SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย
     สําหรับนักเรียนอายุ 4 – 6 ปี




                 โดย
สํานักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา
      กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
รายการทดสอบสมรรถภาพทางกายสําหรับนักเรียน 4-6ปี

ที่              รายการทดสอบ                             วัตถุประสงค์ของการทดสอบ
1     องค์ประกอบของร่างกาย :             เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย (น้ําหนัก
      ดัชนีมวลกาย (BMI)                  และส่วนสูง)
2     นั่งงอตัวไปข้างหน้า                เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง
3     ยืนกระโดดไกล                       เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา
4     ลุกนั่ง 30 วินาที                  เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง
5     งอแขนยกน้ําหนัก                    เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขน
6     วิ่งเร็ว 20 เมตร                   เพื่อวัดความเร็ว
7     วิ่งเก็บของ 2 จุดและวิ่งอ้อมหลัก   เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถ
                                         ในการทรงตัว
องค์ประกอบของร่างกาย : ดัชนีมวลกาย (BMI)
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ              เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย (น้ําหนักและส่วนสูง)
อุปกรณ์ที่ใช้                        1.เครื่องชั่งน้ําหนัก
                                     2.เครื่องวัดส่วนสูง
                                     3.เครื่องคิดเลข
วิธีการปฏิบัติ                                             ตัวอย่าง เช่น
1.ชั่งน้ําหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เข้ารับการทดสอบ ผู้เข้ารับการทดสอบมีน้ําหนักตัว 25 กิโลกรัม
2.นําน้ําหนัก และส่วนสูงมาคํานวณหาค่า                      มีส่วนสูง 120 เซนติเมตร
ดัชนีมวลกาย โดยนําค่า                                      ค่าดัชนีมวลกาย = 25 / (1.20)2
      น้าหนัก (กิโลกรัม) หารด้วย ส่วนสูง (เมตร)2
         ํ                                                                   = 25 / 1.44
                                                                             = 17.36 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
ระเบียบการทดสอบ 1. การชั่งน้ําหนักให้ผู้เข้ารับการทดสอบสวมชุดที่เบาที่สุด และให้ถอดรองเท้า
                         2. การวัดส่วนสูงให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนตรง ศีรษะตั้งตรง สายตามองตรงไป
                         ข้างหน้า

การบันทึกผล            น้ําหนักตัวให้บันทึกเป็นค่ากิโลกรัม สําหรับส่วนสูงให้บันทึกค่าเป็นเมตร




                    ชั่งน้ําหนัก                                            วัดส่วนสูง
นั่งงอตัวไปข้างหน้า
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง
อุปกรณ์ที่ใช้                          กล่องเครื่องมือวัดความอ่อนตัว ขนาดสูง 30 เซนติเมตร
วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้รับการทดสอบนั่งเหยียดขาตรงไป
ข้างหน้า
- เท้าทั้งสองอยู่ห่างกันประมาณ 1 ฟุต
โดยให้ฝ่าเท้าวางราบชิดกล่อง
- แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า


2.ผู้เข้ารับการทดสอบค่อย ๆ ก้มลําตัว
ลงและใช้ปลายนิ้วจากมือทั้งสองดันแกน
วัดระยะทางไปข้างหน้า จนไม่สามารถ
ก้มลําตัวลงไปได้อีก ให้ผู้เข้ารับการ
ทดสอบก้มตัวค้างไว้ 1 วินาที


ระเบียบการทดสอบ 1. ขณะที่กมเพื่อให้ปลายนิ้วแตะแกนที่วัดระยะทางไปข้างหน้านั้น เข่าจะต้องไม่งอ
                            ้
                2. ห้ามผู้เข้ารับการทดสอบโยกตัวช่วยขณะที่ก้มลําตัวลง
                3. ให้ทําการทดสอบ 2 ครั้ง
การบันทึกผล     1. ให้บันทึกระยะทางเป็นเซนติเมตร
                2. บันทึกค่าทีทําการทดสอบได้ดีที่สุด จากการทดสอบ 2 ครั้ง
                                ่
ยืนกระโดดไกล
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                               เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา
อุปกรณ์ที่ใช้     1.แผ่นยางสําหรับยืนกระโดดไกล
                  2.เทปวัดระยะไม้ที หรือไม้บรรทัด (กรณีไม่มีแผ่นยาง)
                  3.ปูนขาว หรือผ้าเช็ดพื้น (กรณีใช้แผ่นยาง)
วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนแยกเท้าห่างกันประมาณ
ช่วงไหล ปลายเท้าอยู่หลังเส้นเริ่ม
- ย่อเข่าพร้อมกับเหวี่ยงแขนไปด้านหน้า-หลัง เพื่อหา
จังหวะในการกระโดด และเท้าทั้งสองไม่เคลื่อนที่


                                                             ท่าเตรียม             กรณีไม่มแผ่นยาง
                                                                                           ี
2.เมื่อได้จังหวะแล้ว ให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสองข้างไปด้านหน้าให้ได้ระยะไกลที่สุด




3.วัดระยะจากจุดเริ่มไปยังส่วนของร่างกายของผู้รับ
การทดสอบที่อยู่ใกล้ทสุด
                     ี่




การบันทึกผล                          1.ทําการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกผลการทดสอบครั้งที่กระโดดได้ไกลที่สุด
                                     2. ให้วดระยะทางเป็นเซนติเมตร
                                            ั
ลุกนั่ง 30 วินาที
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                    เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง
อุปกรณ์ที่ใช้                              1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม
                                           2. นาฬิกาจับเวลา
วิธีการปฏิบัติ
1. ท่าเริ่มต้น
- ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย
- ชันเข่าทั้งสองข้าง
- เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก
- เท้าทั้งสองวางห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่
- ฝ่าเท้าวางราบกับพื้น
- มือทั้งสองแตะไว้ที่หน้าขาทั้งสองข้าง
2. ผู้ช่วยการทดสอบนั่งอยู่ที่ปลายเท้า




3. เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยกลําตัวขึ้นไปสู่ท่านั่ง ก้มลําตัวให้ศรษะผ่านไประหว่างเข่า
                                                                                        ี
แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า และให้ปลายนิ้วแตะเส้นตรงที่อยู่แนวเดียวกับปลายเท้าทั้งสองข้าง




4. กลับสูท่าเริมต้น โดยจะต้องให้สะบักทั้งสองข้างแตะพื้น
           ่ ่
ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะไม่นับจํานวนครั้งในกรณีต่อไปนี้
1. มือทั้งสองไม่ได้วางแตะที่บริเวณขาทั้งสองข้าง
2. ในขณะกลับลงไปสู่ท่าเริ่มต้น สะบักไม่ได้แตะพื้น
3. ปลายนิ้วมือทั้งสองข้างไม่ได้แตะเส้นที่อยู่ในระดับเดียวกับปลายเท้า
4. ผู้เข้ารับการทดสอบใช้มือยันพื้น เพื่อดันลําตัวขึ้น
การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 30 วินาที
งอแขนยกน้ําหนัก 30 วินาที
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                     เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขน
อุปกรณ์ที่ใช้                               1.บาร์เบลล์และแผ่นน้ําหนักที่มีน้ําหนักรวม 1.5 กิโลกรัม
                                            3.นาฬิกาจับเวลา
วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น
- ผู้เข้ารับการทดสอบยืนตรง
- มือทั้งสองข้างจับบาร์เบลล์ในลักษณะ
หงายมือ ระยะห่างกันประมาณช่วงไหล่




2.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับ
การทดสอบงอแขนยกน้ําหนักไปด้านบน
บริเวณหน้าอก หรือสุดช่วงของการ
เคลื่อนไหว

3.กลับสู่ท่าเริ่มต้น




ระเบียบการทดสอบ
 ในการทดสอบจะไม่นบจํานวนครั้งในกรณีต่อไปนี้
                  ั
1. งอแขนยกน้าหนักไม่สุดช่วงของการเคลื่อนไหว
            ํ




                                                          ไม่นับจํานวนครั้ง เนื่องจากยกขึ้นไม่สุด
การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 30 วินาที
วิ่งเร็ว 20 เมตร
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ                      เพื่อวัดความเร็ว
อุปกรณ์ที่ใช้                                1.เทปวัดระยะทาง
                                             2.ทางวิ่งไม่น้อยกว่า 25 เมตร
                                             3.นาฬิกาจับเวลา
 วิธีการปฏิบัติ
1.ท่าเริ่มต้น ผู้เข้ารับการทดสอบอยู่ใน ท่าเตรียมพร้อมโดยเท้านําอยู่หลังเส้นเริ่ม ย่อเข่าเล็กน้อย




2.เมื่อได้รบสัญญาณ “เริ่ม”ให้วิ่งเร็วเต็มที่จนผ่านเส้นชัย
           ั




ระเบียบการทดสอบ         ทําการทดสอบ 2 ครั้ง แต่ไม่ทดสอบติดต่อกัน
การบันทึกผล 1.บันทึกผลเป็นวินาที ทศนิยม 2 ตําแหน่ง
             2.บันทึกค่าเวลาการวิ่งที่ดีที่สุด
วิ่งเก็บของ 2 จุดและวิ่งอ้อมหลัก
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ           เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถในการทรงตัว
อุปกรณ์ที่ใช้                     1.กรวยหรือหลักที่มีความสูง 80 เซนติเมตร จํานวน 3 อัน
                                  2.เทปวัดระยะทาง 3.แปรงลบกระดาน 4.นาฬิกาจับเวลา
การเตรียมสถานที่ในการทดสอบ




 วิธีการปฏิบติั
1.การเริ่มต้นทดสอบ ณ จุดเริ่ม ผูทดสอบยืนในวงกลมหันหน้าไปทางขวามือ
                                  ้
2.เมื่อได้รบสัญญาณ “เริ่ม”ผู้เข้ารับการทดสอบวิ่งไปหยิบแปรงลบกระดานหรือท่อนไม้ในวงกลมทางขวามือ
           ั
แล้วนํากลับมาวางไว้ในวงกลมจุดเริ่มต้น
3.วิ่งไปหยิบแปรงลบกระดานหรือท่อนไม้ท่อยู่ในวงกลมทางซ้ายมือแล้วนํากลับมาวางไว้ในวงกลมจุดเริ่มต้น
                                          ี
4.จากนั้นให้วิ่งอ้อมหลักทั้ง 3 หลัก (ซิกแซก) ไป-กลับ จนถึงจุดสิ้นสุด




ระเบียบการทดสอบ       ทําการทดสอบ 2 ครั้ง แต่ไม่ทดสอบติดต่อกัน
การบันทึกผล 1.บันทึกผลเป็นวินาที ทศนิยม 2 ตําแหน่ง 2.บันทึกค่าเวลาการวิ่งที่ดีที่สุด
เอกสารอ้างอิง

วัลลีย์ ภัทโรภาส สุพิตร สมาหิโต และคณะ (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ). 2553.
          แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสําหรับเด็กไทยระดับก่อนประถมศึกษาอายุ
          4 – 6 ปี. กรุงเทพฯ

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2549. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทาง
        กายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสําหรับเด็กไทยอายุ 7 – 18 ปี. โรงพิม พี เอส พริ้นท์. กรุงเทพฯ.

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3Khunnawang Khunnawang
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)peter dontoom
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 10898230029
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 

Viewers also liked

เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกายkkkkon
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาOhm Tarit
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18kkkkon
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..Montree Jareeyanuwat
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18kkkkon
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายcaptain
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัยkrutitirut
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษาOhm Tarit
 
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของguest7c5fea
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2krusupap
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙QA Bpi
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)Slitip Pimkad
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)sarawu5
 

Viewers also liked (20)

เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย7 18
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับประชาชนทั่วไป 19-59 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของประเมินสมรรถภาพทางกายของ
ประเมินสมรรถภาพทางกายของ
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
 

Similar to แบบทดสอบอายุ4 6

สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายcaptain
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูArt Nan
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)krutitirut
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบkrutitirut
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายNun อันทวีสิน
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายNun อันทวีสิน
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1sonsukda
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeAphisit Aunbusdumberdor
 

Similar to แบบทดสอบอายุ4 6 (14)

สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-   กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเคลื่อนไหวแล (1)
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
 
Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012Obec robot contest 2012
Obec robot contest 2012
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
Con22
Con22Con22
Con22
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
 

แบบทดสอบอายุ4 6

  • 1. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย สําหรับนักเรียนอายุ 4 – 6 ปี โดย สํานักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
  • 2. รายการทดสอบสมรรถภาพทางกายสําหรับนักเรียน 4-6ปี ที่ รายการทดสอบ วัตถุประสงค์ของการทดสอบ 1 องค์ประกอบของร่างกาย : เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย (น้ําหนัก ดัชนีมวลกาย (BMI) และส่วนสูง) 2 นั่งงอตัวไปข้างหน้า เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง 3 ยืนกระโดดไกล เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา 4 ลุกนั่ง 30 วินาที เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง 5 งอแขนยกน้ําหนัก เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขน 6 วิ่งเร็ว 20 เมตร เพื่อวัดความเร็ว 7 วิ่งเก็บของ 2 จุดและวิ่งอ้อมหลัก เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถ ในการทรงตัว
  • 3. องค์ประกอบของร่างกาย : ดัชนีมวลกาย (BMI) วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย (น้ําหนักและส่วนสูง) อุปกรณ์ที่ใช้ 1.เครื่องชั่งน้ําหนัก 2.เครื่องวัดส่วนสูง 3.เครื่องคิดเลข วิธีการปฏิบัติ ตัวอย่าง เช่น 1.ชั่งน้ําหนัก และวัดส่วนสูงของผู้เข้ารับการทดสอบ ผู้เข้ารับการทดสอบมีน้ําหนักตัว 25 กิโลกรัม 2.นําน้ําหนัก และส่วนสูงมาคํานวณหาค่า มีส่วนสูง 120 เซนติเมตร ดัชนีมวลกาย โดยนําค่า ค่าดัชนีมวลกาย = 25 / (1.20)2 น้าหนัก (กิโลกรัม) หารด้วย ส่วนสูง (เมตร)2 ํ = 25 / 1.44 = 17.36 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ระเบียบการทดสอบ 1. การชั่งน้ําหนักให้ผู้เข้ารับการทดสอบสวมชุดที่เบาที่สุด และให้ถอดรองเท้า 2. การวัดส่วนสูงให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนตรง ศีรษะตั้งตรง สายตามองตรงไป ข้างหน้า การบันทึกผล น้ําหนักตัวให้บันทึกเป็นค่ากิโลกรัม สําหรับส่วนสูงให้บันทึกค่าเป็นเมตร ชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง
  • 4. นั่งงอตัวไปข้างหน้า วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อหลังและต้นขาด้านหลัง อุปกรณ์ที่ใช้ กล่องเครื่องมือวัดความอ่อนตัว ขนาดสูง 30 เซนติเมตร วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้รับการทดสอบนั่งเหยียดขาตรงไป ข้างหน้า - เท้าทั้งสองอยู่ห่างกันประมาณ 1 ฟุต โดยให้ฝ่าเท้าวางราบชิดกล่อง - แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า 2.ผู้เข้ารับการทดสอบค่อย ๆ ก้มลําตัว ลงและใช้ปลายนิ้วจากมือทั้งสองดันแกน วัดระยะทางไปข้างหน้า จนไม่สามารถ ก้มลําตัวลงไปได้อีก ให้ผู้เข้ารับการ ทดสอบก้มตัวค้างไว้ 1 วินาที ระเบียบการทดสอบ 1. ขณะที่กมเพื่อให้ปลายนิ้วแตะแกนที่วัดระยะทางไปข้างหน้านั้น เข่าจะต้องไม่งอ ้ 2. ห้ามผู้เข้ารับการทดสอบโยกตัวช่วยขณะที่ก้มลําตัวลง 3. ให้ทําการทดสอบ 2 ครั้ง การบันทึกผล 1. ให้บันทึกระยะทางเป็นเซนติเมตร 2. บันทึกค่าทีทําการทดสอบได้ดีที่สุด จากการทดสอบ 2 ครั้ง ่
  • 5. ยืนกระโดดไกล วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดกําลังกล้ามเนื้อขา อุปกรณ์ที่ใช้ 1.แผ่นยางสําหรับยืนกระโดดไกล 2.เทปวัดระยะไม้ที หรือไม้บรรทัด (กรณีไม่มีแผ่นยาง) 3.ปูนขาว หรือผ้าเช็ดพื้น (กรณีใช้แผ่นยาง) วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้เข้ารับการทดสอบ ยืนแยกเท้าห่างกันประมาณ ช่วงไหล ปลายเท้าอยู่หลังเส้นเริ่ม - ย่อเข่าพร้อมกับเหวี่ยงแขนไปด้านหน้า-หลัง เพื่อหา จังหวะในการกระโดด และเท้าทั้งสองไม่เคลื่อนที่ ท่าเตรียม กรณีไม่มแผ่นยาง ี 2.เมื่อได้จังหวะแล้ว ให้กระโดดด้วยเท้าทั้งสองข้างไปด้านหน้าให้ได้ระยะไกลที่สุด 3.วัดระยะจากจุดเริ่มไปยังส่วนของร่างกายของผู้รับ การทดสอบที่อยู่ใกล้ทสุด ี่ การบันทึกผล 1.ทําการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกผลการทดสอบครั้งที่กระโดดได้ไกลที่สุด 2. ให้วดระยะทางเป็นเซนติเมตร ั
  • 6. ลุกนั่ง 30 วินาที วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง อุปกรณ์ที่ใช้ 1. เบาะรองพื้น หรือสนามหญ้านุ่ม 2. นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ 1. ท่าเริ่มต้น - ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย - ชันเข่าทั้งสองข้าง - เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก - เท้าทั้งสองวางห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่ - ฝ่าเท้าวางราบกับพื้น - มือทั้งสองแตะไว้ที่หน้าขาทั้งสองข้าง 2. ผู้ช่วยการทดสอบนั่งอยู่ที่ปลายเท้า 3. เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยกลําตัวขึ้นไปสู่ท่านั่ง ก้มลําตัวให้ศรษะผ่านไประหว่างเข่า ี แขนทั้งสองเหยียดตรงไปข้างหน้า และให้ปลายนิ้วแตะเส้นตรงที่อยู่แนวเดียวกับปลายเท้าทั้งสองข้าง 4. กลับสูท่าเริมต้น โดยจะต้องให้สะบักทั้งสองข้างแตะพื้น ่ ่ ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะไม่นับจํานวนครั้งในกรณีต่อไปนี้ 1. มือทั้งสองไม่ได้วางแตะที่บริเวณขาทั้งสองข้าง 2. ในขณะกลับลงไปสู่ท่าเริ่มต้น สะบักไม่ได้แตะพื้น 3. ปลายนิ้วมือทั้งสองข้างไม่ได้แตะเส้นที่อยู่ในระดับเดียวกับปลายเท้า 4. ผู้เข้ารับการทดสอบใช้มือยันพื้น เพื่อดันลําตัวขึ้น การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 30 วินาที
  • 7. งอแขนยกน้ําหนัก 30 วินาที วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขน อุปกรณ์ที่ใช้ 1.บาร์เบลล์และแผ่นน้ําหนักที่มีน้ําหนักรวม 1.5 กิโลกรัม 3.นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น - ผู้เข้ารับการทดสอบยืนตรง - มือทั้งสองข้างจับบาร์เบลล์ในลักษณะ หงายมือ ระยะห่างกันประมาณช่วงไหล่ 2.เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับ การทดสอบงอแขนยกน้ําหนักไปด้านบน บริเวณหน้าอก หรือสุดช่วงของการ เคลื่อนไหว 3.กลับสู่ท่าเริ่มต้น ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะไม่นบจํานวนครั้งในกรณีต่อไปนี้ ั 1. งอแขนยกน้าหนักไม่สุดช่วงของการเคลื่อนไหว ํ ไม่นับจํานวนครั้ง เนื่องจากยกขึ้นไม่สุด การบันทึกผล บันทึกจํานวนครั้งที่ทําได้อย่างถูกต้องภายในเวลา 30 วินาที
  • 8. วิ่งเร็ว 20 เมตร วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความเร็ว อุปกรณ์ที่ใช้ 1.เทปวัดระยะทาง 2.ทางวิ่งไม่น้อยกว่า 25 เมตร 3.นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ 1.ท่าเริ่มต้น ผู้เข้ารับการทดสอบอยู่ใน ท่าเตรียมพร้อมโดยเท้านําอยู่หลังเส้นเริ่ม ย่อเข่าเล็กน้อย 2.เมื่อได้รบสัญญาณ “เริ่ม”ให้วิ่งเร็วเต็มที่จนผ่านเส้นชัย ั ระเบียบการทดสอบ ทําการทดสอบ 2 ครั้ง แต่ไม่ทดสอบติดต่อกัน การบันทึกผล 1.บันทึกผลเป็นวินาที ทศนิยม 2 ตําแหน่ง 2.บันทึกค่าเวลาการวิ่งที่ดีที่สุด
  • 9. วิ่งเก็บของ 2 จุดและวิ่งอ้อมหลัก วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว ความเร็วและความสามารถในการทรงตัว อุปกรณ์ที่ใช้ 1.กรวยหรือหลักที่มีความสูง 80 เซนติเมตร จํานวน 3 อัน 2.เทปวัดระยะทาง 3.แปรงลบกระดาน 4.นาฬิกาจับเวลา การเตรียมสถานที่ในการทดสอบ วิธีการปฏิบติั 1.การเริ่มต้นทดสอบ ณ จุดเริ่ม ผูทดสอบยืนในวงกลมหันหน้าไปทางขวามือ ้ 2.เมื่อได้รบสัญญาณ “เริ่ม”ผู้เข้ารับการทดสอบวิ่งไปหยิบแปรงลบกระดานหรือท่อนไม้ในวงกลมทางขวามือ ั แล้วนํากลับมาวางไว้ในวงกลมจุดเริ่มต้น 3.วิ่งไปหยิบแปรงลบกระดานหรือท่อนไม้ท่อยู่ในวงกลมทางซ้ายมือแล้วนํากลับมาวางไว้ในวงกลมจุดเริ่มต้น ี 4.จากนั้นให้วิ่งอ้อมหลักทั้ง 3 หลัก (ซิกแซก) ไป-กลับ จนถึงจุดสิ้นสุด ระเบียบการทดสอบ ทําการทดสอบ 2 ครั้ง แต่ไม่ทดสอบติดต่อกัน การบันทึกผล 1.บันทึกผลเป็นวินาที ทศนิยม 2 ตําแหน่ง 2.บันทึกค่าเวลาการวิ่งที่ดีที่สุด
  • 10. เอกสารอ้างอิง วัลลีย์ ภัทโรภาส สุพิตร สมาหิโต และคณะ (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ). 2553. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสําหรับเด็กไทยระดับก่อนประถมศึกษาอายุ 4 – 6 ปี. กรุงเทพฯ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2549. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทาง กายที่สัมพันธ์กับสุขภาพสําหรับเด็กไทยอายุ 7 – 18 ปี. โรงพิม พี เอส พริ้นท์. กรุงเทพฯ.