - - - 74,626,290 เมืองเก่าลพบุรี 35,621,000 23,888,000 59,509,000 10,700,000 15,000,000 - - - 85,209,000 เมืองเก่าพิมาย - - - 27,595,000 15,000,000 9,754,479 - 9,754,479 52,349,479 เมืองเก่า นครศรีธรรมราช 114,355,608 90,138,191 204,493,799 8,659,762 15,000,000 - - - 228,153,561 เมืองเก่าสงขลา* 100,800,000 90,000,000 190,800,000 - 15,000,000 - - - 205,800,000 เมืองเก่าลาพูน 64,202,000 53,935,000 118,137,000 50,741,700 15,000,000 - - - 183,878,700 เมืองเก่าน่าน 10,310,000 16,170,000 26,480,000 26,337,631 15,000,000 - - - 67,817,631 เมืองเก่าพิษณุโลก 139,304,960 73,432,960 185,700,000 33,752,600 15,000,000 12,176,762 5,085,318 17,262,080 251,714,680 รวม 1,481,244,299 513,700,483 150,000,000 155,694,559 2,300,639,341 หมายเหตุ : 1. งบประมาณในส่วนของไฟฟ้า อ้างอิงจากประมาณการของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 2. งบประมาณในส่วนของการสื่อสารฯ อ้างอิงจากประมาณการของบริษัททีโอที จากัด (มหาชน) 3. งบประมาณในส่วนของการขุดค้นทางโบราณคดี อ้างอิงจากกรมศิลปากร 4. งบประมาณในส่วนของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อ้างอิงจากประมาณการของเทศบาล