SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 4
การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้าน
ร่างกายและจิตใจ
พฤติกรรม (Behavior)
กิริยาอาการแสดงออกทุกรูปแบบของ
สิ่งมีชีวิตเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า ทั้ง
ภายนอกและใน เป็นการแสดงออกที่เห็นได้
จากภายนอก โดยรูปแบบของพฤติกรรม
ต่างๆ นั้นเป็นผลมาจากการทางานร่วมกัน
ของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมภายนอก
คือ การกระทาที่เกิดขึ้นแล้วสามารถสังเกตได้
โดยตรงด้วยประสาทสัมผัส
-รู้ตัวเองเเละผู้อื่นทราบได้
เช่น การเดิน การพูด การตะโกน เป็นต้น
** สำคัญในกำรอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
พฤติกรรมภายใน
คือ การกระทาที่เกิดขึ้นภายในใจของบุคคลซึ่งบุคคลอื่นไม่
สามารถสังเกตได้โดยตรงแต่ความคิดหรือความรู้สึกภายใน
อาจทาให้เกิดความรู้สึกตึงเครียดบางอย่าง
1) กระบวนการทางานของร่างกาย
2) กระบวนการคิด ความรู้
3) เจคคติ
การเกิดพฤติกรรมมนุษย์
1. การเรียนรู้(Learning)
การเปลี่ยนพฤติกรรมมาจากประสบการณ์
เมื่อเกิดการเรียนรู้แล้วสามารถคิดหรือ
ปฏิบัติตามประสบการณ์ได้1.1 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมภายในอย่าง
เดียว
1.2 การเปลี่ยนแปลงจากการเรียนรู้มี
ลักษณะถาวร
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) ผู้
ที่ทาการศึกษาทดลองในเรื่องนี้คือ พาฟลอฟ (Pavlov)
ทาการศึกษาทดลองกับสุนัข โดยฝึกสุนัขให้ยืนนิ่งอยู่ในที่ตรึงใน
ห้องทดลอง ที่ข้างแก้มของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของ
น้าลาย การทดลองแบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ ก่อนการวางเงื่อนไข
ระหว่างการวางเงื่อนไข และหลังการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทาของสกินเนอร์
สกินเนอร์ได้อธิบาย คาว่า "พฤติกรรม" ว่าประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ตัว คือ
คาศัพท์ที่สาคัญในการศึกษาทดลองของสกินเนอร์

การเสริมแรง คือสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคลซึ่งจะแยก
เป็น 2 ประเภทคือ การเสริมแรงทางบวก คือสิ่งที่ก่อให้เกิดการแสดง
พฤติกรรมเพิ่มขึ้น และการเสริมแรงทางลบ คือสิ่งที่เมื่อนาออกไปแล้วจะทาให้
การแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้น การลงโทษ การเสริมแรงทางลบและการลงโทษมี
ลักษณะที่คล้ายคลึงกันและมักจะใช้แทนกันอยู่เสมอ แต่การอธิบายของสกิน
เนอร์การเสริมแรงทางลบและการลงโทษต่างกัน โดยเขาได้เน้นว่าการลงโทษ
นั้นเป็นการระงับหรือหยุดยั้งพฤติกรรม
การปรับพฤติกรรม
คือ การนาแนวความคิดของสกินเนอร์ในเรื่องกฎแห่งผลมาใช้อย่างเป็นระบบ
เพื่อทาการปรับพฤติกรรมของบุคคล หลักการนี้อาจจะใช้ทั้งการเสริมแรง
ทางบวกและการเสริมแรงทางลบประกอบกัน
หลักการชมที่มีประสิทธิภาพ ควรจะมีลักษณะดังนี้
(1) ควรชมพฤติกรรมที่สมควรได้รับการยกย่อง
(2) ระบุพฤติกรรมที่สมควรยกย่องอย่างชัดเจน
(3) ชมด้วยความจริงใจ
ทฤษฎีสนามของโทลแมน
“การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นเองได้โดยไม่ต้องมีการเสริมแรง ซึ่งการตอบสนองที่
เกิดขึ้นมีการเรียนรู้ที่จะตอบสนองเองโดยไม่ต้องอาศัยสิ่งเร้าอื่น”
การเรียนรู้ทางสังคมของแบนดูรา
“หลักการต้นแบบ มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้โดยใช้การสังเกตในการ
เลียนแบบ เช่นการสังเกตบุคคลใกล้ชิด”
สติปัญญา
 เป็นสิ่งที่ทาให้เกิดพฤติกรรมมนุษย์ เกี่ยวกับความสามารถที่จะทางานและ
เข้าใจงานได้ดี
 ความสามารถพิเศษโดยเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมเป็นการ
ถ่ายทอดความคิดแบบนามธรรม ความสามารถในการคานวณ ภาษาฯลฯ
การคิดสาคัญอย่างไร
ทำไมมนุษย์จึงต้องคิด ?
เพื่อควำมอยู่รอด
ควำมต้องกำร
สิ่งแปลกใหม่
สภำพปั ญหำ
ควำมสงสัย
ค่านิยม(Value)
การเกิดพฤติกรรมในส่วนของอิทธิพลจากค่านิยมที่เกิดขึ้นกับบุคคลในสังคม
เนื่องจากสังคมมีบรรทัดฐาน ยึดถือแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิต
มีทั้งค่านิยมทางลบและทางบวก
ทัศนคติ
ความคิด ความรู้สึกที่มีความโน้มเอียงต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในแง่บวก
ในเชิงจิตวิทยาสังคม ทัศนคติ เกิดจากการตั้งสมมติฐานขึ้นมา
เพราะไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง
อารมณ์
 สุขภาพของจิตใจที่หวั่นไหว ปั่นป่วน หรือตื่นเต้น เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น
สิ่งเร้าที่กระทบให้บุคคลมีอารมณ์แตกต่างกันไป
แรงจูงใจ
การทางานของระบบประสาทส่งผลต่อพฤติกรรมของมนุษย์โดยมีแรงขับ
เป็นสิ่งสาคัญที่ก่อให้เกิดกระทาต่างๆขึ้น
สติปัญญา
- ความสามารถในการเรียนรู้อย่างกว้างขวาง
- ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและสถานการณ์
ต่างๆได้
- ความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์ในการใช้สัญลักษณ์ภาษา
ตลอดจนตัวเลขต่างๆ
ไอคิว
Intelligence Quotient
ระดับสติปัญญาหรือระดับเชาวน์ปัญญาของ
คน คนไอคิวดีจะเป็นคนเก่งมีสมองรับรู้ว่องไว
เรียนหนังสือเก่ง ไอคิวนั้นมาจากคา
ภาษาอังกฤษว่า แล้วย่อ เป็น IQ
ที่มาของไอคิว
ไอคิวของมนุษย์แต่ละคนจะได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อและแม่
ทางพันธุกรรม ฉะนั้นพ่อแม่ที่มีไอคิวสูงมักมีลูกไอคิวสูงด้วย แต่
บางครั้งพ่อแม่ไอคิวสูงลูกอาจมีไอคิวไม่สูงได้เช่นกัน ส่วนพ่อแม่ที่มีไอ
คิวไม่สูงลูกจะมีไอคิวไม่สูงเหมือนพ่อแม่ แทบไม่เคยปรากฏว่าพ่อแม่
ไอคิวไม่สูง แล้วมีลูกเป็นอัจฉริยะ แต่ในทางตรงข้ามพ่อแม่ที่ไอคิวไม่สูง
บางครั้งอาจมีลูกปัญญาอ่อนได้จากสาเหตุบางประการ
ฉะนั้น ไอคิว จึงเป็นสิ่งติดตัวลูกมาตามธรรมชาติเพราะถ่ายทอดทาง
พันธุกรรม และพบว่าประสบการณ์ของชีวิต การศึกษาต่าง ๆ
เปลี่ยนแปลงระดับไอคิวได้น้อยมาก
ความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q)
ความสามารถของบุคคลที่ตระหนักถึงความคิด ความรู้สึกและอารมณ์ของ
ตนเองและผู้อื่น สามารถควบคุมอารมณ์และแรงกระตุ้นภายใน ตอบสนอง
ความต้องการของตนเองได้อย่างถูกกาลเทศะ
การส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด็ก
1. การฝึกทักษะความฉลาดทางอารมณ์ในเด็ก เริ่มที่พ่อแม่ เป็นต้นแบบที่ดีให้
ลูก เลี้ยงลูกอย่างมีความสุข มีความมั่นคงทางอารมณ์
2. เปิดโอกาสให้เด็กทาอะไรด้วยตนเอง อาจเฝ้ าเพียงมองอยู่ใกล้ๆ ให้
กาลังใจเพื่อทาให้สาเร็จและส่งเสริมให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
3. ส่งเสริมให้เล่นในกลุ่มหรือหัดทางานร่วมกับเพื่อน เพื่อทักษะการทางาน
ร่วมกับผู้อื่นได
4. ฝึกให้รู้จักและแก้ปัญหาด้วยตนเอง
5. บรรยากาศภายในครอบครัวไม่ตึงเครียด
ไม่ใช้อารมณ์กับเด็ก จะให้ผลดีต้องเริ่มตั้งแต่เยาว์วัย
จริยธรรม
แนวทางในการประพฤติตนเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างร่มเย็น มีโครงสร้าง
สาคัญ 2 ข้อ
1.ศีลธรรม(Moral Value) : สิ่งที่งดเว้น สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ
2.คุณธรรม (Ethical Value) : สิ่งที่เราควรปฏิบัติ
การออกกาลังกาย
การออกกาลังกาย : การออกแรงใช้งานกล้ามเนื้อ
เพื่อทาให้เกิดการเคลื่อนไหวอย่างมีแบบแผนและทาซ้าๆ
เพื่อให้ร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลงตามที่ต้องการ
เราควรออกกาลังกายอย่างไร
ขึ้นอยู่กับว่าต้องการให้มีพลังแบบไหน ถ้าต้องการพลัง
ความอดทน ก็ควรออกกาลังแบบที่ต้องหายใจเอาออกซิเจน
เข้าไปในร่างกาย ขณะออกกาลังด้วย ที่เรียกว่า การออก
กาลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic Exercise) ถ้าอยากมีแรง
เยอะๆในชั่วอึดใจ ควรออกกาลังกายแบบกลั้นลมหายใจ
แบบที่เรียกว่า แอนแอโรบิก (Anaerobic Exercise)
Aerobic Exercise
การออกกาลังกายที่ไม่รุนแรงมาก แต่มีความ
ต่อเนื่อง เช่น เดิน วิ่งเหยาะๆ หรือ วิ่งทางไกล ว่ายน้า ถีบ
จักรยาน กระโดดเชือก เต้นแอโรบิก ฯลฯ การออกกาลังกาย
แบบแอโรบิก จึงเป็น วิธีการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ การ
ออกกาลังกายชนิดนี้ใช้ทั้งแป้ งและไขมันเป็นพลังงาน จึงควรทา
เป็นประจา
Anaerobic Exercise
คือ การออกกาลังกายแบบช่วยกลั้นลมหายใจ เช่น วิ่งระยะสั้น ยกน้าหนัก
เทนนิส เป็นต้น ดังนั้น ไม่ใช่ว่าการออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬาอะไรก็
ได้ จะดีต่อหัวใจและหลอดเลือดเสมอไป
เราควรออกกาลังกายบ่อยแค่ไหน
อย่างน้อยควรออกกาลังกายสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ก็เพียงพอ
แล้ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจด้วย แต่ไม่ควรหัก
โหม ขณะนี้เป็นที่ยอมรับกันในวงการแพทย์แล้วว่า การ
ออกกาลังกายนั้น สามารถสะสมได้ เช่น ถ้าออกกาลังกาย
ครั้งละ 10 นาที อย่างต่อเนื่อง เช่น การเดิน วันละ 3
ครั้ง ก็จะได้ประโยชน์เช่นเดียวกับการใช้เวลาออกกาลังกาย
30 นาทีครั้งเดียว
เราควรออกกาลังกายหนักแค่ไหน
 สูตรการคานวณในการออกกาลังกาย
ความสามารถสูงสุดที่หัวใจจะเต้นได้ คือ 220 – อายุเป็นปี ตัวอย่างเช่น อายุ 50 ปี
ก็จะมีความสามารถสูงสุดที่หัวใจจะเต้นได้ คือ 220 – 50 = 170 ครั้ง / นาที ดังนั้น
60-80 % ของ 170 จึงเท่ากับ ชีพจรระหว่าง 102 -136 ครั้ง / นาที ซึ่งเหมาะสม
สาหรับคนอายุ 50 ปี กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกาลังกายมีโทษหรือไม่
1. การออกกาลังกายที่ไม่เหมาะสมกับอายุ เช่นผู้สูงอายุควร
ใช้วิธีเดิน หรือเดินเร็ว ๆ แทนที่จะไปเล่น เทนนิส
แบดมินตัน ฯลฯ แม้แต่ผู้เล่นเทนนิสเท่านั้นเป็นประจาทุก
วัน ยังอาจเป็นโรคหัวใจได้ ดังนั้นการออกกาลังกายต้องให้
เหมาะสมกับสภาพร่างกายและจิตใจ ดังจะเห็นได้ ว่า การ
รามวยจีน เป็นคณะ เป็นกลุ่ม จะเปิดโอกาสให้มีการพูดคุย
มีเพื่อน แต่การเล่นกีฬาเพื่อแข่งขัน เพื่อจะเอาชนะ จะมี
แต่ความเครียด
2. การออกกาลังกายผิดเวลา เช่น เวลาอากาศร้อนจัด จะยิ่งทาให้
อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น จนอาจเป็นลมชักได้ หรือหลังการ
รับประทานอาหารเสร็จใหม่ ๆ อาจเป็นโรคหัวใจได้ เพราะเลือดที่ไป
หล่อเลี้ยงหัวใจขณะนั้นมีน้อย
3. การออกกาลังกายในช่วงที่ไม่สบาย เช่น ในขณะที่ท้องเสีย
ร่างกายจะขาดน้าและเกลือแร่ จึงอาจทาให้อ่อนเพลีย เป็นลม เป็น
ตะคริวได้ เวลาเป็นไข้ ก็ไม่ควรออกกาลังกาย เพราะอาจทาให้เป็น
โรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ถึงกับเสียชีวิตทันทีได้ สรุปว่าถ้าไม่
สบายไม่ว่าด้วยอาการใด ๆ ถึงแม้ไม่รู้ว่าเป็นโรคอะไร ก็ควร
ยกเว้นการออกกาลังกายไว้ก่อน
4. การออกกาลังกายโดยไม่อุ่นเครื่องหรือยืดเส้นยืดสาย จง
จาไว้ว่า ก่อนออกกาลังกาย จะต้องมีขั้นตอนการอุ่นเครื่องหรือยืด
เส้นยืดสาย (warm up) ทุกครั้ง โดยไม่มีข้อยกเว้น
5. การใช้อุปกรณ์กีฬาและสถานที่ ที่ไม่เหมาะสม เช่น
รองเท้า ความสั้น–ยาวของอุปกรณ์กีฬาที่ไม่เหมาะสมกับ
ผู้เล่น รวมทั้งสถานที่ ที่ไม่ใช่ลานกีฬา สาหรับการออกกาลังกาย ซึ่ง
อาจทาให้เกิดอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บได้
6. การออกกาลังกายอย่างหักโหม เช่น ถ้าวิ่งเพื่อสุขภาพ วิ่งเพียง
แค่ 20 นาทีก็เพียงพอแล้ว ไม่จาเป็นต้องวิ่งถึง 1 ชั่วโมง เป็นต้น
ประโยชน์ของการมีสุขภาพดีและสมรรถภาพดี
1. ด้านการป้ องกันโรค
- ระบบไหลเวียนเลือด
- ระบบประสาท
- ความพิการบางอย่าง
2. ด้านการป้ องกันอุบัติเหตุ
- ปลอดภัยในการใช้ชีวิตประจาวัน
- ปลอดภัยในการเดินทาง
- ปลอดภัยในการออกกาลังกาย
3.ด้านการเพิ่มคุณภาพชีวิต
1. เพิ่มผลผลิตในการทางานแต่ละวันได้มากและดีขึ้น
2. สามารถร่วมกิจกรรมการออกกาลังกายได้หนักและ
นานขึ้น
3. มีความสามารถต่อสู้ป้ องกันตัวในภาวะคับขันได้ดี
หลักการออกกาลังกาย
1. ควรเริ่มออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
2. เลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับอายุและสมรรถภาพของบุคคล
3. ควรออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ3-5 วันต่อสัปดาห์
เน้นกิจกรรมการฝึกแบบแอโรบิก
4. อบอุ่นร่างกาย 5-10 นาที โดยยืดเหยียดข้อต่อ และเอ็นกล้ามเนื้อหลัง
เสร็จกิจกรรมให้ผ่อนคลายร่างกาย (Cool Down)จนปกติ
หลักการออกกาลังกาย (ต่อ)
5. ควรมีสุขนิสัยและสวัสดิการในการออกกาลังกาย
6. ควรให้ทุกส่วนของร่างกายได้ออกกาลังกายอย่างทั่วถึง
7. ควรคานึงสภาพร่างกาย ถ้าหากร่างกายอ่อนแออย่าออกกาลังกาย
อย่าหักโหม
8. ออกกาลังกายให้เกิดการทรงตัวดีขึ้น กล้ามเนื้อประสานสัมพันธ์กัน
9. ออกกาลังกายให้ร่างกายมีความว่องไว ให้การสั่งการของประสาท
ส่วนกลางกับกล้ามเนื้อส่วนต่างๆประสานสัมพันธ์กัน
ขั้นตอนการออกกาลังกาย
1. สารวจร่างกายก่อนที่จะออกกาลังกาย โดยการตรวจสุขภาพทั่วไป และ
ทดสอบ สมรรถภาพเพื่อทราบความพร้อมของร่างกาย
2. กาหนดความต้องการในการออกกาลังกายของตนเอง
3. เลือกชนิดของการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพให้เหมาะกับเพศ วัย
สภาพร่างกาย
4. การกาหนดปริมาณการออกกาลังกายโดยเน้นถึง
5. การกาหนดโปรแกรมการออกกาลังกายแต่ละวัน
ข้อควรปฏิบัติในการออกกาลังกาย
1. การรู้จักประมาณตน สภาพร่างกายและความเหมาะสมกับกีฬาชนิดต่างๆ
2. การแต่งกาย เพื่อความเหมาะสม รัดกุมให้การเคลื่อนไหวมีประสิทธิภาพ
3. เลือกเวลาดินฟ้า อากาศ
4. สภาพของกระเพาะอาหาร
5. การดื่มน้า
6. ความเจ็บป่วย
7. ความเจ็บป่วยระหว่างออกกาลังกาย
8. ด้านจิตใจ
9. ความสม่าเสมอ
10. การพักผ่อน
สมรรถภาพทางกาย
1. การมีสุขภาพจิตที่ดี
2. การมีสุขภาพร่างกายที่ดี
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
 ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
 กาลังหรือพลังของกล้ามเนื้อ
 ความทนทานของกล้ามเนื้อ
 ความคล่องแคล่วว่องไว
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
ความอ่อนตัวและยืดหยุ่นตัว
การทรงตัว
ความเร็ว
ระยะเวลาของการมีปฏิกิริยาตอบ
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
ความทนทานของหัวใจและการไหลเวียนโลหิตดี
การประสานงานระหว่างประสาทและกล้ามเนื้อ
หลักในการเสริมสร้าง สมรรถภาพทางกาย
 ฝึกจากน้อยไปมาก ฝึกจากเบาไปหาหนัก และจะต้องฝึก
จนกระทั่งร่างกายเกิดอาการเหน็ดเหนื่อยปวดเมื่อยตาม
กล้ามเนื้อ การฝึกจะต้องให้เพียงพอกับความต้องการ ของ
ร่างกายของแต่ละบุคคล อย่าฝึกจนกระทั่งเหนื่อยมากเกินไป
หรือน้อยเกินไปจนไม่รู้สึกเหน็ดเหนื่อยอย่างเต็มที่จะต้องฝึก
ให้พอเหมาะพอดีกับสภาพร่างกาย และความต้องการของแต่
ละคน การฝึกจึงจะได้ผลดี
หลักในการเสริมสร้าง สมรรถภาพทางกาย
 การฝึกจะต้องทาเป็ นประจาอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ร่างกายเกิด
ความเคยชินกับสภาพการเคลื่อนไหวของกิจกรรมนั้น
 การฝึกจะต้องใช้หลักการปรับเพิ่มความหนัก
(Overload Principles) เป็นระยะ ๆ เพื่อให้ร่างกาย
มีการพัฒนาปรับตัวดีขึ้น ความหนักที่จะปรับเพิ่มขึ้นนั้น ควรคานึง
ด้วยว่าจะเพิ่มขึ้นสักเท่าใด และจะเพิ่มขึ้นอีกเมื่อใด รวมทั้งการฝึกวัน
ละกี่ชั่วโมงและอาทิตย์ละกี่ครั้ง ผู้ฝึกควรมีโปรแกรมในการฝึกในแต่
ละสัปดาห์ให้ชัดเจนแน่นอน
หลักในการเสริมสร้าง สมรรถภาพทางกาย
 การพักผ่อน ภายหลังการฝึกซ้อมในแต่ละวัน จะต้องมีเวลาพักผ่อนให้
เพียงพออย่างน้อยวันละ 6 – 8 ชั่วโมงต่อหนึ่งคืน
 การฝึกจะต้องกระทาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในขั้นพื้นฐานเบื้องต้นควร
เริ่มต้นด้วยการฝึกความอดทนและเสริมสร้างความแข็งแรงทั่ว ๆ ไป
รวมทั้งฝึกทักษะการเคลื่อนไหว เบื้องต้นในช่วงระยะ 3 เดือนแรก
ต่อมาควรปรับเพิ่มปริมาณความหนักในการฝึกมากขึ้น มุ่งเน้นการฝึก
ทักษะความอดทน ความแข็งแรง ตลอดจนสมรรถภาพร่างกาย ในการ
ประกอบกิจกรรมหรือทักษะการเคลื่อนไหวให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ฝึก
เน้นความสัมพันธ์และประสานงานของระบบกล้ามเนื้อ
หลักในการเสริมสร้าง สมรรถภาพทางกาย
 การบารุงร่างกายหรืออาหาร จะต้องรับประทานให้ครบ
ทุกประเภทกล่าวคือในแต่ละมื้อที่รับประทานจะต้อง
ประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน ผัก ผลไม้
เกลือแร่และวิตามิน
นันทนาการ
มาจากศัพท์คาว่า Recreation ซึ่งมาจากคาว่ากิริยา คือ ครีเอท
(To Create) ซึ่งหมายถึง การสร้างหรือทาให้เกิดขึ้น คาว่า รี (re)
เป็นอุปสรรคเติมหน้าคากริยาแสดงถึง คาใหม่ หรือเพิ่มเติมอีก ดังนั้น เมื่อ
เป็นคาว่า “Re-create “ก็หมายถึงการสร้างใหม่ หรือให้มีขึ้นใหม่
สร้างใหม่มีขึ้นใหม่ เมื่อเป็นคานามก็จะเป็นคาว่า เรคครีเอชั่น
(recreation) ซึ่งจะหมายถึง การสร้างให้มีขึ้นใหม่ หรือ การทาให้มี
ขึ้นใหม่
ใบกิจกรรม
 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม และค้นคว้าต่อไปนี้
 ค้นคว้ากิจกรรมนันทนาการกลุ่มละ 1 กิจกรรม
 จัดทาเป็นรูปเล่มรายงาน
www.themegallery.com
Add your company slogan

More Related Content

Similar to Lesson 4

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
kaewcomedu
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
Patitta Sitti
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
taem
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
Pattiya Lasutti
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
Patitta Sitti
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
maymymay
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
PaoPao Paopao
 
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวันใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
pa1705
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
huloo
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
huloo
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
maymymay
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
maymymay
 

Similar to Lesson 4 (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
Presentation finale
Presentation finalePresentation finale
Presentation finale
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
สาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียดสาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียด
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
ปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayama
ปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayamaปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayama
ปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayama
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวันใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
ใช้ชีวิตแบบวันต่อวัน
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
รูปเล่ม
รูปเล่มรูปเล่ม
รูปเล่ม
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 

More from pattanan sabumoung

More from pattanan sabumoung (20)

Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5
 
เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4
 
เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3
 
เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2
 
เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1
 
เนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressedเนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressed
 
เนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressedเนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressed
 
เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2
 
เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1
 
เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3
 
เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2
 

Recently uploaded

Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
George638435
 

Recently uploaded (8)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Lesson 4