SlideShare a Scribd company logo
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ออก
 
พนักงานในสถานประกอบการส่วนใหญ่ จะนั่งทำงานหรืองานซ้ำ อย่างเดียวกัน  เป็นเวลาหลายชั่วโมงในแต่ละวัน  ทำให้ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกาย  ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างมาก  ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ  โดยสังเกตเห็นได้ง่าย ๆ  เช่น  ทำให้มีน้ำหนักตัวมากกว่าเกณฑ์ปกติหรืออ้วน  ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคต่างๆ  เช่น  โรคเบาหวาน  โรคหัวใจ  และความดันโลหิตสูง  ส่วนทางด้านจิตใจจะทำให้เรารู้สึกไม่สบายใจ  มีความกังวลว่าอ้วนไม่สวย  ( โดยเฉพาะผู้หญิง )  รู้สึกไม่มั่นใจในตนเอง ไม่กล้าแต่งตัวหรือสวมเสื้อผ้าที่โชว์รูปร่างสัดส่วนทั้งๆ ที่บางครั้งอยากแต่งกายเช่นนั้น  เป็นต้น  ดังนั้นการเคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเพียงพอ  จึงเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่จะทำให้เรามีสุขภาพดี  มีความมั่นใจในตนเอง  มีชีวิตอย่างมีความสุขและที่สำคัญ คือ การออกกำลังกายจะช่วยให้มีรูปร่างสวยงาม  ได้สัดส่วน  โดยไม่ต้องทรมานตนเองด้วยการอดอาหาร
การเคลื่อนไหวร่างกาย   /  ออกกำลังกายมีประโยชน์อย่างมากมาย   ที่สำคัญมีดังนี้ (1)    ช่วยควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ   ทำให้มีรูปร่างสมส่วนสวยงาม (2)    มีพละกำลังมากขึ้น   มีความคล่องแคล่วว่องไวสามารถทำงานและทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวันได้อย่างกระฉับกระเฉง (3)    ลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ   ความดันโลหิตสูง   และเบาหวาน (4)    ลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ (5)    การเป็นไข้หวัด   ไข้หวัดใหญ่   และโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจลดลง (6)    ช่วยให้กระดูก   ข้อต่อ   และกล้ามเนื้อแข็งแรง (7)    ทำให้สภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง   และยืดหยุ่น (8)    มีจิตใจแจ่มใส   ไม่เครียด   ไม่มีอาการซึมเศร้าไม่รู้สึกเบื่อหน่ายต่อชีวิต   ดำรงชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาพดีและมีชีวิตยืนยาว โดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น
การเคลื่อนไหวร่างกาย   /  ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพมี   2   ลักษณะ  คือ 1.  การเคลื่อนไหวร่างกายในการทำงานหรือทำกิจกรรมต่าง   ๆ   ในชีวิตประจำวัน   เพื่อให้ร่างกายไว้เคลื่อนไหว   เพื่อให้ได้ใช้พลังงานแทนการนั่งหรือนอนอยู่กับที่   หรือทำงานบางอย่างซ้ำ   ๆ   ในท่าเดียวนาน   ๆ   ซึ่งทำได้หลายแบบ   เช่น   การลุกขึ้นยืดเหยียดกล้ามเนื้อ   หลังจากนั่งทำงานนาน   1  –  2  ชั่วโมง   ( ดูวิธีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อในภาคผนวก )   หรือยืดเหยียดกล้ามเนื้อหลังจากตื่นนอน   เดินขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟต์   หรือจอดรถ  ให้ไกลและเดินให้ไกลขึ้น   ลงจากรถเมล์ก่อนถึงที่ทำงานหรือก่อนถึงบ้านสัก   1  ป้าย  แล้วเดินไป   ถีบจักรยานหรือเดินไปซื้อของที่ตลาดแทนการใช้รถยนต์   เป็นต้น
2.  การออกกำลังกายอย่างมีแบบแผน   หรือการออกกำลังกายอย่างเป็นเรื่องเป็นราว   คือ   การออกกำลังกายที่กำหนดไว้   และมีแบบแผนชัดเจน   เช่น   การเต้นแอโรบิค   การเล่นตะกร้อ   การเล่นฟุตบอล   การเดินเร็วๆ   หรือการวิ่งเหยาะๆ   เป็นต้น   ซึ่งการออกกำลังกายอย่างมีแบบแผนนี้   มีขั้นตอนที่สำคัญ   3  ขั้นตอน   คือ  ·   การอบอุ่นร่างกาย   ประมาณ   10  นาที การอบอุ่นร่างกายจะเริ่มจากการยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนแล้วค่อย   ๆ   เพิ่มให้โลหิตไหลเวียนแรงขึ้น   การอบอุ่นร่างกายจะช่วยลดการบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย   ช่วยให้ข้อต่องอ   –   พับได้ดี   และช่วยให้กล้ามเนื้อทำงานดีขึ้น   การอบอุ่นร่างกายด้วยควรเริ่มด้วยการวิ่งช้า   ๆ   แล้วยืดเหยียดกล้ามเนื้อโดยใช้เวลาประมาณ   10  นาที
 ·   การออกกำลังกายจริง   ประมาณ   20  –  60  นาที โดยการทำกิจกรรมการออกกำลังกาย   ซึ่งควรเป็นการออกกำลังกายที่มีการใช้ออกซิเจนอย่างต่อเนื่อง   เช่น   การเดินเร็ว   ๆ   การวิ่งเหยาะ   ๆ   การเต้นแอโรบิค   การเล่นเทนนิส   ตะกร้อ   หรือกีฬาประเภทต่าง   ๆ   ที่ร่างกายได้เคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง   โดยทำในระดับความหนักปานกลาง   ระยะนาน   30  นาที   หรือในทำในระดับหนักระยะเวลา   20  นาที   ซึ่งก็แล้วแต่ละบุคคล   ถ้าเป็นผู้ที่เพิ่งเริ่มออกกำลังกาย   ควรทำในระดับความหนักปานกลางในระยะเวลา   20  นาทีก่อน   แล้วจึงเริ่มเพิ่มขึ้นจนได้ระยะเวลา   30  นาที
ระดับความหนัก   –   เบาของการออกกำลังกาย พิจารณาจากสิ่งสำคัญ   2  ประเด็น   คือ   (1)  อัตราการเต้นของหัวใจหรือชีพจร   การออกกำลังกายที่จะให้ประโยชน์ต่อหัวใจและปอด   จะต้องออกกำลังกายให้หัวใจ   ( หรือชีพจร )  เต้นระหว่าง   60  –  80%  ของความสามารถสูงสุดที่หัวใจของคน   ๆ   นั้นจะเต้นได้ สูตรการคำนวณความสามารถสูงสุดที่หัวใจจะเต้นได้   คือ  220 -  อายุเป็นปี ตัวอย่าง   คนอายุ   50  ปี   มีความสามารถสูงสุดที่หัวใจเต้นได้   คือ  220  –  50  =  170  ครั้งต่อนาที การออกกำลังกายที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อหัวใจ   คือ   ออกกำลังกายแล้วหัวใจเต้นได้   60  –  80%  ของ   170  ครั้งต่อนาที   คือ   ระหว่าง   119  –  136  ครั้งต่อนาที
(2)  ระดับความเหนื่อยจากการออกกำลังกาย ในการปฏิบัติจริงบางครั้งการจับชีพจรอาจไม่สะดวกจึงใช้การสังเกตความรู้สึกเหนื่อยจากการออกกำลังกาย   ดังนี้  ·   ออกกำลังกายระดับหนัก   หมายถึง   ออกกำลังกายจนรู้สึกเหนื่อยมากโดยหายใจแรงและเร็ว หรือหอบขณะออกแรง / ออกกำลังกายไม่สามารถคุยกับคนข้างเคียงได้จนจบประโยค  ·  ออกกำลังกายระดับปานกลาง   หมายถึง   การออกกำลังกายหรืออกแรงจนทำให้รู้สึกค่อนข้างเหนื่อยหรือเหนื่อยกว่าปกติพอควรโดยหายใจเร็วกว่าปกติเล็กน้อย   หรือหายใจกระชั้นขึ้นไม่ถึงกับหอบ หรือขณะออกกำลังกายหรือออกแรง ยังสามารถพูดคุยกับคนข้างเคียงได้จนจบประโยคและรู้เรื่อง ·  ออกกำลังกายในระดับน้อย   หมายถึง   การออกกำลังกายหรืออกแรงน้อย  ไม่รู้สึกเหน็ด - เหนื่อยมากกว่าปกติ
สำหรับผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำอยู่แล้ว  ควรทำกิจกรรมการออกกำลังกาย  ที่สนุกสนาน  จะมีกติกาของการเล่นกำหนดไว้ก็ได้  เป็นการแข่งขัน  เล่นเพื่อ  ให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง การแพ้–ชนะจึงไม่ใช่สิ่งสำคัญนัก การออกกำลังกายอย่างมีแบบแผนนี้  จะต้องทำครบทั้ง  3  ขั้นตอนดังกล่าวในการออกกำลังกาย  แต่ละครั้งและควรทำอย่างน้อย  3  วันต่อสัปดาห์ สรุปข้อควรปฏิบัติในการออกกำลังกายอย่างมีแบบแผน (1)  ควรเลือกกิจกรรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิคหรือควรออกกำลังกายที่ร่างกาย  ได้ใช้ออกซิเจนอย่างต่อเนื่อง (2)  ระดับความหนักเบาของการออกกำลังกาย พิจารณาจากอัตราการเต้นของหัวใจหรือ  ชีพจร เป้าหมายคือ  ร้อยละ  60 – 90  ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด (3)  ระยะเวลาการออกกำลังกายแต่ละครั้งประมาณ  20 – 60  นาที (4)  ความถี่  3 – 5  ครั้งต่อสัปดาห์ (5)  ควรเพิ่มการออกกำลังกายเพื่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อด้วย
-  นั่งเล่น กิจกรรมผ่อนคลายที่มีการ -  อ่านหนังสือ เคลื่อนไหวร่างกายน้อย -  ดู   TV ควรทำบ้างแต่ไม่ควรนาน -   เล่นเกม เกินครั้งละ   1  ชั่วโมง   2-3  ครั้งต่อสัปดาห์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
3-5  ครั้งต่อสัปดาห์  20-60  นาที   /  ครั้ง  ออกกำลังกายอย่างมีแบบแผน •  ทำกิจกรรมแอโรบิค -  เดินทางไกล -  ขี่จักรยาน -  เต้นแอโรบิค -  ว่ายน้ำ ฯลฯ •  สนุกกับการเล่นกีฬา -  ตะกร้อ -  ฟุตบอล -  เทนนิส -  แบดมินตัน ฯลฯ ทุกวันควรเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน -     เดินขึ้นบันไดแทนขึ้นลิฟต์ -     จ อดรถให้ไกลและเดินให้ไกลขึ้น -     ลงรถประจำทางก่อนถึงบ้านหรือที่ทำงานแล้วเดินให้ไกลขึ้น -     ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ   3 – 5  นาทีระหว่างนั่งทำงาน   1 – 2  ชั่วโมง
บางคนไม่กล้าออกกำลังกายเพราะกลัวการบาดเจ็บ   ในความเป็นจริงแล้ว   เราสามารถป้องกันการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายได้โดยการปฏิบัติ   ดังนี้ (1)  เลือกวิธีการหรือกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับอายุและเพศ   เช่น   คนหนุ่มสาวควรออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคหรือเล่นกีฬา   ส่วนผู้สูงอายุ   ควรออกกำลังกายแบบแอโรบิคร่วมด้วย   เป็นต้น (2)  ออกกำลังกายตามเวลาที่เหมาะสม   ควรเป็นในช่วงเวลาเช้าหรือเย็น   ไม่ควรออกกำลังกาย  ในช่วงเวลากลางวันที่อากาศร้อน   และไม่ควรออกกำลังกายภายหลังรับประทานอาหารเสร็จใหม่   ๆ   เพราะร่างกายต้องการเลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารและลำไส้มาก   แต่ถ้าเราไปออกกำลังกาย   ร่างกายจะต้องการเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมากด้วย   จึงทำให้อาจมีเลือดไปเลี้ยงหัวใจและสมองน้อยไป   ทำให้เกิดอาการเป็นลมเนื่องจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วขณะหรือเกิดอาการของโรคหัวใจได้
(3)  ไม่ควรออกกำลังกายเมื่อรู้สึกเจ็บป่วย   ไม่สบาย   เป็นไข้   และท้องเสีย   เพราะเวลาที่ท้องเสียร่างกายจะขาดน้ำและเกลือแร่   ทำให้อ่อนเพลีย   เป็นลม   หรือเป็นตะคริวได้   เวลาเป็นไข้ไม่ควรออกกำลังกาย   เพราะอาจทำให้เกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ   หรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบได้   ดังนั้นถ้าไม่สบายไม่ว่าด้วยอาการใด   ๆ   ควรงดเว้นการออกกำลังกายไว้ก่อน (4)  การออกกำลังกายทุกครั้งต้องทำครบทั้ง   3  ขั้นตอน   คือ   เริ่มจากการอบอุ่นร่างกาย   แล้วจึงออกกำลังกายจริง   และตามด้วยการผ่อนหยุด (5)  ใช้อุปกรณ์และเครื่องแต่งกายที่เหมาะสม   เช่น   รองเท้าจะป้องกันการบาดเจ็บได้ (6)  ไม่ควรออกกำลังกายหนักมากจนเกินไป   เพราะอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บได้
 
(1)  จุดเริ่มต้น   ของการเคลื่อนไหวร่างกาย   /  ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ   คือ   การตรวจสอบตนเองว่ามีความพร้อมทางด้านแรงจูงใจในการออกกำลังกายอยู่ในระยะใด   เพื่อที่จะเริ่มต้น  การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ความพร้อมทางด้านแรงจูงใจในการออกกำลังกายมี   5  ระดับ   คือ ·   ระยะที่   1  ไม่คิดเกี่ยวกับว่าจะต้องเคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเลยและไม่ตั้งใจที่จะออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในช่วง   6  เดือนที่ผ่านมา   พร้อมทั้งไม่ได้ออกกำลังกายเลย ·  ระยะที่   2  คิดว่าจะออกกำลังกายและตั้งใจว่าจะออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในช่วง   6  เดือน  ที่ผ่านมา   แต่ยังไม่ได้ออกกกำลังกาย
·   ระ ยะที่   3  ตั้งใจว่าจะออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและมีการออกกำลังกายบ้างแต่ยังไม่เพียงพอที่จะก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ   ( เช่น   ออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ   ระยะเวลาแต่ละครั้งน้อยเกินไป   เป็นต้น ) ·    ระยะที่   4  มีการออกกำลังกายเป็นประจำ   สม่ำเสมอ   และเพียงพอที่จะเกิดผลดีต่อสุขภาพในช่วง   6  เดือนที่ผ่านมา ·  ระยะที่   5  มีการออกกำลังกายจนเป็นกิจนิสัย   คือ   ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำสม่ำเสมอ   และเพียงพอที่จะก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ   มาเป็นเวลามากกว่า   6  เดือนที่ผ่านมา   (2)  ขั้นต่อไป   การเสริมสร้างแรงจูงใจในการออกกำลังกายให้กับตนเองเมื่อได้คำตอบให้กับตนเองแล้วว่า   เรามีแรงจูงใจในการออกกำลังกายให้กับตนเองโดยเฉพาะกับผู้ที่อยู่ในระยะต้น   ๆ   ( ระยะที่   1  และระยะที่   2)  ซึ่งการสร้างแรงจูงใจที่สำคัญ   คือ   การกำหนดเป้าหมายของการออกกำลังกายให้ชัดเจน   โดยเริ่มจากความตั้งใจที่จะออกกำลังกาย   เช่น   ตั้งใจว่าในอีก   2  เดือนข้างหน้านี้   เราจะลดน้ำหนักตัวลงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ   เป็นต้น   การกำหนดเป้าหมายของการออกกำลังกายนั้น   อาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล   เมนูหลัก
( 3 )  วางแผนปฏิบัติ   โดยทำสิ่งต่อไปนี้ •  ป รับตารางเวลาในการทำกิจกรรมต่าง   ๆ   เพื่อให้มีเวลาสำหรับการออกกำลังกาย •  กำหนดให้มีการเคลื่อนไหวร่างกายให้มากขึ้น   เช่น เดินให้มากขึ้นใช้บันไดแทนลิฟต์   เป็นต้น •  กำหนดให้มีเวลาสำหรับการยืดเหยียดกล้ามเนื้อในระหว่างการทำงานเป็นช่วงๆ  เช่น  นั่งทำงาน   1  –  2  ชั่วโมง   ควรหยุดพักแล้วยืดเหยียดกล้ามเนื้อ   3  –  5  นาที   เป็นต้น •  เลือกกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม   ชอบ   และถนัด •  รับการทดสอบสมรรถภาพทางกายถ้ามีโอกาส   เพื่อจะได้รู้ว่าสมรรถภาพทางกายของตน เป็นอย่างไร   ควรออกกำลังกายอย่างไร •  วางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่ทำให้ไม่ออกกำลังกายไว้ด้วย   เช่น   ถ้าเมื่อจะหากิจกรรมใหม่   ๆ   ถ้าฝนตกจะออกกำลังกายในบ้าน   เป็นต้น   เมนูหลัก
เมื่อได้วางแผนการเคลื่อนไหวร่างกาย   /  ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแล้ว   ก็ลงมือปฏิบัติตามแผน   โดยทำควบคู่กันไปทั้งการเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน   และ  การออกกำลังกายอย่างมีแบบแผนหรือการออกกำลังกายอย่างเป็นเรื่องเป็นราว   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เมนูหลัก
การที่เราพยายามเคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกาย   เราก็ย่อมหวังว่าจะเกิดผลดีต่อสุขภาพ  ของเรา  ทั้งทางร่างกายและจิตใจ   เราจึงควรตรวจสอบผลเป็นระยะ   ๆ   ดังนี้ (1)  ทดสอบสมรรถภาพทางกาย   เมื่อออกกำลังกายไปแล้ว   4  สัปดาห์   แล้วเปรียบเทียบกับผล  การทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนเริ่มต้นออกกำลังกาย   ซึ่งผลน่าจะดีกว่าก่อนการออกกำลังกายและเมื่อ  ออกกำลังกายไปแล้ว   8  สัปดาห์   ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายอีกครั้ง   ผลการทดสอบควรแสดงว่ามีสมรรถภาพทางกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (2)  ตรวจสอบตนเองจะพบว่า   ทางด้านร่างกายจะรู้สึกว่ามีสุขภาพทางร่างกายดีขึ้น   นอนหลับสบาย   มีการขับถ่ายปกติ   อาการปวดเมื่อยต่างๆหายไป   มีความคล่องแคล่วว่องไวและมีความกระฉับกระเฉงในการทำงานเพิ่มมากขึ้น   สำหรับผู้ที่มีน้ำหนักตัวมากกว่าปกติ   จะพบว่ามีน้ำหนักตัวลดลงด้วย ทางด้านจิตใจจะรู้สึกว่า   สดชื่น   แจ่มใส   สบายใจ   ไม่วิตกกังวลหรือเครียดมากเกินไป   และมีอารมณ์ขันเพิ่มขึ้นด้วย ทางสังคม   จะมีเพื่อนมากขึ้น   มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับคนทั่วไป   เมนูหลัก
การยืดเหยียดพื้นฐาน   1.  ยืดเหยียดคอ   (Neck stretch) เอียงศีรษะไปทางขวา   ลู่ไหลลงทั้ง   2  ข้าง   ใช้มือขวาวางบนด้านซ้ายของศีรษะแล้วดึงศีรษะเบา   ๆ   ไปทางไหลขวา   ค้างไว้   10  –  30  วินาที   สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน
2.  ยืดเหยียดน่อง   (Calf stretch) ยืนห่างจากฝาผนัง   2  –  3  ฟุต   แล้วก้าวเท้าซ้ายออกไปใกล้ผนัง   ให้เท้าทั้งสองตั้งฉากกับฝาผนัง   งอเข่าซ้าย   แขนทั้งสองข้างพิงฝาผนัง   เข่าหลังตึงและส้นเท้าแนบพื้น   ค้างไว้   10  –  30  วินาที   สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน   พยายามให้เท้าทั้ง   2  ข้างขนานกันและตั้งฉากกับฝาผนัง   ส้นเท้าหลังแนบพื้นเสมอ   กรณีเข่าหลังนั้นสามารถงอเล็กน้อย   ระหว่างการยืดเหยียด   เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง   เมนูหลัก
3.  ยืดเหยียดต้นขาด้านหน้า   (Thigh stretch) ใช้มือซ้ายยันฝาผนังหรือจับราวไว้เพื่อการทรงตัว   งอเข่าขวายืนด้วยขาซ้าย   มือขวาจับข้อเท้าขวาและค่อย   ๆ   ดึงให้ส้นเท้าเข้าหากัน   ค้างไว้   10  –  30  นาที   รักษาหลังให้ตรงอย่าแอ่น   สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน   4.  ยืดเหยียดต้นขาด้านนอก   (Outer thigh stretch) ใช้มือซ้ายยันฝาผนังหรือจับเสาไว้เพื่อการทรงตัว   ยกเท้าซ้ายไปวางด้านหลังเท้าขวา   เอียงข้อเท้าซ้ายเล็กน้อยและทิ้งตัวเอียงไปทางฝาผนัง   ค้างไว้   10  –  30  นาที   สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน   เมนูหลัก
5.  ยืดเหยียดสะโพก   (Hip stretch) จากท่านั่งคุกเข่า   ก้าวเท้าขวาออกไปข้างหน้า   จนกระทั่งเข่าตั้งตรงอยู่เหนือข้อเท้า   พยายามให้เท้าขวาชี้ตรงไปข้างหน้า   พักเข่าซ้ายบนพื้นด้านหลังลำตัว   โน้มตัวไปทางเข่าหน้า   เชิงกรานและสะโพกซ้ายด้านหน้าถูกกดลงใกล้พื้นค้างไว้   10  –  30  วินาที   สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน   6.  ยืดเหยียดต้นขาด้านใน   (Butterfly stretch) นั่งบนพื้น   ดึงฝ่าเท้าทั้งสองข้างเข้าใกล้  ขาหนีบและประกบกัน   มือจับปลายเท้าแล้วโน้มตัว  ให้ต่ำไปข้างหน้าอย่างช้า   ๆ   จนรู้สึกตึงที่ขาหนีบและบริเวณหลัง   ค้างไว้   10 – 30  วินาที   ถ้าเป็นไปได้ใช้ข้อศอกอยู่ด้านนอกของขาท่อนล่าง   ผ่อนคลายแล้วทำซ้ำ   เมนูหลัก
7.  ยืดเหยียดหลังและด้านข้าง   (Spinal stretch) นั่งบนพื้นเหยียดเท้าขวาตรงออกไป   งอเข่าซ้ายและวางเท้าซ้ายข้ามเข่าขวา   งอศอกขวาดันเข่าซ้ายไว้   วางฝ่ามือซ้ายด้านหลังแล้วค่อยๆหมุนศีรษะไปทางด้านหลัง   พร้อมกับบิดลำตัวส่วนบนไปทางมือซ้ายค้างไว้ 10 – 30  วินาที   สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน   8.  ยืดเหยียดหลังส่วนกลาง   (Crossover stretch) นอนบนพื้น   งอเท่าซ้าย   90  องศา   เหยียดแขนซ้ายออกไปทางด้านข้าง   วางมือขวาบนต้นขาซ้ายและดึงเข่าซ้ายลงข้ามเข่าขวาจนชดพื้น   ศีรษะวางบนพื้นและหันไปทางแขนซ้าย   ไหล่ทั้งสองข้างติดพื้น   ค้างไว้   10  –  30  วินาที   สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน   เมนูหลัก
9.  ยืดเหยียดต้นขาด้านหลัง   (Hamstrings stretch) นอนบนพื้น   ชันเข่าสองข้าง   ใช้มือ   2  ข้างดึงต้นขาขวาเข้าหาหน้าอก   และค่อย   ๆ   เหยียดเข่าออกให้เท้าผ่อนคลาย   ค้างไว้   10  –  30  วินาที   ดึงขากลับที่เดิม   สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน   10.  ยืดเหยียดหลังส่วนล่าง   (Lumbar stretch) นอนบนพื้น   ใช้มือทั้งสองข้างสอดใต้หัวเข่าค่อย   ๆ   ดึงเข่าทั้งสองข้างเข้าหาหน้าอก   พยายามให้หลังส่วนล่างติดพื้น   ค้างไว้   10  –  30  วินาที   แล้วผ่อนคลาย   และทำซ้ำ   ถ้ามีเวลาทุกท่า   ทุกข้าง   ควรทำซ้ำ   ๆ   ให้ได้อย่างน้อย   4  ครั้ง   จะได้ผลดี   เมนูหลัก

More Related Content

What's hot

คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูArt Nan
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6kkkkon
 
Pat 2 ตุลา2555
Pat 2  ตุลา2555 Pat 2  ตุลา2555
Pat 2 ตุลา2555 Watcharinz
 
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
SAKANAN ANANTASOOK
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
ssuser6a0d4f
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
spk906
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำบันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
รวมข้อสอบ gat pat 9 วิชา
 
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-12 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
jirayutcom
 
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
พัน พัน
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
Ninnin Ja
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทาย
SAM RANGSAM
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
Nickson Butsriwong
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 

What's hot (20)

คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6
 
Pat 2 ตุลา2555
Pat 2  ตุลา2555 Pat 2  ตุลา2555
Pat 2 ตุลา2555
 
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผ่นพับปรับวิถีชีวิตพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำบันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
บันทึกข้อความขออนุญาตดำเนินการจัดกิจกรรมลอกคลองระบายน้ำ
 
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
 
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-12 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
2 ขั้นทดลองสอนในสถานศึกษา-1
 
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทาย
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 

Viewers also liked

Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
Utai Sukviwatsirikul
 
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001peter dontoom
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพpeter dontoom
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
Thidarat Termphon
 
ใบงาน บทที่ 3
ใบงาน บทที่ 3ใบงาน บทที่ 3
ใบงาน บทที่ 3Sarawut Fnp
 
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
Thidarat Termphon
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (8)

Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
 
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
วิชาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
ใบงาน บทที่ 3
ใบงาน บทที่ 3ใบงาน บทที่ 3
ใบงาน บทที่ 3
 
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
 

Similar to ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
Thiti Wongpong
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Act2
Act2Act2
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAgingThunyaluck
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAging
Thunyaluck
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
เอิท. เอิท
 
Presentation finale
Presentation finalePresentation finale
Presentation finale
KTPH2348
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Aphisit Aunbusdumberdor
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่guestcfd317
 
กิจกรรมที่5(แก้ไข)
กิจกรรมที่5(แก้ไข)กิจกรรมที่5(แก้ไข)
กิจกรรมที่5(แก้ไข)
Bbenjawan
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
Jirakit Suttikham
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
CAPD AngThong
 
_____________-1.pdf
_____________-1.pdf_____________-1.pdf
_____________-1.pdf
609181
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
4LIFEYES
 

Similar to ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ (20)

คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพคู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
คู่มือออกกำลังกายและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Act2
Act2Act2
Act2
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAging
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAging
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
Presentation finale
Presentation finalePresentation finale
Presentation finale
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
 
กิจกรรมที่5(แก้ไข)
กิจกรรมที่5(แก้ไข)กิจกรรมที่5(แก้ไข)
กิจกรรมที่5(แก้ไข)
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
_____________-1.pdf
_____________-1.pdf_____________-1.pdf
_____________-1.pdf
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

  • 1.
  • 3.  
  • 4. พนักงานในสถานประกอบการส่วนใหญ่ จะนั่งทำงานหรืองานซ้ำ อย่างเดียวกัน เป็นเวลาหลายชั่วโมงในแต่ละวัน ทำให้ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกาย ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างมาก ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ โดยสังเกตเห็นได้ง่าย ๆ เช่น ทำให้มีน้ำหนักตัวมากกว่าเกณฑ์ปกติหรืออ้วน ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และความดันโลหิตสูง ส่วนทางด้านจิตใจจะทำให้เรารู้สึกไม่สบายใจ มีความกังวลว่าอ้วนไม่สวย ( โดยเฉพาะผู้หญิง ) รู้สึกไม่มั่นใจในตนเอง ไม่กล้าแต่งตัวหรือสวมเสื้อผ้าที่โชว์รูปร่างสัดส่วนทั้งๆ ที่บางครั้งอยากแต่งกายเช่นนั้น เป็นต้น ดังนั้นการเคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเพียงพอ จึงเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่จะทำให้เรามีสุขภาพดี มีความมั่นใจในตนเอง มีชีวิตอย่างมีความสุขและที่สำคัญ คือ การออกกำลังกายจะช่วยให้มีรูปร่างสวยงาม ได้สัดส่วน โดยไม่ต้องทรมานตนเองด้วยการอดอาหาร
  • 5. การเคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกายมีประโยชน์อย่างมากมาย ที่สำคัญมีดังนี้ (1)   ช่วยควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ทำให้มีรูปร่างสมส่วนสวยงาม (2)   มีพละกำลังมากขึ้น มีความคล่องแคล่วว่องไวสามารถทำงานและทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวันได้อย่างกระฉับกระเฉง (3)   ลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน (4)   ลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ (5)   การเป็นไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจลดลง (6)   ช่วยให้กระดูก ข้อต่อ และกล้ามเนื้อแข็งแรง (7)   ทำให้สภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง และยืดหยุ่น (8)   มีจิตใจแจ่มใส ไม่เครียด ไม่มีอาการซึมเศร้าไม่รู้สึกเบื่อหน่ายต่อชีวิต ดำรงชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาพดีและมีชีวิตยืนยาว โดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น
  • 6. การเคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพมี 2 ลักษณะ คือ 1. การเคลื่อนไหวร่างกายในการทำงานหรือทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้ร่างกายไว้เคลื่อนไหว เพื่อให้ได้ใช้พลังงานแทนการนั่งหรือนอนอยู่กับที่ หรือทำงานบางอย่างซ้ำ ๆ ในท่าเดียวนาน ๆ ซึ่งทำได้หลายแบบ เช่น การลุกขึ้นยืดเหยียดกล้ามเนื้อ หลังจากนั่งทำงานนาน 1 – 2 ชั่วโมง ( ดูวิธีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อในภาคผนวก ) หรือยืดเหยียดกล้ามเนื้อหลังจากตื่นนอน เดินขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟต์ หรือจอดรถ ให้ไกลและเดินให้ไกลขึ้น ลงจากรถเมล์ก่อนถึงที่ทำงานหรือก่อนถึงบ้านสัก 1 ป้าย แล้วเดินไป ถีบจักรยานหรือเดินไปซื้อของที่ตลาดแทนการใช้รถยนต์ เป็นต้น
  • 7. 2. การออกกำลังกายอย่างมีแบบแผน หรือการออกกำลังกายอย่างเป็นเรื่องเป็นราว คือ การออกกำลังกายที่กำหนดไว้ และมีแบบแผนชัดเจน เช่น การเต้นแอโรบิค การเล่นตะกร้อ การเล่นฟุตบอล การเดินเร็วๆ หรือการวิ่งเหยาะๆ เป็นต้น ซึ่งการออกกำลังกายอย่างมีแบบแผนนี้ มีขั้นตอนที่สำคัญ 3 ขั้นตอน คือ  ·   การอบอุ่นร่างกาย ประมาณ 10 นาที การอบอุ่นร่างกายจะเริ่มจากการยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนแล้วค่อย ๆ เพิ่มให้โลหิตไหลเวียนแรงขึ้น การอบอุ่นร่างกายจะช่วยลดการบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย ช่วยให้ข้อต่องอ – พับได้ดี และช่วยให้กล้ามเนื้อทำงานดีขึ้น การอบอุ่นร่างกายด้วยควรเริ่มด้วยการวิ่งช้า ๆ แล้วยืดเหยียดกล้ามเนื้อโดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที
  • 8.  ·  การออกกำลังกายจริง ประมาณ 20 – 60 นาที โดยการทำกิจกรรมการออกกำลังกาย ซึ่งควรเป็นการออกกำลังกายที่มีการใช้ออกซิเจนอย่างต่อเนื่อง เช่น การเดินเร็ว ๆ การวิ่งเหยาะ ๆ การเต้นแอโรบิค การเล่นเทนนิส ตะกร้อ หรือกีฬาประเภทต่าง ๆ ที่ร่างกายได้เคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง โดยทำในระดับความหนักปานกลาง ระยะนาน 30 นาที หรือในทำในระดับหนักระยะเวลา 20 นาที ซึ่งก็แล้วแต่ละบุคคล ถ้าเป็นผู้ที่เพิ่งเริ่มออกกำลังกาย ควรทำในระดับความหนักปานกลางในระยะเวลา 20 นาทีก่อน แล้วจึงเริ่มเพิ่มขึ้นจนได้ระยะเวลา 30 นาที
  • 9. ระดับความหนัก – เบาของการออกกำลังกาย พิจารณาจากสิ่งสำคัญ 2 ประเด็น คือ (1) อัตราการเต้นของหัวใจหรือชีพจร การออกกำลังกายที่จะให้ประโยชน์ต่อหัวใจและปอด จะต้องออกกำลังกายให้หัวใจ ( หรือชีพจร ) เต้นระหว่าง 60 – 80% ของความสามารถสูงสุดที่หัวใจของคน ๆ นั้นจะเต้นได้ สูตรการคำนวณความสามารถสูงสุดที่หัวใจจะเต้นได้ คือ 220 - อายุเป็นปี ตัวอย่าง คนอายุ 50 ปี มีความสามารถสูงสุดที่หัวใจเต้นได้ คือ 220 – 50 = 170 ครั้งต่อนาที การออกกำลังกายที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อหัวใจ คือ ออกกำลังกายแล้วหัวใจเต้นได้ 60 – 80% ของ 170 ครั้งต่อนาที คือ ระหว่าง 119 – 136 ครั้งต่อนาที
  • 10. (2) ระดับความเหนื่อยจากการออกกำลังกาย ในการปฏิบัติจริงบางครั้งการจับชีพจรอาจไม่สะดวกจึงใช้การสังเกตความรู้สึกเหนื่อยจากการออกกำลังกาย ดังนี้  ·   ออกกำลังกายระดับหนัก หมายถึง ออกกำลังกายจนรู้สึกเหนื่อยมากโดยหายใจแรงและเร็ว หรือหอบขณะออกแรง / ออกกำลังกายไม่สามารถคุยกับคนข้างเคียงได้จนจบประโยค  ·  ออกกำลังกายระดับปานกลาง หมายถึง การออกกำลังกายหรืออกแรงจนทำให้รู้สึกค่อนข้างเหนื่อยหรือเหนื่อยกว่าปกติพอควรโดยหายใจเร็วกว่าปกติเล็กน้อย หรือหายใจกระชั้นขึ้นไม่ถึงกับหอบ หรือขณะออกกำลังกายหรือออกแรง ยังสามารถพูดคุยกับคนข้างเคียงได้จนจบประโยคและรู้เรื่อง ·  ออกกำลังกายในระดับน้อย หมายถึง การออกกำลังกายหรืออกแรงน้อย ไม่รู้สึกเหน็ด - เหนื่อยมากกว่าปกติ
  • 11. สำหรับผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำอยู่แล้ว ควรทำกิจกรรมการออกกำลังกาย ที่สนุกสนาน จะมีกติกาของการเล่นกำหนดไว้ก็ได้ เป็นการแข่งขัน เล่นเพื่อ ให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง การแพ้–ชนะจึงไม่ใช่สิ่งสำคัญนัก การออกกำลังกายอย่างมีแบบแผนนี้ จะต้องทำครบทั้ง 3 ขั้นตอนดังกล่าวในการออกกำลังกาย แต่ละครั้งและควรทำอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ สรุปข้อควรปฏิบัติในการออกกำลังกายอย่างมีแบบแผน (1) ควรเลือกกิจกรรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิคหรือควรออกกำลังกายที่ร่างกาย ได้ใช้ออกซิเจนอย่างต่อเนื่อง (2) ระดับความหนักเบาของการออกกำลังกาย พิจารณาจากอัตราการเต้นของหัวใจหรือ ชีพจร เป้าหมายคือ ร้อยละ 60 – 90 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด (3) ระยะเวลาการออกกำลังกายแต่ละครั้งประมาณ 20 – 60 นาที (4) ความถี่ 3 – 5 ครั้งต่อสัปดาห์ (5) ควรเพิ่มการออกกำลังกายเพื่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อด้วย
  • 12.
  • 13. 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์ 20-60 นาที / ครั้ง ออกกำลังกายอย่างมีแบบแผน • ทำกิจกรรมแอโรบิค - เดินทางไกล - ขี่จักรยาน - เต้นแอโรบิค - ว่ายน้ำ ฯลฯ • สนุกกับการเล่นกีฬา - ตะกร้อ - ฟุตบอล - เทนนิส - แบดมินตัน ฯลฯ ทุกวันควรเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน -     เดินขึ้นบันไดแทนขึ้นลิฟต์ -     จ อดรถให้ไกลและเดินให้ไกลขึ้น -     ลงรถประจำทางก่อนถึงบ้านหรือที่ทำงานแล้วเดินให้ไกลขึ้น -     ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 3 – 5 นาทีระหว่างนั่งทำงาน 1 – 2 ชั่วโมง
  • 14. บางคนไม่กล้าออกกำลังกายเพราะกลัวการบาดเจ็บ ในความเป็นจริงแล้ว เราสามารถป้องกันการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายได้โดยการปฏิบัติ ดังนี้ (1) เลือกวิธีการหรือกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับอายุและเพศ เช่น คนหนุ่มสาวควรออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิคหรือเล่นกีฬา ส่วนผู้สูงอายุ ควรออกกำลังกายแบบแอโรบิคร่วมด้วย เป็นต้น (2) ออกกำลังกายตามเวลาที่เหมาะสม ควรเป็นในช่วงเวลาเช้าหรือเย็น ไม่ควรออกกำลังกาย ในช่วงเวลากลางวันที่อากาศร้อน และไม่ควรออกกำลังกายภายหลังรับประทานอาหารเสร็จใหม่ ๆ เพราะร่างกายต้องการเลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารและลำไส้มาก แต่ถ้าเราไปออกกำลังกาย ร่างกายจะต้องการเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมากด้วย จึงทำให้อาจมีเลือดไปเลี้ยงหัวใจและสมองน้อยไป ทำให้เกิดอาการเป็นลมเนื่องจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วขณะหรือเกิดอาการของโรคหัวใจได้
  • 15. (3) ไม่ควรออกกำลังกายเมื่อรู้สึกเจ็บป่วย ไม่สบาย เป็นไข้ และท้องเสีย เพราะเวลาที่ท้องเสียร่างกายจะขาดน้ำและเกลือแร่ ทำให้อ่อนเพลีย เป็นลม หรือเป็นตะคริวได้ เวลาเป็นไข้ไม่ควรออกกำลังกาย เพราะอาจทำให้เกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบได้ ดังนั้นถ้าไม่สบายไม่ว่าด้วยอาการใด ๆ ควรงดเว้นการออกกำลังกายไว้ก่อน (4) การออกกำลังกายทุกครั้งต้องทำครบทั้ง 3 ขั้นตอน คือ เริ่มจากการอบอุ่นร่างกาย แล้วจึงออกกำลังกายจริง และตามด้วยการผ่อนหยุด (5) ใช้อุปกรณ์และเครื่องแต่งกายที่เหมาะสม เช่น รองเท้าจะป้องกันการบาดเจ็บได้ (6) ไม่ควรออกกำลังกายหนักมากจนเกินไป เพราะอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บได้
  • 16.  
  • 17. (1) จุดเริ่มต้น ของการเคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ คือ การตรวจสอบตนเองว่ามีความพร้อมทางด้านแรงจูงใจในการออกกำลังกายอยู่ในระยะใด เพื่อที่จะเริ่มต้น การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ความพร้อมทางด้านแรงจูงใจในการออกกำลังกายมี 5 ระดับ คือ ·   ระยะที่ 1 ไม่คิดเกี่ยวกับว่าจะต้องเคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเลยและไม่ตั้งใจที่จะออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา พร้อมทั้งไม่ได้ออกกำลังกายเลย ·  ระยะที่ 2 คิดว่าจะออกกำลังกายและตั้งใจว่าจะออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในช่วง 6 เดือน ที่ผ่านมา แต่ยังไม่ได้ออกกกำลังกาย
  • 18. ·   ระ ยะที่ 3 ตั้งใจว่าจะออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและมีการออกกำลังกายบ้างแต่ยังไม่เพียงพอที่จะก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ ( เช่น ออกกำลังกายไม่สม่ำเสมอ ระยะเวลาแต่ละครั้งน้อยเกินไป เป็นต้น ) ·    ระยะที่ 4 มีการออกกำลังกายเป็นประจำ สม่ำเสมอ และเพียงพอที่จะเกิดผลดีต่อสุขภาพในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ·  ระยะที่ 5 มีการออกกำลังกายจนเป็นกิจนิสัย คือ ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำสม่ำเสมอ และเพียงพอที่จะก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ มาเป็นเวลามากกว่า 6 เดือนที่ผ่านมา (2) ขั้นต่อไป การเสริมสร้างแรงจูงใจในการออกกำลังกายให้กับตนเองเมื่อได้คำตอบให้กับตนเองแล้วว่า เรามีแรงจูงใจในการออกกำลังกายให้กับตนเองโดยเฉพาะกับผู้ที่อยู่ในระยะต้น ๆ ( ระยะที่ 1 และระยะที่ 2) ซึ่งการสร้างแรงจูงใจที่สำคัญ คือ การกำหนดเป้าหมายของการออกกำลังกายให้ชัดเจน โดยเริ่มจากความตั้งใจที่จะออกกำลังกาย เช่น ตั้งใจว่าในอีก 2 เดือนข้างหน้านี้ เราจะลดน้ำหนักตัวลงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ เป็นต้น การกำหนดเป้าหมายของการออกกำลังกายนั้น อาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล เมนูหลัก
  • 19. ( 3 ) วางแผนปฏิบัติ โดยทำสิ่งต่อไปนี้ • ป รับตารางเวลาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้มีเวลาสำหรับการออกกำลังกาย • กำหนดให้มีการเคลื่อนไหวร่างกายให้มากขึ้น เช่น เดินให้มากขึ้นใช้บันไดแทนลิฟต์ เป็นต้น • กำหนดให้มีเวลาสำหรับการยืดเหยียดกล้ามเนื้อในระหว่างการทำงานเป็นช่วงๆ เช่น นั่งทำงาน 1 – 2 ชั่วโมง ควรหยุดพักแล้วยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 3 – 5 นาที เป็นต้น • เลือกกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ชอบ และถนัด • รับการทดสอบสมรรถภาพทางกายถ้ามีโอกาส เพื่อจะได้รู้ว่าสมรรถภาพทางกายของตน เป็นอย่างไร ควรออกกำลังกายอย่างไร • วางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่ทำให้ไม่ออกกำลังกายไว้ด้วย เช่น ถ้าเมื่อจะหากิจกรรมใหม่ ๆ ถ้าฝนตกจะออกกำลังกายในบ้าน เป็นต้น เมนูหลัก
  • 20.
  • 21. การที่เราพยายามเคลื่อนไหวร่างกาย / ออกกำลังกาย เราก็ย่อมหวังว่าจะเกิดผลดีต่อสุขภาพ ของเรา ทั้งทางร่างกายและจิตใจ เราจึงควรตรวจสอบผลเป็นระยะ ๆ ดังนี้ (1) ทดสอบสมรรถภาพทางกาย เมื่อออกกำลังกายไปแล้ว 4 สัปดาห์ แล้วเปรียบเทียบกับผล การทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนเริ่มต้นออกกำลังกาย ซึ่งผลน่าจะดีกว่าก่อนการออกกำลังกายและเมื่อ ออกกำลังกายไปแล้ว 8 สัปดาห์ ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายอีกครั้ง ผลการทดสอบควรแสดงว่ามีสมรรถภาพทางกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (2) ตรวจสอบตนเองจะพบว่า ทางด้านร่างกายจะรู้สึกว่ามีสุขภาพทางร่างกายดีขึ้น นอนหลับสบาย มีการขับถ่ายปกติ อาการปวดเมื่อยต่างๆหายไป มีความคล่องแคล่วว่องไวและมีความกระฉับกระเฉงในการทำงานเพิ่มมากขึ้น สำหรับผู้ที่มีน้ำหนักตัวมากกว่าปกติ จะพบว่ามีน้ำหนักตัวลดลงด้วย ทางด้านจิตใจจะรู้สึกว่า สดชื่น แจ่มใส สบายใจ ไม่วิตกกังวลหรือเครียดมากเกินไป และมีอารมณ์ขันเพิ่มขึ้นด้วย ทางสังคม จะมีเพื่อนมากขึ้น มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับคนทั่วไป เมนูหลัก
  • 22. การยืดเหยียดพื้นฐาน 1. ยืดเหยียดคอ (Neck stretch) เอียงศีรษะไปทางขวา ลู่ไหลลงทั้ง 2 ข้าง ใช้มือขวาวางบนด้านซ้ายของศีรษะแล้วดึงศีรษะเบา ๆ ไปทางไหลขวา ค้างไว้ 10 – 30 วินาที สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน
  • 23. 2. ยืดเหยียดน่อง (Calf stretch) ยืนห่างจากฝาผนัง 2 – 3 ฟุต แล้วก้าวเท้าซ้ายออกไปใกล้ผนัง ให้เท้าทั้งสองตั้งฉากกับฝาผนัง งอเข่าซ้าย แขนทั้งสองข้างพิงฝาผนัง เข่าหลังตึงและส้นเท้าแนบพื้น ค้างไว้ 10 – 30 วินาที สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน พยายามให้เท้าทั้ง 2 ข้างขนานกันและตั้งฉากกับฝาผนัง ส้นเท้าหลังแนบพื้นเสมอ กรณีเข่าหลังนั้นสามารถงอเล็กน้อย ระหว่างการยืดเหยียด เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เมนูหลัก
  • 24. 3. ยืดเหยียดต้นขาด้านหน้า (Thigh stretch) ใช้มือซ้ายยันฝาผนังหรือจับราวไว้เพื่อการทรงตัว งอเข่าขวายืนด้วยขาซ้าย มือขวาจับข้อเท้าขวาและค่อย ๆ ดึงให้ส้นเท้าเข้าหากัน ค้างไว้ 10 – 30 นาที รักษาหลังให้ตรงอย่าแอ่น สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน 4. ยืดเหยียดต้นขาด้านนอก (Outer thigh stretch) ใช้มือซ้ายยันฝาผนังหรือจับเสาไว้เพื่อการทรงตัว ยกเท้าซ้ายไปวางด้านหลังเท้าขวา เอียงข้อเท้าซ้ายเล็กน้อยและทิ้งตัวเอียงไปทางฝาผนัง ค้างไว้ 10 – 30 นาที สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน เมนูหลัก
  • 25. 5. ยืดเหยียดสะโพก (Hip stretch) จากท่านั่งคุกเข่า ก้าวเท้าขวาออกไปข้างหน้า จนกระทั่งเข่าตั้งตรงอยู่เหนือข้อเท้า พยายามให้เท้าขวาชี้ตรงไปข้างหน้า พักเข่าซ้ายบนพื้นด้านหลังลำตัว โน้มตัวไปทางเข่าหน้า เชิงกรานและสะโพกซ้ายด้านหน้าถูกกดลงใกล้พื้นค้างไว้ 10 – 30 วินาที สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน 6. ยืดเหยียดต้นขาด้านใน (Butterfly stretch) นั่งบนพื้น ดึงฝ่าเท้าทั้งสองข้างเข้าใกล้ ขาหนีบและประกบกัน มือจับปลายเท้าแล้วโน้มตัว ให้ต่ำไปข้างหน้าอย่างช้า ๆ จนรู้สึกตึงที่ขาหนีบและบริเวณหลัง ค้างไว้ 10 – 30 วินาที ถ้าเป็นไปได้ใช้ข้อศอกอยู่ด้านนอกของขาท่อนล่าง ผ่อนคลายแล้วทำซ้ำ เมนูหลัก
  • 26. 7. ยืดเหยียดหลังและด้านข้าง (Spinal stretch) นั่งบนพื้นเหยียดเท้าขวาตรงออกไป งอเข่าซ้ายและวางเท้าซ้ายข้ามเข่าขวา งอศอกขวาดันเข่าซ้ายไว้ วางฝ่ามือซ้ายด้านหลังแล้วค่อยๆหมุนศีรษะไปทางด้านหลัง พร้อมกับบิดลำตัวส่วนบนไปทางมือซ้ายค้างไว้ 10 – 30 วินาที สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน 8. ยืดเหยียดหลังส่วนกลาง (Crossover stretch) นอนบนพื้น งอเท่าซ้าย 90 องศา เหยียดแขนซ้ายออกไปทางด้านข้าง วางมือขวาบนต้นขาซ้ายและดึงเข่าซ้ายลงข้ามเข่าขวาจนชดพื้น ศีรษะวางบนพื้นและหันไปทางแขนซ้าย ไหล่ทั้งสองข้างติดพื้น ค้างไว้ 10 – 30 วินาที สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน เมนูหลัก
  • 27. 9. ยืดเหยียดต้นขาด้านหลัง (Hamstrings stretch) นอนบนพื้น ชันเข่าสองข้าง ใช้มือ 2 ข้างดึงต้นขาขวาเข้าหาหน้าอก และค่อย ๆ เหยียดเข่าออกให้เท้าผ่อนคลาย ค้างไว้ 10 – 30 วินาที ดึงขากลับที่เดิม สลับข้างและทำซ้ำแบบเดียวกัน 10. ยืดเหยียดหลังส่วนล่าง (Lumbar stretch) นอนบนพื้น ใช้มือทั้งสองข้างสอดใต้หัวเข่าค่อย ๆ ดึงเข่าทั้งสองข้างเข้าหาหน้าอก พยายามให้หลังส่วนล่างติดพื้น ค้างไว้ 10 – 30 วินาที แล้วผ่อนคลาย และทำซ้ำ ถ้ามีเวลาทุกท่า ทุกข้าง ควรทำซ้ำ ๆ ให้ได้อย่างน้อย 4 ครั้ง จะได้ผลดี เมนูหลัก