SlideShare a Scribd company logo
แนวคิดการดูแล เรื่อง พฤติกรรมการทากิจกรรมทางกาย และการออกกาลังกาย 
ร้อยตารวจเอก อภิสิทธิ์ ตามสัตย์ 
อาจารย์ (สบ ๑) 
กลุ่มงานอาจารย์ วพ.รพ.ตร
บริหารกล้ามเนื้อปากก่อนหน่อย
แนวทางตาม Module 
1.แนวคิด 
2.โปรแกรม 
3.การประเมินผล
แนวคิด 
•โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่ 
–เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ 
–สามารถประเมินความเสี่ยงได้ 
–สามารถให้การดูแลหลังเป็นโรคได้ 
–สามารถให้การดูแลหลังผ่าตัดได้
แนวคิด 
 พฤติกรรมการทากิจกรรมทางกายและการออกกาลังกาย 
– Exercise for DM 
– Exercise for CAD 
•Prevention เมื่อพบว่ามีความเสี่ยงเป็น CAD 
•Cardiac Rehabilitation หลังได้รับการรักษา 
– Exercise for Stroke 
Vascular
Program Exercise for Vascular 
•การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอโดยอาศัย Metabolic equivalent tasks (METs) 
•การออกกาลังกายแบบ TiChi 
•การเต้นเสาแบบโขน
MET หรือ standard metabolic equivalent 
•หมายถึง “หน่วย” ที่เราใช้ในการประมาณค่าของ จานวนออกซิเจนที่ถูกร่างกายนาไปใช้ในระหว่างการ ออกกาลังกายชนิดหนึ่งๆ โดยแปรผันตามการทางานหรือ การออกกาลังกายชนิดนั้นๆ และมีความสัมพันธ์กับ basal metabolic rate 
Metabolic equivalent tasks (METs)
Metabolic equivalent tasks (METs) 
•http://www.whyiexercise.com/metabolic-equivalent.html
•http://www.whyiexercise.com/metabolic-equivalent.html 
Metabolic equivalent tasks (METs)
Metabolic equivalent tasks (METs) 
•http://www.whyiexercise.com/metabolic-equivalent.html
 1 MET จะมีค่าเท่ากับ อัตราการเผาผลาญออกซิเจนที่ ต้องการใช้ในขณะพัก (basal metabolic rate) จานวน 3.5 mL ต่อน้าหนักตัวเป็น กิโลกรัมต่อหนึ่งนาที (ผ่องพรรณ อรุณแสง, 2553) หรือ 
 1 MET จะมีค่าเท่ากับ การเผาผลาญที่จะต้องใช้พลัง 1 Kilocalorie/ kilogram of body weight/ hour. 
Metabolic equivalent tasks (METs)
•ค่าของ Metabolic equivalent task ที่คานวณได้จาก พลังงานที่ถูกใช้ไปในขณะที่มีการออกแรงในลักษณะ ต่างๆ สามารถวัดได้เป็น METs/hr of activity 
Metabolic equivalent tasks (METs)
 มีผู้เสนอสูตรไว้เป็นตัวอย่าง ดังนี้ 
1. >30 METS-hours/week โดยออกแรงปานกลาง ถือว่าดีเยี่ยม 
2. 20 – 29 METs-hour/week ถือว่าดีมาก 
3. 12 – 19 METS-hour/week ถือว่าอยู่ในขั้นดี 
4. 12 METS-hour/week ถือว่าเป็นขั้นระดับต่าสุด 
Metabolic equivalent tasks (METs)
การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ 
•ในช่วง 2-3 วันแรก จะเริ่มทากิจกรรมไม่เกิน 1-2 METและต้องติดตามประเมิน HR BP และระดับความเหนื่อย ล้า เพื่อปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคล 
•โดยระหว่างทากิจกรรม HR Max ต้องไม่เพิ่มมากกว่า ร้อยละ 25 จาก HR ขณะพัก 
•BP ต้องไม่เกิน 25 mmHg จากระดับปกติ 
•และต้องไม่มีอาการเจ็บหน้าอกหรือหายใจลาบาก
ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด 
ระยะเวลา 
การออกกาลังกาย 
METs 
ก่อนผ่าตัด 
แนะนาการจัดท่านอน การพลิกตะแคง ตัว สอนการบริหารการหายใจ (deep breathing exercise) การไออย่างมี ประสิทธิภาพ (effective cough) 
0 
24 ชั่วโมงแรก 
หลังผ่าตัด 
deep breathing exercise 
กามือสลับแบมือ 
กระดกปลายเท้าขึ้นลง สลับกับกดปลาย เท้าลง 
1
ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด 
ระยะเวลา 
การออกกาลังกาย 
METs 
24 – 72 ชั่วโมง หลัง ผ่าตัด (ต่อ) 
deep breathing exercise 
effective cough 
ออกกาลังข้อมือ-ข้อเท้า 
โดยการกระดกปลายเท้าขึ้น-ลง 
การหมุนข้อเท้าเข้า-ออก 
กามือสลับแบมือ และ 
กระดกข้อมือขึ้น-ลง 
อย่างละ 5-10 ครั้ง 
1-2
ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด 
ระยะเวลา 
การออกกาลังกาย 
METs 
24 – 72 ชั่วโมง 
หลังผ่าตัด (ต่อ) 
การออกกาลังกายแขน-ขา ทาสลับซ้าย 
ในท่านอน 
เหยียดแขนตรงแล้วงอพับเข้าหาตัว ทั้ง 2 ข้าง 
เหยียดขาตรง งอเข่า ชันขึ้นแล้ววาง ลงเท้าเหยียด 
เหยียดขาตรง ยกขาสูงขึ้น 
ในท่านั่ง 
เท้าเหยียบพื้น ยกขาขึ้นเหยียดตรง แล้ววางลงในท่าเดิม 
ยกเข่าขึ้นชิดอก แล้วปล่อยลงช้าๆ กลับเข้าสูท่าเดิม ทาสลับทีละข้าง 5-10 ครั้ง 
1-2
ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด 
ระยะเวลา 
การออกกาลังกาย 
METs 
3-5 วัน หลังผ่าตัด 
การอุ่นร่างกาย โดยการออกกาลังกาย เหมือน 24-72 ชั่วโมงหลังผ่าตัด 
เริ่มเดิน 25-50 เมตร ตามระดับ ความสามารถและขีดจากัดในการออก กาลังกาย พร้อมกับการผ่อนหยุดตาม ระยะเวลา พยาบาลอาจให้ลองลองนั่ง เก้าอี้ข้างเตียงหรือให้เดินรอบเตียงโดย มีคนคอยช่วยดูแล 
2-4
ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด 
ระยะเวลา 
การออกกาลังกาย 
METs 
5-7 วัน หลังผ่าตัด 
การอุ่นร่างกาย 
การเดินโดยเพิ่มระยะจาก 25-50 เมตร (50-100 ก้าว) เป็น 50-100 เมตร ตามความสามารถและขีดจากัดของ แต่ละบุคคล 
สามารถเดินลงบันได 1 ขั้น 
4-5 
อัจฉรา เตชฤทธิพิทักษ์, 2543
การประเมิน METs 
ผู้ป่วยทาได้เอง 
พยาบาลช่วย 
ผู้ป่วยทาไม่ได้ หรือ ไม่ได้ทา 
และประเมิน ADL หลังผ่าตัด 6-8 สัปดาห์ เปรียบเทียบ กับก่อนก่อนผ่าตัดหรือหลังผ่าตัด 24-72 ชั่วโมง
Prevention
•Low-impact fitness exercise 
เพราะประกอบไปด้วยการเคลื่อนไหวแบบ slow, continuous and graceful body movements (Reid, 1988) 
•ideal mind-body 
เพราะเป็นการออกกาลังกายที่เหมาะสมกับทุกอายุ และสามารถ ทาได้ในผู้ที่มีสภาพร่างกายและภาวะสุขภาพที่แตกต่างกัน (Reid, 1988) 
•ช่วยลดความเครียด ฟื้นฟูความสามารถด้านการทรงตัวและการ เคลื่อนไหวร่างกาย (Wang et al., 2000) 
•ทาให้กล้ามเนื้อขาแข็งแรง (Lan et al., 1998) 
•ช่วยเรื่องการทรงตัวและการเคลื่อนไหวของข้อ (Ross et al., 1999) 
TAI CHI Exercise
•ช่วยเพิ่มความสามารถในการทากิจกรรมและคุณภาพชีวิตในผู้ ที่มีปัญหากระดูกอักเสบ (Hartman et al., 2000) 
•ทาให้หลอดเลือดหัวใจมีความแข็งแรง (Wang et al., 2000) 
•ช่วยลด systolic blood pressure (Shibata, 2001) 
•การออกกาลังกายแบบ Tai Chi ในระดับปานกลาง จะช่วยลด โอกาสในการหกล้มและกระดูกหัก (Wolf et al., 1996) 
•นอกจากนี้ยังช่วยในเรื่องของ cognitive, cardiovascular และmusculoskeletal systems 
TAI CHI Exercise
Tai Chi: The Chinese ancient wisdom of an ideal exercise for cardiac patients. 
Cheng (2007) 
TAI CHI Exercise
•Tai Chi เป็น ideal conditioning exercise 
•สามารถทาได้ทั้งหญิงและชาย ทาได้ทุกกลุ่มอายุ แม้ในผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วยที่มีปัญหา chronic heart failure 
Cheng (2007) 
“The perfect exercise”
Research of TAI CHI Exercise 
EFFECTS OF TAI CHI TRAINING ON IMPROVING 
PHYSICAL FUNCTION IN PATIENTS WITH 
CORONARY HEART DISEASES 
Liu, Li, & Shnider (2010)
•ทาการศึกษาในผู้ป่วย CHD จานวน 30 คน (ชาย 18 คน และหญิง 12 คน) แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมอย่าง ละ 15 คน (ชาย 9 คน และหญิง 6 คน ต่อกลุ่ม) 
•ทาการศึกษาใน 3 ระยะ คือ 
(Phase I) ตั้งแต่เข้ามารักษาในโรงพยาบาล 
(Phase II) ได้รับโปรแกรม Cardiac rehabilitation 
(Phase III) มีการวางแผนร่วมกันเมื่อกลับบ้าน หรือ การจัด โปรแกรมการออกกาลังกายในระยะยาวหลังผ่าตัดหัวใจ 
Liu, Li, & Shnider (2010)
•Tai Chi program 
•มี Tai Chi instructor เป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน cardiologist 
•ให้โปรแกรมเป็นเวลา 12 weeks และออกกาลังกายแบบ ไทชิครั้งละ 1 ชั่วโมง เป็น จานวน 2 ครั้ง ต่อ สัปดาห์ 
Liu, Li, & Shnider (2010)
•5 minutes of warm-up exercises 
•40–45 minute session of physical performance of 12-form Tai Chi exercise routine 
•5 minutes of cool-down activities 
TAI CHI Exercise
Liu, Li, & Shnider (2010)
Tai Ji Quan as an exercise 
modality to prevent and manage cardiovascular disease: A review 
Taylor-Piliae (2014) 
TAI CHI Exercise 
“Safe exercise to prevent 
and manage CVD”
การพัฒนาการออกกาลังกายแบบแอโรบิก โดยการเต้นท่าโขน: ผลต่อ Ankle Brachial Index ในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 
คะนึงนิตย์ มีสวรรค์, นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, และ นันทินี นวลนิ่ม, (2557)
•เป็นการประยุกต์ท่าเต้นเสา 
•เป็นการออกกาลังกายแบบแอโรบิกที่มีการใช้กล้ามเนื้อขามัด ใหญ่คือ 
–กล้ามเนื้องอสะโพก (iliopsoas muscles) 
–กล้ามเนื้อก้น (gluteal muscles ) 
–กล้ามเนื้อต้นขา (quadriceps muscles) 
–และกล้ามเนื้อน่อง (gastrocnemius and soleus muscles) 
การเต้นท่าโขน
•ทาให้หลอดเลือดหดรัดตัว มีปริมาณเลือดไหลกลับหัวใจเพิ่มขึ้น 
•ปริมาณเลือดไหลออกจากหัวใจใน 1 นาทีเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า 
•ขณะออกกาลังกายจะมีของเสียจากขบวนการเผาผลาญ มีความ เป็นกรด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และอุณหูมิเพิ่มสูงขึ้น ทาให้ กล้ามเนื้อเรียบในหลอดเลือดคลายตัว หลอดเลือดแดงขยายตัว 
•เกิดความเค้นเฉือน (shear stress) ต่อเยื่อบุชั้นในหลอดเลือดแดง 
•ทาให้ปริมาณเลือดไหลมาสู่หลอดเลือดแดงและกล้ามเนื้อบริเวณขา ที่ใช้ออกกาลังกายมากขึ้น (Katch, McArdle, & Katch, 2011) 
•ความดันโลหิตที่ข้อเท้าจึงสูงขึ้น ทาให้ค่า ABI เพิ่มขึ้น 
การเต้นท่าโขน
การเต้นท่าโขน 
•คานวณค่าร้อยละ 60 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด (maximum heart rate: HRmax) (Graber et.al., 2011) ตามอายุโดยใช้สูตร 
•HRmax = [220 - อายุ(ปี)] x60 ได้ 104-124 ครั้ง/นาที 
•ตั้งเครื่องกาหนด จังหวะ (metronome) ที่ 100 ครั้ง/นาที 
•วัดอัตราการเต้นหัวใจขณะพัก (resting heart rate: HRrest) 
•แล้วออกกาลังกายพร้อมกับบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจได้ ค่าอัตราการเต้นของหัวใจตามเป้าหมาย (target heart rate : THR)
•คานวณหาเปอร์เซนต์ความหนักของการออกกาลังกาย โดยใช้สูตร Karvonen formula (ACSM, 2010) 
•THR = HR rest + [% Intensity x (HR max - HR rest ) ] ได้เท่ากับร้อยละ 64.3 แสดงว่าการเต้นออกกาลังกาย 100 ครั้ง/นาที เป็นการออกกาลังกายที่มีระดับความ หนักระดับปานกลาง จึงคัดเลือกเพลงประกอบการเต้นที่ มีจังหวะเร็ว 100 ครั้ง/นาที ในช่วงออกกาลังกายเบา และที่มีจังหวะเร็ว 120-140 ครั้ง/นาที ในช่วงออกกาลัง กายหนัก 
การเต้นท่าโขน
การเต้นท่าโขน 
•ผลการวิจัยพบว่า 
–การออกกาลังกายโดยการเต้นท่าโขนเป็นวิธีที่ยอมรับได้ 
–เพราะมีความหนักระดับปานกลาง 
–ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะออกกาลังกาย 
–คะแนนเฉลี่ย ABI หลังออกกาลังกายโดยการเต้นท่าโขน นาทีที่ 3 มีค่าลดลงต่ากว่าก่อนออกกาลังกาย 
(คะนึงนิตย์ มีสวรรค์, นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, และ นันทินี นวลนิ่ม, 2557)
ตัวแปร 
at rest 
post-exercise 
t 
p 
range 
Mean 
SD 
range 
Mean 
SD 
Brachial SBP (mmHg) 
111-154 
132.5 
12.9 
112-164 
132.4 
10.0 
0.02 
0.98 
Brachial DBP (mmHg) 
66-100 
83.2 
8.4 
62-100 
81.7 
9.7 
1.05 
0.31 
Ankle SBP (mmHg) 
127-204 
153.4 
21.1 
114-167 
143.4 
15.6 
2.31 
0.03 
Ankle DBP (mmHg) 
67-108 
83.2 
11.4 
64-98 
77.3 
7.8 
2.80 
0.01 
ABI 
0.97-1.32 
1.15 
0.09 
0.84-1.17 
1.07 
0.09 
3.88 
0.001 
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความดันโลหิต และABI ก่อนและหลังออกกาลังกายแบบแอโรบิกโดย การเต้นท่าโขน นาทีที่ 3 (n=18) (คะนึงนิตย์ มีสวรรค์, นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, และ นันทินี นวลนิ่ม, 2557) 
การเต้นท่าโขน
ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมวิจัยบอกว่า ชอบ รู้สึกสนุก และมีประโยชน์ 
“ ชอบ พอรู้สึกเหนื่อยได้พัก เดินสลับตามจังหวะทาให้เต้นต่อได้อีก ” 
“ สนุกมาก จังหวะและเพลงสนุก ” 
“ จากที่ก้าวขาไม่คล่องแคล่ว เป็นก้าวเท้า และยกขาคล่องขึ้น ” และ 
“ น้าตาลลดลงได้อย่างที่ไม่เคยลดได้เท่านี้มาก่อน ” 
นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมวิจัยให้ความเห็นเพิ่มเติมว่าจะนาการออกกาลังกายไป ปฏิบัติ เพราะ 
“ เต้นตามได้ตลอดจนจบ ” “ ไม่กลัวล้ม จับได้ ” 
“ เต้นคนเดียวที่บ้านก็ได้ หรือหลายคนก็ได้ ที่ไหนว่างๆ ก็เต้นได้ ถ้ามีแผ่น วิดีโอให้เต้นตาม ” 
คะนึงนิตย์ มีสวรรค์, นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, และ นันทินี นวลนิ่ม, (2557) 
การเต้นท่าโขน
เราจะเดินหน้าอย่างไร 
ของเดิมมีอยู่แล้ว?
ไปด้วยกัน 
ภาระงานลดลง 
ผู้ป่วยและพยาบาล 
Happy 
คนเป็น CAD น้อยลง
Intervention in Module 
Cardiac rehabilitation 
Tai Chi Exercise 
Khon - Style Aerobic Exercise 
การนวดเท้า 
Exercise for CAD and DM 
การรามวยจีนแบบชี่กง
การนวดเท้าช่วยกระตุ้นการ ไหลเวียนโลหิต ส่งผลต่อการนา เลือด ออกซิเจนและอาหารไปเลี้ยง เซลได้มากขึ้น ทั้งยังกระตุ้นระบบ ประสาทอัตโนมัติและระบบ ประสาทส่วนปลาย แต่ควรงดใน ผู้ป่วย DVT และหลอดน้าเหลือง อักเสบหรืออุดตัน 
นงลักษณ์ พรหมติงการ และคณะ (2545)
การรามวยจีนแบบชี่กง (Qigong) ช่วยลดระดับน้าตาล 
ในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน 
อุไรวรรณ โพร้งพนม และคณะ (2545)
โปรแกรมฝึกสมอง 
•ทาสมาธิ โดยการกาหนดลมหายใจเข้า-ออก 
•การจดบันทึกกิจวัตรประจาวันลงในสมุดไดอารี่ 
•การฝึกจาอาชีพ โดยการดูภาพวาดรูปคนในอาชีพต่างๆ 5 ภาพ แล้วเมื่อผ่านไป 5 นาที กลับมาถามว่า “รูปคน 5 อาชีพ นั้น มีอะไรบ้าง” 
•การฝึกจาตัวเลข โดยให้ดูตัวเลขในการ์ดกระดาษ เริ่มที่ 2 ใบ ให้เวลา 1 นาที และให้พยายามจาตัวเลขไว้ จากนั้นคว่า การ์ด แล้วเปิดเฉพาะการ์ดใบแรก ถามว่าตัวเลขตัวสุดท้าย นั้นคืออะไร
Intervention in Module 
Exercise for stroke 
โปรแกรมฝึกสมอง 
โปรแกรมการบริหารร่างกายในผู้ป่วย หลอดเลือดสมอง 
แนวทางการฝึกการกลืนในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมอง
โปรแกรมฝึกสมองช่วยพัฒนา ความสามารถด้านสมาธิและความจาของ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันได้ 
ปทุมทิพย์ อดุลวัฒนศิริ, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, 
จงจิต เสน่หา, และ ยงชัย นิละนนท์ (2555)
โปรแกรมฝึกสมอง 
•ทาสมาธิ โดยการกาหนดลมหายใจเข้า-ออก 
•การจดบันทึกกิจวัตรประจาวันลงในสมุดไดอารี่ 
•การฝึกจาอาชีพ โดยการดูภาพวาดรูปคนในอาชีพต่างๆ 5 ภาพ แล้วเมื่อผ่านไป 5 นาที กลับมาถามว่า “รูปคน 5 อาชีพ นั้น มีอะไรบ้าง” 
•การฝึกจาตัวเลข โดยให้ดูตัวเลขในการ์ดกระดาษ เริ่มที่ 2 ใบ ให้เวลา 1 นาที และให้พยายามจาตัวเลขไว้ จากนั้นคว่า การ์ด แล้วเปิดเฉพาะการ์ดใบแรก ถามว่าตัวเลขตัวสุดท้าย นั้นคืออะไร
โปรแกรมฝึกสมอง 
•การฝึกจดจาสิ่งของ โดยให้ดูภาพวาดในกระดาษและ จดจาภาพและตาแหน่งของสิ่งของ 
•การฝึกจัดหมวดหมู่โดยให้ดูภาพวาดรูปสัตว์ สิ่งของ และ จัดหมวดหมู่ตามโจทย์ที่กาหนดให้ ส่วนการจัดเรียง ตัวเลข ให้ดูตัวเลข 1-22 ที่จัดแบบไม่เรียงลาดับไว้ใน ตารางสี่เหลี่ยมแล้วกากบาทตัวเลขทีละตัวตามลาดับ 
•การฝึกสรุปเรื่องสั้น โดยให้อ่านเรื่องสั้นความยาว 4-5 บรรทัด และสรุปใจความสาคัญของเรื่อง
โปรแกรมฝึกสมอง 
•ทาสมาธิก่อนเริ่มกิจกรรมทุกครั้งโดยใช้เวลา 5-10 นาที 
•แต่ละกิจกรรมใช้เวลา 15-20 นาที 
•แต่ละกิจกรรมให้ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทาซ้าจนกว่าจะ ผ่าน และกระตุ้นอย่างต่อเนื่องโดยการให้กาลังใจ 
ปทุมทิพย์ อดุลวัฒนศิริ, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, จงจิต เสน่หา, และ ยงชัย นิละนนท์ (2555)
โปรแกรมการบริหารร่างกาย ในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง 
บังอร ตั้งวิโรจน์ธรรม, สุปรียา ตันสกุล, สุรีย์ จันทรโมลี, จารุวรรณ เหมะธร, สุวัฒน์ ศรีสุวรรณานุกร (2545)
โปรแกรมการบริหารร่างกายในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง 
1.ก้มเงยศีรษะ เอียง ซ้าย-ขวา 
2.หันหน้าไปทางด้าน ซ้าย-ขวา 
3.ยกไหล่ขึ้น-ลง หมุนไหล่เป็นวงกลม 
4.ประสานนิ้วหันผ่ามือออกด้านนอก และเหยียดแขนไป ข้างหน้า จนรู้สึกแขนและหลังตึง 
5.กระดกปลายนิ้วเท้าขึ้นลง หมุนเป็นวงกลม 
6.ย้าเท้าอยู่กับที่
แนวทางปฏิบัติในการให้บริการทางกิจกรรมบาบัด สาหรับผู้ที่มีภาวะกลืนลาบากจากโรคหลอดเลือดสมอง (Occupational therapy for post stroke dysphagia: a clinical guideline) 
งานกิจกรรมบาบัด 
กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู กลุ่มภารกิจวิชาการ 
ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ (2554)
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหัวใจ 2553
แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหัวใจ 2553แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหัวใจ 2553
แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหัวใจ 2553
Utai Sukviwatsirikul
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
New AcademicCenter
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
Utai Sukviwatsirikul
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
Rachanont Hiranwong
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
Utai Sukviwatsirikul
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Sureerut Physiotherapist
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
Chakkrawut Mueangkhon
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
Sirinoot Jantharangkul
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
Utai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 

What's hot (20)

การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
 
แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหัวใจ 2553
แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหัวใจ 2553แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหัวใจ 2553
แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคหัวใจ 2553
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 

Viewers also liked

Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Aphisit Aunbusdumberdor
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
Aphisit Aunbusdumberdor
 
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Overview NQA
Overview NQAOverview NQA
Overview NQA
Chutikarn Haruthai
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
dadaauto
 
Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูง
secret_123
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
Muay Muay Somruthai
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (18)

Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
 
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
Overview NQA
Overview NQAOverview NQA
Overview NQA
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
 
Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูง
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 

Similar to Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke

2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt
2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt
2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt
ThanakornThanawat
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพpenpun
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
CAPD AngThong
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAgingThunyaluck
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAging
Thunyaluck
 
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความPoony Sumranpat
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1sonsukda
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายNun อันทวีสิน
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายNun อันทวีสิน
 
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29Ming Gub Yang
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
pravina Chayopan
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
เอิท. เอิท
 
เอกสารประกอบ ใบความรู้
เอกสารประกอบ  ใบความรู้เอกสารประกอบ  ใบความรู้
เอกสารประกอบ ใบความรู้Natee Kongprapan
 
Act2
Act2Act2
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)Sureerut Physiotherapist
 
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)sarawu5
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18kkkkon
 
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
Junee Sara
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 

Similar to Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke (20)

2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt
2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt
2. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัด 2021.ppt
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAging
 
ออกกำลังAging
ออกกำลังAgingออกกำลังAging
ออกกำลังAging
 
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
ยินดีต้อนรับสู่ศูนย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาความ
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
 
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
เอกสารประกอบ ใบความรู้
เอกสารประกอบ  ใบความรู้เอกสารประกอบ  ใบความรู้
เอกสารประกอบ ใบความรู้
 
Act2
Act2Act2
Act2
 
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน(รพ.ทัพทัน)
 
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
 
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
KM Sharing ประจำเดือนธันวาคม เรื่อง "โภชนาการที่ดี ชีวีมีสุข"
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 

More from Aphisit Aunbusdumberdor

โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
Aphisit Aunbusdumberdor
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Aphisit Aunbusdumberdor
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
Aphisit Aunbusdumberdor
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
Aphisit Aunbusdumberdor
 

More from Aphisit Aunbusdumberdor (6)

โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 

Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke

  • 1. แนวคิดการดูแล เรื่อง พฤติกรรมการทากิจกรรมทางกาย และการออกกาลังกาย ร้อยตารวจเอก อภิสิทธิ์ ตามสัตย์ อาจารย์ (สบ ๑) กลุ่มงานอาจารย์ วพ.รพ.ตร
  • 3. แนวทางตาม Module 1.แนวคิด 2.โปรแกรม 3.การประเมินผล
  • 4. แนวคิด •โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่ –เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ –สามารถประเมินความเสี่ยงได้ –สามารถให้การดูแลหลังเป็นโรคได้ –สามารถให้การดูแลหลังผ่าตัดได้
  • 5. แนวคิด  พฤติกรรมการทากิจกรรมทางกายและการออกกาลังกาย – Exercise for DM – Exercise for CAD •Prevention เมื่อพบว่ามีความเสี่ยงเป็น CAD •Cardiac Rehabilitation หลังได้รับการรักษา – Exercise for Stroke Vascular
  • 6. Program Exercise for Vascular •การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอโดยอาศัย Metabolic equivalent tasks (METs) •การออกกาลังกายแบบ TiChi •การเต้นเสาแบบโขน
  • 7. MET หรือ standard metabolic equivalent •หมายถึง “หน่วย” ที่เราใช้ในการประมาณค่าของ จานวนออกซิเจนที่ถูกร่างกายนาไปใช้ในระหว่างการ ออกกาลังกายชนิดหนึ่งๆ โดยแปรผันตามการทางานหรือ การออกกาลังกายชนิดนั้นๆ และมีความสัมพันธ์กับ basal metabolic rate Metabolic equivalent tasks (METs)
  • 8. Metabolic equivalent tasks (METs) •http://www.whyiexercise.com/metabolic-equivalent.html
  • 10. Metabolic equivalent tasks (METs) •http://www.whyiexercise.com/metabolic-equivalent.html
  • 11.  1 MET จะมีค่าเท่ากับ อัตราการเผาผลาญออกซิเจนที่ ต้องการใช้ในขณะพัก (basal metabolic rate) จานวน 3.5 mL ต่อน้าหนักตัวเป็น กิโลกรัมต่อหนึ่งนาที (ผ่องพรรณ อรุณแสง, 2553) หรือ  1 MET จะมีค่าเท่ากับ การเผาผลาญที่จะต้องใช้พลัง 1 Kilocalorie/ kilogram of body weight/ hour. Metabolic equivalent tasks (METs)
  • 12. •ค่าของ Metabolic equivalent task ที่คานวณได้จาก พลังงานที่ถูกใช้ไปในขณะที่มีการออกแรงในลักษณะ ต่างๆ สามารถวัดได้เป็น METs/hr of activity Metabolic equivalent tasks (METs)
  • 13.  มีผู้เสนอสูตรไว้เป็นตัวอย่าง ดังนี้ 1. >30 METS-hours/week โดยออกแรงปานกลาง ถือว่าดีเยี่ยม 2. 20 – 29 METs-hour/week ถือว่าดีมาก 3. 12 – 19 METS-hour/week ถือว่าอยู่ในขั้นดี 4. 12 METS-hour/week ถือว่าเป็นขั้นระดับต่าสุด Metabolic equivalent tasks (METs)
  • 14. การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ •ในช่วง 2-3 วันแรก จะเริ่มทากิจกรรมไม่เกิน 1-2 METและต้องติดตามประเมิน HR BP และระดับความเหนื่อย ล้า เพื่อปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคล •โดยระหว่างทากิจกรรม HR Max ต้องไม่เพิ่มมากกว่า ร้อยละ 25 จาก HR ขณะพัก •BP ต้องไม่เกิน 25 mmHg จากระดับปกติ •และต้องไม่มีอาการเจ็บหน้าอกหรือหายใจลาบาก
  • 15. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด ระยะเวลา การออกกาลังกาย METs ก่อนผ่าตัด แนะนาการจัดท่านอน การพลิกตะแคง ตัว สอนการบริหารการหายใจ (deep breathing exercise) การไออย่างมี ประสิทธิภาพ (effective cough) 0 24 ชั่วโมงแรก หลังผ่าตัด deep breathing exercise กามือสลับแบมือ กระดกปลายเท้าขึ้นลง สลับกับกดปลาย เท้าลง 1
  • 16. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด ระยะเวลา การออกกาลังกาย METs 24 – 72 ชั่วโมง หลัง ผ่าตัด (ต่อ) deep breathing exercise effective cough ออกกาลังข้อมือ-ข้อเท้า โดยการกระดกปลายเท้าขึ้น-ลง การหมุนข้อเท้าเข้า-ออก กามือสลับแบมือ และ กระดกข้อมือขึ้น-ลง อย่างละ 5-10 ครั้ง 1-2
  • 17. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด ระยะเวลา การออกกาลังกาย METs 24 – 72 ชั่วโมง หลังผ่าตัด (ต่อ) การออกกาลังกายแขน-ขา ทาสลับซ้าย ในท่านอน เหยียดแขนตรงแล้วงอพับเข้าหาตัว ทั้ง 2 ข้าง เหยียดขาตรง งอเข่า ชันขึ้นแล้ววาง ลงเท้าเหยียด เหยียดขาตรง ยกขาสูงขึ้น ในท่านั่ง เท้าเหยียบพื้น ยกขาขึ้นเหยียดตรง แล้ววางลงในท่าเดิม ยกเข่าขึ้นชิดอก แล้วปล่อยลงช้าๆ กลับเข้าสูท่าเดิม ทาสลับทีละข้าง 5-10 ครั้ง 1-2
  • 18. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด ระยะเวลา การออกกาลังกาย METs 3-5 วัน หลังผ่าตัด การอุ่นร่างกาย โดยการออกกาลังกาย เหมือน 24-72 ชั่วโมงหลังผ่าตัด เริ่มเดิน 25-50 เมตร ตามระดับ ความสามารถและขีดจากัดในการออก กาลังกาย พร้อมกับการผ่อนหยุดตาม ระยะเวลา พยาบาลอาจให้ลองลองนั่ง เก้าอี้ข้างเตียงหรือให้เดินรอบเตียงโดย มีคนคอยช่วยดูแล 2-4
  • 19. ตัวอย่างการจัดกิจกรรมหลังผ่าตัด ระยะเวลา การออกกาลังกาย METs 5-7 วัน หลังผ่าตัด การอุ่นร่างกาย การเดินโดยเพิ่มระยะจาก 25-50 เมตร (50-100 ก้าว) เป็น 50-100 เมตร ตามความสามารถและขีดจากัดของ แต่ละบุคคล สามารถเดินลงบันได 1 ขั้น 4-5 อัจฉรา เตชฤทธิพิทักษ์, 2543
  • 20. การประเมิน METs ผู้ป่วยทาได้เอง พยาบาลช่วย ผู้ป่วยทาไม่ได้ หรือ ไม่ได้ทา และประเมิน ADL หลังผ่าตัด 6-8 สัปดาห์ เปรียบเทียบ กับก่อนก่อนผ่าตัดหรือหลังผ่าตัด 24-72 ชั่วโมง
  • 22. •Low-impact fitness exercise เพราะประกอบไปด้วยการเคลื่อนไหวแบบ slow, continuous and graceful body movements (Reid, 1988) •ideal mind-body เพราะเป็นการออกกาลังกายที่เหมาะสมกับทุกอายุ และสามารถ ทาได้ในผู้ที่มีสภาพร่างกายและภาวะสุขภาพที่แตกต่างกัน (Reid, 1988) •ช่วยลดความเครียด ฟื้นฟูความสามารถด้านการทรงตัวและการ เคลื่อนไหวร่างกาย (Wang et al., 2000) •ทาให้กล้ามเนื้อขาแข็งแรง (Lan et al., 1998) •ช่วยเรื่องการทรงตัวและการเคลื่อนไหวของข้อ (Ross et al., 1999) TAI CHI Exercise
  • 23. •ช่วยเพิ่มความสามารถในการทากิจกรรมและคุณภาพชีวิตในผู้ ที่มีปัญหากระดูกอักเสบ (Hartman et al., 2000) •ทาให้หลอดเลือดหัวใจมีความแข็งแรง (Wang et al., 2000) •ช่วยลด systolic blood pressure (Shibata, 2001) •การออกกาลังกายแบบ Tai Chi ในระดับปานกลาง จะช่วยลด โอกาสในการหกล้มและกระดูกหัก (Wolf et al., 1996) •นอกจากนี้ยังช่วยในเรื่องของ cognitive, cardiovascular และmusculoskeletal systems TAI CHI Exercise
  • 24. Tai Chi: The Chinese ancient wisdom of an ideal exercise for cardiac patients. Cheng (2007) TAI CHI Exercise
  • 25. •Tai Chi เป็น ideal conditioning exercise •สามารถทาได้ทั้งหญิงและชาย ทาได้ทุกกลุ่มอายุ แม้ในผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วยที่มีปัญหา chronic heart failure Cheng (2007) “The perfect exercise”
  • 26. Research of TAI CHI Exercise EFFECTS OF TAI CHI TRAINING ON IMPROVING PHYSICAL FUNCTION IN PATIENTS WITH CORONARY HEART DISEASES Liu, Li, & Shnider (2010)
  • 27. •ทาการศึกษาในผู้ป่วย CHD จานวน 30 คน (ชาย 18 คน และหญิง 12 คน) แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมอย่าง ละ 15 คน (ชาย 9 คน และหญิง 6 คน ต่อกลุ่ม) •ทาการศึกษาใน 3 ระยะ คือ (Phase I) ตั้งแต่เข้ามารักษาในโรงพยาบาล (Phase II) ได้รับโปรแกรม Cardiac rehabilitation (Phase III) มีการวางแผนร่วมกันเมื่อกลับบ้าน หรือ การจัด โปรแกรมการออกกาลังกายในระยะยาวหลังผ่าตัดหัวใจ Liu, Li, & Shnider (2010)
  • 28. •Tai Chi program •มี Tai Chi instructor เป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน cardiologist •ให้โปรแกรมเป็นเวลา 12 weeks และออกกาลังกายแบบ ไทชิครั้งละ 1 ชั่วโมง เป็น จานวน 2 ครั้ง ต่อ สัปดาห์ Liu, Li, & Shnider (2010)
  • 29. •5 minutes of warm-up exercises •40–45 minute session of physical performance of 12-form Tai Chi exercise routine •5 minutes of cool-down activities TAI CHI Exercise
  • 30. Liu, Li, & Shnider (2010)
  • 31. Tai Ji Quan as an exercise modality to prevent and manage cardiovascular disease: A review Taylor-Piliae (2014) TAI CHI Exercise “Safe exercise to prevent and manage CVD”
  • 32. การพัฒนาการออกกาลังกายแบบแอโรบิก โดยการเต้นท่าโขน: ผลต่อ Ankle Brachial Index ในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 คะนึงนิตย์ มีสวรรค์, นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, และ นันทินี นวลนิ่ม, (2557)
  • 33. •เป็นการประยุกต์ท่าเต้นเสา •เป็นการออกกาลังกายแบบแอโรบิกที่มีการใช้กล้ามเนื้อขามัด ใหญ่คือ –กล้ามเนื้องอสะโพก (iliopsoas muscles) –กล้ามเนื้อก้น (gluteal muscles ) –กล้ามเนื้อต้นขา (quadriceps muscles) –และกล้ามเนื้อน่อง (gastrocnemius and soleus muscles) การเต้นท่าโขน
  • 34. •ทาให้หลอดเลือดหดรัดตัว มีปริมาณเลือดไหลกลับหัวใจเพิ่มขึ้น •ปริมาณเลือดไหลออกจากหัวใจใน 1 นาทีเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า •ขณะออกกาลังกายจะมีของเสียจากขบวนการเผาผลาญ มีความ เป็นกรด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และอุณหูมิเพิ่มสูงขึ้น ทาให้ กล้ามเนื้อเรียบในหลอดเลือดคลายตัว หลอดเลือดแดงขยายตัว •เกิดความเค้นเฉือน (shear stress) ต่อเยื่อบุชั้นในหลอดเลือดแดง •ทาให้ปริมาณเลือดไหลมาสู่หลอดเลือดแดงและกล้ามเนื้อบริเวณขา ที่ใช้ออกกาลังกายมากขึ้น (Katch, McArdle, & Katch, 2011) •ความดันโลหิตที่ข้อเท้าจึงสูงขึ้น ทาให้ค่า ABI เพิ่มขึ้น การเต้นท่าโขน
  • 35. การเต้นท่าโขน •คานวณค่าร้อยละ 60 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด (maximum heart rate: HRmax) (Graber et.al., 2011) ตามอายุโดยใช้สูตร •HRmax = [220 - อายุ(ปี)] x60 ได้ 104-124 ครั้ง/นาที •ตั้งเครื่องกาหนด จังหวะ (metronome) ที่ 100 ครั้ง/นาที •วัดอัตราการเต้นหัวใจขณะพัก (resting heart rate: HRrest) •แล้วออกกาลังกายพร้อมกับบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจได้ ค่าอัตราการเต้นของหัวใจตามเป้าหมาย (target heart rate : THR)
  • 36. •คานวณหาเปอร์เซนต์ความหนักของการออกกาลังกาย โดยใช้สูตร Karvonen formula (ACSM, 2010) •THR = HR rest + [% Intensity x (HR max - HR rest ) ] ได้เท่ากับร้อยละ 64.3 แสดงว่าการเต้นออกกาลังกาย 100 ครั้ง/นาที เป็นการออกกาลังกายที่มีระดับความ หนักระดับปานกลาง จึงคัดเลือกเพลงประกอบการเต้นที่ มีจังหวะเร็ว 100 ครั้ง/นาที ในช่วงออกกาลังกายเบา และที่มีจังหวะเร็ว 120-140 ครั้ง/นาที ในช่วงออกกาลัง กายหนัก การเต้นท่าโขน
  • 37. การเต้นท่าโขน •ผลการวิจัยพบว่า –การออกกาลังกายโดยการเต้นท่าโขนเป็นวิธีที่ยอมรับได้ –เพราะมีความหนักระดับปานกลาง –ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะออกกาลังกาย –คะแนนเฉลี่ย ABI หลังออกกาลังกายโดยการเต้นท่าโขน นาทีที่ 3 มีค่าลดลงต่ากว่าก่อนออกกาลังกาย (คะนึงนิตย์ มีสวรรค์, นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, และ นันทินี นวลนิ่ม, 2557)
  • 38. ตัวแปร at rest post-exercise t p range Mean SD range Mean SD Brachial SBP (mmHg) 111-154 132.5 12.9 112-164 132.4 10.0 0.02 0.98 Brachial DBP (mmHg) 66-100 83.2 8.4 62-100 81.7 9.7 1.05 0.31 Ankle SBP (mmHg) 127-204 153.4 21.1 114-167 143.4 15.6 2.31 0.03 Ankle DBP (mmHg) 67-108 83.2 11.4 64-98 77.3 7.8 2.80 0.01 ABI 0.97-1.32 1.15 0.09 0.84-1.17 1.07 0.09 3.88 0.001 ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความดันโลหิต และABI ก่อนและหลังออกกาลังกายแบบแอโรบิกโดย การเต้นท่าโขน นาทีที่ 3 (n=18) (คะนึงนิตย์ มีสวรรค์, นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, และ นันทินี นวลนิ่ม, 2557) การเต้นท่าโขน
  • 39. ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมวิจัยบอกว่า ชอบ รู้สึกสนุก และมีประโยชน์ “ ชอบ พอรู้สึกเหนื่อยได้พัก เดินสลับตามจังหวะทาให้เต้นต่อได้อีก ” “ สนุกมาก จังหวะและเพลงสนุก ” “ จากที่ก้าวขาไม่คล่องแคล่ว เป็นก้าวเท้า และยกขาคล่องขึ้น ” และ “ น้าตาลลดลงได้อย่างที่ไม่เคยลดได้เท่านี้มาก่อน ” นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมวิจัยให้ความเห็นเพิ่มเติมว่าจะนาการออกกาลังกายไป ปฏิบัติ เพราะ “ เต้นตามได้ตลอดจนจบ ” “ ไม่กลัวล้ม จับได้ ” “ เต้นคนเดียวที่บ้านก็ได้ หรือหลายคนก็ได้ ที่ไหนว่างๆ ก็เต้นได้ ถ้ามีแผ่น วิดีโอให้เต้นตาม ” คะนึงนิตย์ มีสวรรค์, นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, และ นันทินี นวลนิ่ม, (2557) การเต้นท่าโขน
  • 42.
  • 43. Intervention in Module Cardiac rehabilitation Tai Chi Exercise Khon - Style Aerobic Exercise การนวดเท้า Exercise for CAD and DM การรามวยจีนแบบชี่กง
  • 44. การนวดเท้าช่วยกระตุ้นการ ไหลเวียนโลหิต ส่งผลต่อการนา เลือด ออกซิเจนและอาหารไปเลี้ยง เซลได้มากขึ้น ทั้งยังกระตุ้นระบบ ประสาทอัตโนมัติและระบบ ประสาทส่วนปลาย แต่ควรงดใน ผู้ป่วย DVT และหลอดน้าเหลือง อักเสบหรืออุดตัน นงลักษณ์ พรหมติงการ และคณะ (2545)
  • 45. การรามวยจีนแบบชี่กง (Qigong) ช่วยลดระดับน้าตาล ในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน อุไรวรรณ โพร้งพนม และคณะ (2545)
  • 46. โปรแกรมฝึกสมอง •ทาสมาธิ โดยการกาหนดลมหายใจเข้า-ออก •การจดบันทึกกิจวัตรประจาวันลงในสมุดไดอารี่ •การฝึกจาอาชีพ โดยการดูภาพวาดรูปคนในอาชีพต่างๆ 5 ภาพ แล้วเมื่อผ่านไป 5 นาที กลับมาถามว่า “รูปคน 5 อาชีพ นั้น มีอะไรบ้าง” •การฝึกจาตัวเลข โดยให้ดูตัวเลขในการ์ดกระดาษ เริ่มที่ 2 ใบ ให้เวลา 1 นาที และให้พยายามจาตัวเลขไว้ จากนั้นคว่า การ์ด แล้วเปิดเฉพาะการ์ดใบแรก ถามว่าตัวเลขตัวสุดท้าย นั้นคืออะไร
  • 47. Intervention in Module Exercise for stroke โปรแกรมฝึกสมอง โปรแกรมการบริหารร่างกายในผู้ป่วย หลอดเลือดสมอง แนวทางการฝึกการกลืนในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมอง
  • 48. โปรแกรมฝึกสมองช่วยพัฒนา ความสามารถด้านสมาธิและความจาของ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันได้ ปทุมทิพย์ อดุลวัฒนศิริ, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, จงจิต เสน่หา, และ ยงชัย นิละนนท์ (2555)
  • 49. โปรแกรมฝึกสมอง •ทาสมาธิ โดยการกาหนดลมหายใจเข้า-ออก •การจดบันทึกกิจวัตรประจาวันลงในสมุดไดอารี่ •การฝึกจาอาชีพ โดยการดูภาพวาดรูปคนในอาชีพต่างๆ 5 ภาพ แล้วเมื่อผ่านไป 5 นาที กลับมาถามว่า “รูปคน 5 อาชีพ นั้น มีอะไรบ้าง” •การฝึกจาตัวเลข โดยให้ดูตัวเลขในการ์ดกระดาษ เริ่มที่ 2 ใบ ให้เวลา 1 นาที และให้พยายามจาตัวเลขไว้ จากนั้นคว่า การ์ด แล้วเปิดเฉพาะการ์ดใบแรก ถามว่าตัวเลขตัวสุดท้าย นั้นคืออะไร
  • 50. โปรแกรมฝึกสมอง •การฝึกจดจาสิ่งของ โดยให้ดูภาพวาดในกระดาษและ จดจาภาพและตาแหน่งของสิ่งของ •การฝึกจัดหมวดหมู่โดยให้ดูภาพวาดรูปสัตว์ สิ่งของ และ จัดหมวดหมู่ตามโจทย์ที่กาหนดให้ ส่วนการจัดเรียง ตัวเลข ให้ดูตัวเลข 1-22 ที่จัดแบบไม่เรียงลาดับไว้ใน ตารางสี่เหลี่ยมแล้วกากบาทตัวเลขทีละตัวตามลาดับ •การฝึกสรุปเรื่องสั้น โดยให้อ่านเรื่องสั้นความยาว 4-5 บรรทัด และสรุปใจความสาคัญของเรื่อง
  • 51. โปรแกรมฝึกสมอง •ทาสมาธิก่อนเริ่มกิจกรรมทุกครั้งโดยใช้เวลา 5-10 นาที •แต่ละกิจกรรมใช้เวลา 15-20 นาที •แต่ละกิจกรรมให้ทาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทาซ้าจนกว่าจะ ผ่าน และกระตุ้นอย่างต่อเนื่องโดยการให้กาลังใจ ปทุมทิพย์ อดุลวัฒนศิริ, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, จงจิต เสน่หา, และ ยงชัย นิละนนท์ (2555)
  • 52. โปรแกรมการบริหารร่างกาย ในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง บังอร ตั้งวิโรจน์ธรรม, สุปรียา ตันสกุล, สุรีย์ จันทรโมลี, จารุวรรณ เหมะธร, สุวัฒน์ ศรีสุวรรณานุกร (2545)
  • 53. โปรแกรมการบริหารร่างกายในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง 1.ก้มเงยศีรษะ เอียง ซ้าย-ขวา 2.หันหน้าไปทางด้าน ซ้าย-ขวา 3.ยกไหล่ขึ้น-ลง หมุนไหล่เป็นวงกลม 4.ประสานนิ้วหันผ่ามือออกด้านนอก และเหยียดแขนไป ข้างหน้า จนรู้สึกแขนและหลังตึง 5.กระดกปลายนิ้วเท้าขึ้นลง หมุนเป็นวงกลม 6.ย้าเท้าอยู่กับที่
  • 54. แนวทางปฏิบัติในการให้บริการทางกิจกรรมบาบัด สาหรับผู้ที่มีภาวะกลืนลาบากจากโรคหลอดเลือดสมอง (Occupational therapy for post stroke dysphagia: a clinical guideline) งานกิจกรรมบาบัด กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู กลุ่มภารกิจวิชาการ ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ (2554)
  • 55.