SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
LOGO
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง
การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
พ.ญ. นัยนา ณีศะนันท์
หน่วยกุมารเวชศาสตร์สังคม
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
วัตถุประสงค์
1. Lead effects on health overview
2. Blood lead screening and surveillance
บทนา
 สารพิษจากตะกั่วเป็นปัญหาทางสิ่งแวดล้อมที่พบบ่อยที่สุดในเด็กทั่ว
โลก
 อดีต: ตะกั่วเป็นสารที่พบได้ทั่วไปในธรรมชาติโดยปนเปื้อนอยู่ตาม
พื้นดินในปริมาณเล็กน้อย
 ปัจจุบัน: สังคมอุตสาหกรรมที่เติบโตอย่างรวดเร็วและสิ่งแวดล้อมใน
สังคมเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้ปริมาณของสารตะกั่วใน
สิ่งแวดล้อมเพิ่มแบบทวีคูณ คือ 300 เท่าของตะกั่วที่พบตาม
ธรรมชาติ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนา
เส้นทางตะกั่วที่เข้าสู่ร่างกาย
สารตะกั่ว
เข้าสู่
ร่างกาย
ดูดซึม
ผ่าน
ทางการ
หายใจ
ทางเดิน
อาหาร
สารตะกั่วบางส่วน
สามารถถูกกาจัดออกได้
ทางปัสสาวะ และตับ
ส่วนที่เหลือสะสมใน...ร่างกาย
เลือด กระดูก ฟัน และอวัยวะ
ต่างๆ เช่น ไต สมอง ปอด ตับ
ผ่าน
ทางรก
จากแม่
สู่ลูก
สารตะกั่วสะสม
ตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์
 เด็กมีพฤติกรรมซน ชอบเอาของเล่นหรือเอามือเข้าปาก ทา
ให้มีโอกาสได้รับ สารตะกั่วที่ปนเปื้อนมากับฝุ่น หรือจากสีที่
ใช้ทาของเล่น
 เด็กที่ขาดสารอาหาร เช่น ธาตุเหล็ก วิตามินซี จะดูดซึมตะกั่ว
ได้มากกว่าปกติ โดยเฉพาะตอนท้องว่าง
ทาไมเด็กมีความเสี่ยงต่อการรับพิษตะกั่วมากกว่าผู้ใหญ่
(Alexander et al. 1974; Chamberlain et al. 1978; James et al. 1985; Ziegler et al.1978 as cited in ATSDR 1999)
(Mahaffey et al. 1990 as cited in AAP 1993)
ทาไมเด็กมีความเสี่ยงต่อการรับพิษตะกั่วมากกว่าผู้ใหญ่
 การดูดซึมสารตะกั่วที่ปนเปื้อนมากับอาหารและน้าจาก
ทางเดินอาหาร พบว่า ทารกและเด็กเล็กสามารถดูดซึมสาร
ตะกั่วได้มากกว่าผู้ใหญ่ 5-10 เท่า
 ตะกั่วที่อยู่ในร่างกายเด็กมีสัดส่วนการกระจายอยู่ในเนื้อเยื่อ
มากกว่าผู้ใหญ่
(Alexander et al. 1974; Chamberlain et al. 1978; James et al. 1985; Ziegler et al.1978 as cited in ATSDR 1999)
(Mahaffey et al. 1990 as cited in AAP 1993)
 Children have a higher breathing rate than
adults, breathing in a greater volume of air per
pound.
 Being shorter than adults are, children are more
likely to breathe lead-contaminated dust and soil
as well as fumes close to the ground.
children are more affected by exposure to lead
than are adults.
พิษของสารตะกั่วกับสุขภาพ
 พิษสารตะกั่ว
ส่งผลต่อสุขภาพ
ทุกระบบ
 ไม่มีค่าระดับตะกั่ว
ที่ปลอดภัยสาหรับ
มนุษย์
Pediatric effects of lead at various BLL
Loss of IQ point
Loss of IQ point
เด็กจะสูญเสีย IQ 1.5 จุดทุกๆการเพิ่มขึ้นของระดับตะกั่ว
ในเลือด 5 มคก/ดล.
การรักษาอาจจะช่วยชีวิตเด็กได้แต่ไม่สามารถช่วยให้
ต้นทุนสติปัญญาของเด็กกลับมาเป็นปกติได้ดังเดิม
Loss of IQ point
ผลการสารวจพัฒนาการเด็กไทย
0
10
20
30
40
50
60
70
80
28.3 28
32.3
29.7
71.7 72
67.7
70.3
2542 2547 2550 2553
: 2555
IQ เด็กนักเรียนไทย พ.ศ.2554
LOGO Diagnosis
แบบที่ 1 ไม่แสดงอาการใดๆ ให้เห็นจากภายนอก
 เด็กได้รับสารตะกั่วปริมาณต่าๆ ติดต่อกันนานๆ จะทาให้
สะสมในร่างกาย เกิดเป็นโรคพิษตะกั่วแบบเรื้อรัง
(chronic poisoning)
 อาการไม่ชัดเจน เช่น เลี้ยงไม่โต ซีด พัฒนาการช้า เมื่อ
เทียบกับเด็กในวัยเดียวกัน ไม่ประสบผลสัมฤทธิ์ผลในการ
เรียน
 เด็กที่ได้รับพิษจากสารตะกั่วไม่จาเป็นต้องดูเหมือนเด็กป่วย
แบบที่ 2 เด็กจะแสดงอาการอย่างชัดเจน
• กรณีที่ได้รับสารตะกั่วในปริมาณสูงๆ อย่างทันทีทันใด
เกิดเป็นโรคพิษตะกั่วแบบฉับพลัน (acute poisoning)
• มีอาการปวดท้องมาก ซึม ชัก โคม่า และตายได้
การวินิจฉัยการสัมผัสสารตะกั่ว
Blood lead level
>10 mcg/dl.
Who are at risk.
 Both children and adults are susceptible to
health effects from lead exposure, although
the typical exposure pathways and effects are
somewhat different.
LOGO ปกป้องเด็กและครอบครัว
ห่างไกลพิษตะกั่ว
เริ่มด้วยการค้นหาเด็กกลุ่มเสี่ยง
บทเรียนจาก USA
บทเรียนจากประเทศไทย
Thailand: (before removal of lead from gasoline)
สายสะดือ มคก./ดล.
เหลือพร ปุณณกันต์ (2529) ศิริราช 82 ราย 18.5 + 6
เด็ก 6-12 ปี
เหลือพร ปุณณกันต์ (2532-2533)
- กรุงเทพมหานคร 214 ราย
22.0 + 7.5
- กาญจนบุรี 132 ราย 16.2 + 6.8
อรพรรณ เมธาดิลกกุล(2534)
- กรุงเทพมหานคร
18.8 + 6.2
- ต่างจังหวัด 14.0 + 3.9
THAILAND: AFTER REMOVAL OF
LEAD FROM GASOLINE
พ.ศ. ผู้วิจัย ประชากร อายุ ผลการศึกษา
2536-2539 สุวรรณา N=511
คน
2 ปี Mean BLL 4.97+3.04 มคก./ดล.
2538-
2540
N=1000 6 เดือน- 6ปี มีระดับตะกั่วสูงเกินเกณฑ์ ร้อยละ 4.4
Mean BLL 4.97+3.17
2548 จุฬธิดา และคณะ N=296
กทม /
กาญจนบุรี
6 เดือน- 4ปี มีระดับตะกั่วสูงเกินเกณฑ์ ร้อยละ 8
Mean BLL 5.65+3.65
2553 สถาบันสุขภาพ
เด็กฯ และสานัก
โรคจากการ
ประกอบอาชีพฯ
N=220
อ.อุ้มผาง
จ.ตาก
3-7 ปี มีระดับตะกั่วสูงเกินเกณฑ์ ร้อยละ 26
Mean BLL 7.7+ 4.6
2554 สถาบันสุขภาพ
เด็กฯ และสานัก
โรคจากการ
ประกอบอาชีพฯ
N=225
อ.อุ้มผาง
จ.ตาก
1-8 ปี มีระดับตะกั่วสูงเกินเกณฑ์ ร้อยละ 63
Mean BLL 15.19+11.27µg/dl
2554 ธรรมศาสตร์ N=907
4อาเภอ จ.
ระยอง
เด็กประถม มีระดับตะกั่วสูงเกินเกณฑ์ ร้อยละ 9
2555 รพ.อุ้มผาง รพ.
แม่สอด และสสจ.
N=70
อ.อุ้มผาง
น้อยกว่า5ปี มีระดับตะกั่วสูงเกินเกณฑ์ ร้อยละ 44
ตัวอย่างทั้งหมด
ปีงบประมาณ จังหวัดที่ส่งตรวจ (คน) (คน) ร้อยละ
2555 สมุทรปราการ 175 103 58.9
ฉะเชิงเทรา 194 65 33.5
369 168 45.5
2554 สมุทรปราการ 158 89 56.3
ฉะเชิงเทรา 365 153 41.9
นนทบุรี 65 59 90.8
ปทุมธานี 20 1 5.0
ภูเก็ต 112 0 0.0
กรุงเทพฯ 267 28 10.5
เชียงใหม่ 10 0 0.0
พิษณุโลก 5 0 0.0
ราชบุรี 10 0 0.0
1012 330 32.6
2553 สมุทรปราการ 155 105 67.7
ฉะเชิงเทรา 28 28 100.0
ระยอง 766 0 0.0
กรุงเทพฯ 311 3 1.0
เลย 876 0 0.0
ขอนแก่น 100 0 0.0
2236 136 6.1
จานวนคนผิดปกติ
ข้อมูล
จาก
สานัก
โรคจาก
การ
ประกอบ
อาชีพ
และสิ่ง
แวด
ล้อม
เส้นทางการทางาน
เพื่อการปกป้องเด็กและครอบครัวห่างไกลพิษตะกั่ว
พ.ศ. 2553-2557
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
2552
• ทบทวน
วรรณกรร
ม
• ผลิตสื่อ
เพื่อ
เผยแพร่
ความรู้แก่
สังคม
2553-2555
• ค้นหาเด็ก
กลุ่มเสี่ยง
• สร้าง
พันธมิตร
เพื่อการ
ทางาน
อย่าง
ยั่งยืน
• เผยแพร่
ข้อมูล
2556-2557
• การ
ผลักดัน
เชิง
วิชาการ
เพื่อการ
ค้นหาเด็ก
กลุ่มเสี่ยง
• การสารวจ
เด็กไทย
ทั่วไป อายุ
6Mo-2yr.
ผลิตสื่อ
ผลิตสื่อ
เผยแพร่ข้อมูล
การค้นหาเด็กกลุ่ม
เสี่ยง
การลงพื้นที่ อ.อุ้มผาง จ.ตาก
สิ่งแวดล้อม
ประเมินผลสุขภาพ / สิ่งแวดล้อม
ประเมินพัฒนาการเด็ก
ผลการสารวจที่อุ้มผาง พ.ศ. 2553
 ประชากร:
- เด็กไทยอายุ 3-7 ปี ที่อาศัยในอาเภออุ้มผาง
จังหวัดตาก จานวน 220 คน
- ระหว่างวันที่ 30 เม.ย.- 5 พ.ค. 2553
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการตรวจ ค่าเฉลี่ย พิกัด
ตะกั่วในเลือด (มคก./ดล.) 7.7 ± 4.6 3 - 25
74%
26%
BLL <10 mcg/dl
BLL ≥10 mcg/dl
26%
ผลประเมินการสัมผัสตะกั่ว ปี 2553
• มีหลากหลายหลายปัจจัยที่มีผลต่อระดับค่าเฉลี่ยตะกั่วในเลือดอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) อาทิเช่น
- เพศชาย
- ภาวะโภชนาการที่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน
- ประวัติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- แหล่งอาหารและแหล่งน้าที่ใช้ในการบริโภคอุปโภค
- มีการใช้แบตเตอรี่แบบเติมไฟได้ที่บ้าน
- เด็กที่อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล เป็นต้น
 วิเคราะห์ค่าความเสี่ยงโดยควบคุมปัจจัยเสี่ยงทั้งหมด
ที่มีผลต่อระดับตะกั่วในเลือดสูงเกินเกณฑ์( >10 g/dl)
พบว่า ปัจจัยเสี่ยง คือ เพศ และ ชนิดของน้าที่ใช้ในการบริโภค
- เพศชายมีความเสี่ยงมากกว่าเพศหญิง 2.8 เท่า
- การบริโภคน้าประปาและน้าคลอง มีความเสี่ยง มากกว่า
การบริโภคน้าจากขวดน้าดื่มสาเร็จรูป 15 เท่าและ72 เท่า
ตามลาดับ
ผลประเมินการสัมผัสตะกั่ว ปี 2553
ผลสารวจที่อุ้มผาง พ.ศ. 2554 (ครั้งที่ 2)
 ประชากรเด็กไทย
 จานวน 225 คน
- เด็กใหม่อายุ 1-2ปี จานวน 151 คน
- ติดตามเด็กเก่า จานวน 47คน
- ที่อยู่ ต.แม่จันและต.อุ้มผาง อ.อุ้มผาง
- วันที่ 14-17 ก.พ. 2554
Mean BLL 15.19+11.27µg/dl (Min=0.30, Max=56.12 )
อายุเฉลี่ย 33.76 เดือน (Min=11 เดือน, Max=96 เดือน)
37%
63%
แผนภูมิแสดงระดับตะกั่วในเลือด
จำนวนเด็กทั้งหมด 225 คน
<10
> 10
Multilogistic regression model of lead exposure by potential
risk, Umphang, Tak province, Thailand, February 2011.
Factor Crude OR Adjusted OR (95% CI) p-value
Male 1.92 2.21 1.12-4.36 0.022
play on the ground 6.14 3.75 1.12-12.53 0.032
Use battery in home 3.85 2.88 1.43-5.81 0.003
Water
น้าเบาท์ 1 1.00 0
น้าประปา 3.24 18.43 4.93-68.91
น้าธรรมชาติ
2.69 12.65 2.75-58.17
หลายแหล่ง
2.71 6.01 1.10-33.01
ระดับตะกั่วในเลือด เด็กเล็ก < 5 ปี เด็กโต 5-14 ปี หญิงตั้งครรภ์
(ไมโครกรัม/
เดซิลิตร)*
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
< 10 31 44.3 113 61.4 156 91.8
10-24.9 37 52.9 69 37.5 13 7.6
25-39.9 2 2.9 2 1.1 1 0.6
> 40 0 0.0 0 0.0 0 0.0
รวมทั้งหมด 70 100.0 184 100.0 170 100.0
ค่าเฉลี่ย 11.2 ± 5.7 9.2 ± 4.8 4.0 ± 4.4
ค่าต่าสุด-สูงสุด ไม่พบ-35.8 ไม่พบ-32.6 ไม่พบ-26.4
ผลการทางานต่อเนื่องโดยทีมสาธารณสุขใน
พื้นที่ พ.ศ.2555
- กรมควบคุมโรค (สานักป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก และสานักโรคจาก
การประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม)
- กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 พิษณุโลก
และฝ่ายพิษวิทยาและชีวเคมี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
- กรมอนามัย (ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก และศูนย์ห้องปฏิบัติการ
- กรมการแพทย์ (สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี) และ
- สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สานักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก
สานักงานสาธารณสุขอาเภออุ้มผาง โรงพยาบาลอุ้มผาง และโรงพยาบาลแม่
สอด)
การสร้างเครือข่ายพันธมิตร
เพื่อขับเคลื่อนงานต่อเนื่อง อ.อุ้มผาง จ.ตาก
สารวจการสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยอายุ 6 เดือน - 2 ปี
• จานวนทั้งหมด 571 คน อายุเฉลี่ยเท่ากับ 14 ± 6.9 เดือน
• ในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ 1มิถุนายน ถึง 31 สิงหาคม 2557
• ที่คลินิกสุขภาพเด็กดี
- สถาบันสุขภาพเด็กฯ
- โรงพยาบาลจังหวัดชัยนาท
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัย 8 แห่งทั่วประเทศของกรม
อนามัย คือ เขต 1 กทม. เขต 3 ชลบุรี เขต 4 ราชบุรี เขต 7 อุบลฯ
เขต 8 นครสวรรค์ เขต 10 เชียงใหม่ เขต 11 นครศรีธรรมราช เขต
12 ยะลา
เขตพื้นที่
Mean ± SD
(mcg/dl)
สถาบันสุขภาพเด็กฯ 1.59 ± 1.21
รพ. จังหวัดชัยนาท 2.82 ± 2.81
รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เขต 1 กทม. 1.79 ± 1.05
รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เขต 3 ชลบุรี 3.08 ± 5.50
รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เขต 4 ราชบุรี 2.15 ± 1.72
รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เขต 7 อุบลฯ 1.85 ± 1.57
รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เขต 8 นครสวรรค์ 1.19 ± 1.56
รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เขต 10 เชียงใหม่ 1.14 ± 0.97
รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เขต 11 นครศรีธรรมราช 2.16 ± 3.16
รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เขต 12 ยะลา 1.67 ± 1.29
ภาพรวม 1.93 ± 1.41
95%
4% 1%
ภาพรวม
น้อยกว่า 5 5-10
กิจกรรม
ไม่ใช่
ไม่เคย
นานๆ
ครั้ง**
บ้าง** ทุกวัน ไม่ทราบ
ตอนตั้งครรภ์เด็กคนนี้ แม่ทางานโรงงานที่ใช้ตะกั่ว
เป็ นวัตถุดิบ เช่นแบตเตอรี่ สี งานบัดกรี งานเชื่อม
โลหะ
93.8 .9 1.8 2.7 .9
ตอนตั้งครรภ์เด็กคนนี้ แม่กินยาหม้อ ยาลูกกลอน
ยาแผนโบราณ
94.0 2.3 2.5 .4 .9
อาศัยอยู่ในเขตอุตสาหกรรม 91.7 1.4 2.3 3.9 .7
เด็กกิน / เคยกิน ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาแผน
โบราณ
93.6 4.3 1.4 .2 .5
เด็กกิน / เคยกิน ผงขับลมเด็ก 93.3 5.0 1.2 .2 .4
เด็กกิน / เคยใช้ ยาป้ ายลิ้น 70.0 21.8 7.8 .2 .2
เด็กกิน / เคยกิน อาหารกระป๋ องที่นามาอุ่นทั้ง
กระป๋ อง
93.6 3.9 2.1 - .4
กินขนมหรือลูกอมที่มีสีฉูดฉาด 77.6 14.9 7.0 .2 .4
ผนังในบ้านที่เด็กอาศัยอยู่มีสีหลุดร่อน (เด็กเอาเข้า
ปากได้)
85.1 4.3 5.3 3.7 1.6
กิจกรรม
ไม่ใช่
ไม่เคย
นานๆ ครั้ง** บ้าง** ทุกวัน ไม่ทราบ
เด็กอาศัยอยู่ในบ้านที่มีการใช้สีน้ามันทา
ภายใน
81.7 2.7 3.2 8.7 3.7
เด็กเล่นของเล่นที่มีสีหลุดร่อน 79.1 10.4 6.3 1.4 2.9
การเล่นเครื่องเล่นที่มีการทาสีด้วยสีน้ามัน 82.1 9.2 5.3 1.4 2.0
เล่นหรือคลานบนดิน หรือเอาดินมาปั้นเล่น 51.9 17.7 15.2 14.7 .5
เด็กล้างมือก่อนกินอาหารเป็นประจา 24.9 9.4 26.1 39.0 .5
มีคนในบ้านทางานที่อาจมีการสัมผัสสาร
ตะกั่ว (ทาเครื่องประดับ ก่อสร้างสะพาน รื้อ
ถอนอาคาร ช่างประปา ทางานเกี่ยวข้องกับ
เครื่องยนต์ แบตเตอรี่ หลอมตะกั่ว กระสุน
เบ็ดตกปลา อู่ซ่อมเรือ เป็นต้น)
77.0 6.0 5.8 10.3 .9
คนในบ้านทางานเก็บขยะ / โรงงานแยก
ขยะ / ขายของเก่า
94.7 1.6 .5 1.8 1.4
มีคนในชุมชนป่วยด้วยโรคพิษตะกั่ว / มี
ประวัติการสัมผัสสารตะกั่วของคนในชุมชน 83.0 .7 .9 1.6 13.8
ที่บ้านใช้แบตเตอรี่แบบเติมไฟ แบตเตอรี่
หรือทากิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
แบตเตอรี่
78.2 10.2 4.8 3.9 2.9
LEADPROJECT
การคัดกรองการสัมผัสสารตะกั่ว
ในเด็กไทย
การเฝ้าระวังการสัมผัสสารตะกั่วในเด็กกลุ่มเสี่ยง
 พ.ศ. 2545 ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยและ
กระทรวงสาธารณสุขกาหนดแนวทางพิจารณาตรวจคัด
กรองหาระดับตะกั่วในเลือดในเด็กอายุขวบครึ่ง-2 ปี ใน
กลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงดังนี้คือ
1. อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ที่เป็นเขตอุตสาหกรรม
2. มีผู้อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกันที่มีอาชีพเกี่ยวกับ
อุตสาหกรรมตะกั่ว
กาหนดการดูแลสุขภาพเด็กไทย พ.ศ. 2557
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
กิจกรรม วัยทารก
0-7 วัน 1เดือน* 2เดือน 4เดือน 6เดือน 9เดือน 12เดือน
ประวัติ/สัมภาษณ์ 1 1 1 1 1 1 1
การตรวจร่างกาย 1 1 1 1 1 1 1
พัฒนาการ (Development)
ติดตามเฝ้ าระวังพัฒนาการ (developmental surveillance) 1 1 1 1 1 1 1
ตรวจคัดกรองพัฒนาการ (developmental screening) 1
ประเมินปัญหาทางจิตใจ สังคม และพฤติกรรม 1 1 1 1 1 1 1
การวัดและประเมินผล (Measurement and Assessment)
ชั่งน้าหนัก 1 1 1 1 1 1 1
วัดส่วนสูง 1 1 1 1 1 1 1
วัดเส้นรอบศีรษะ 1 1 1 1 1 1 1
น้าหนักตัวเมื่อเทียบกับความสูง/ดัชนีมวลกาย (BMI)
ความดันโลหิต
กิจกรรม วัยทารก
0-7 วัน 1เดือน* 2เดือน 4เดือน 6เดือน 9เดือน 12เดือน
การคัดกรอง (Screening)
วัดสายตาโดยใช้เครืองมือ
การได้ยิน
- ด้วยเครื่องมือพิเศษ(ทาเมื่อมีความพร้อมของอุปกรณ์)
1
- โดยการซักถามและใช้เทคนิคการตรวจอย่างง่าย 1 1 1 1
ตรวจเลือดคัดกรองทารกแรกเกิด 1
ตรวจระดับฮีโมโกลบิน/ฮีมาโตคริต 1
ตรวจคัดกรองโรค
-วัณโรค 2B 2B
-ตะกั่ว 2B
-ไขมันในเลือด
-โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2B
- อาศัยในเขตอุตสาหกรรม
- อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกับคนที่มีอาชีพเกี่ยวข้องกับสารตะกั่ว/อุตสาหกรรมตะกั่ว
เช่น ทาเครื่องประดับ ก่อสร้าง/ รื้อถอนอาคาร ช่างประปา งานเกี่ยวข้องกับสี
ทางานเกี่ยวข้องกับเครื่องยนต์ แบตเตอรี หลอมตะกั่ว กระสุน ทาเบ็ดตกปลา/
อวนหาปลา เป็นต้น
- อาศัยอยู่ในบ้านที่ใช้สีน้ามันทาภายใน และมีการหลุดลอกของสีทาบ้าน
- มีการใช้แบตเตอรี่แบบเติมไฟในบ้าน
- มีประวัติคนในบ้านสัมผัสสารตะกั่ว / ป่วยด้วยโรคพิษสารตะกั่ว
- มีประวัติเด็กในชุมชน/โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก ที่เด็กอาศัยอยู่ มีรายงานการ
สัมผัสสารตะกั่ว/
1. พิจารณาตรวจคัดกรองสารตะกั่วในเลือดในเด็กอายุ 6 เดือน- 2 ปี ที่คลินิกเด็ก
สุขภาพดี เมื่อมีปัจจัยเสี่ยงดังต่อไปนี้ อย่างน้อย1 ข้อขึ้นไป
2. เด็กอายุมากกว่า 2 ปี แต่ไม่เกิน 10 ปี พิจารณาตรวจระดับ
ตะกั่วในเลือดเมื่อ
-มีปัจจัยเสี่ยงต่อการสัมผัสสารตะกั่ว และ
-ยังไม่เคยตรวจระดับตะกั่วในเลือดมาก่อน
การเฝ้าระวังการสัมผัสสารตะกั่วในเด็กกลุ่มเสี่ยง
พ.ศ. 2557
3. ควรสงสัยภาวะป่วยจากพิษสารตะกั่ว(index case) ในเด็กที่มีปัญหา
หรืออาการดังต่อไปนี้ที่ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด ร่วมกับการซักประวัติพบมี
ปัจจัยเสี่ยงต่อการสัมผัสสารตะกั่ว
- ชัก - ซีด - เลี้ยงไม่โต
- พฤติกรรมการกินสิ่งที่ไม่ใช่อาหาร - พัฒนาการช้า
- พัฒนาการถดถอย - ซน สมาธิสั้น -Encephalopathy
การเฝ้าระวังการสัมผัสสารตะกั่วในเด็กกลุ่มเสี่ยง
พ.ศ. 2557
Lead prevention call for now!!!
 Irreversibility of lead neurotoxicity: life long
affect.
 The elimination of childhood lead poisoning is
possible.
 Economic gains from reduction in children’s
exposure to lead.
Economic gains
 A recent cost–benefit analysis suggests that for every US$ 1
spent to reduce lead hazards, there would be a benefit of
US$17–220.
 This cost–benefit ratio is better than that for vaccines, which
have long been described as the single most cost-beneficial
medical or public health intervention
take home message
 ผลกระทบจากพิษของสารตะกั่วต่อสุขภาพของมนุษย์ ขึ้นกับ
ปริมาณของสารตะกั่วที่ร่างกายได้รับการสะสม
และระยะเวลาที่สัมผัสกับสารตะกั่ว
 สามารถสะสมในร่างกายโดยไม่แสดงอาการ
 พิษสารตะกั่วส่งผลต่อสุขภาพทุกระบบ
 ไม่มีค่าระดับตะกั่วที่ปลอดภัยสาหรับมนุษย์
 สามารถส่งผลให้เด็กมีระดับสติปัญญาต่าลง เรียนรู้ช้า และ
ปัญหาพฤติกรรมร่วมด้วย เช่น ซน สมาธิสั้น
ประเด็นที่ควรพิจารณาเพื่อปกป้องเด็กไทย
จากพิษตะกั่ว
 องค์การอนามัยโรคมีแนวโน้มว่าในระยะเวลาอันใกล้นี้อาจจะปรับ
ระดับลดค่าตะกั่วในเลือดที่พอจะยอมรับได้ในเด็กให้ต่ากว่าค่าใน
ปัจจุบัน (จากเดิมกาหนด EBLL >10มคก/ดล เป็นน้อยกว่า 5 มคก/ดล)
 กุมารแพทย์และบุคลากรทางสาธารณสุขควรมีความตระหนัก
เรื่องการปกป้องเด็กไทยจากพิษสารตะกั่ว
 ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ ได้ปรับปรุงแนวทางกาหนดการดูแลสุขภาพ
เด็กไทย พ.ศ. 2555 และให้ความสาคัญเรื่อง
“ Targeted Screening BLL @ WCC”
พิษของสารตะกั่วส่งผลต่อสุขภาพทุกระบบ
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 2557

More Related Content

What's hot

คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรFh Fatihah
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงTuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...CAPD AngThong
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 

What's hot (20)

คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
Ppt.stroke
Ppt.strokePpt.stroke
Ppt.stroke
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 

Similar to การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Yuwadee
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีLoadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีnawaporn khamseanwong
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนChakkraphan Phetphum
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf60919
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติLoadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติnawaporn khamseanwong
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdfสถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdfChiraphongAuttamalan1
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-newwarit_sara
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยMickey Toon Luffy
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากtechno UCH
 

Similar to การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย (20)

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
สถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็ก
สถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็กสถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็ก
สถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็ก
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีLoadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
 
การตรวจสารโลหะหนักในมารดา และเด็กแรกเกิด
การตรวจสารโลหะหนักในมารดา และเด็กแรกเกิดการตรวจสารโลหะหนักในมารดา และเด็กแรกเกิด
การตรวจสารโลหะหนักในมารดา และเด็กแรกเกิด
 
Test
TestTest
Test
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติLoadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdfสถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 

More from csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก

More from csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก (20)

The Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
The Research of Injuries and Depression among Taiwanese IndigenesThe Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
The Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
 
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
 
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in AustriaDistl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
 
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk StudentInjury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
 
Home after School
Home after School Home after School
Home after School
 
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
 
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the CommunitySurveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
 
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety toolTeacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
 
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
 
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violenceStrong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
 
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, JapanImpacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
 
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei ProvinceAn Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical ServiceServices and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
 
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
 
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
 
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclistsDeterminants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
 
Prevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowningPrevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowning
 
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
 

การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย

Editor's Notes