SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย




                 กองแผนงาน กรมสุขภาพจิต
                 14 มิถุนายน 2555
• ครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค
การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ
• มีการจัดระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ตังแต่ระดับ
                                           ้
ปฐมภูมิ (Primary Care) บริการระดับทุตยภูมิ
                                         ิ
(Secondary Care) และบริการระดับตติยภูมิ
(Tertiary Care)
• การพัฒนาความเชียวชาญระดับสูง
                      ่
• สร้างระบบทีเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายทั้งภายใน
             ่
จังหวัด ภายในเขตและเป็นเครือข่ายระดับประเทศ
ด้วยระบบส่งต่อ (Referral System) โดยใช้หลักการ
“เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ (Seamless Health
เขตพื้นที่รับผิดชอบตามแผนพัฒนา
           ระบบบริการสุขภาพ
    Cluster     สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวช       สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชเด็ก
                ผู้ใหญ่

      1
   ชม./ชร./นน./ • โรงพยาบาลสวนปรุง           • สถาบันพัฒนาการเด็กราช
พย./พร./มส./ลป                               นครินทร์
./ลพ.

      2
พล./ตก./พบ./สข • โรงพยาบาลสวนปรุง            • สถาบันพัฒนาการเด็กราช
./อต.                                        นครินทร์

     3
นค./กพ./ชน./พ   • รพจ.นครสวรรค์ราชนครินทร์   • สถาบันพัฒนาการเด็กราช
จ./อท.                                       นครินทร์

    4      นท./
นย./ปท./อย./ลพ • โรงพยาบาลศรีธัญญา           • สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น
./สบ./สห./อท.                                 ราชนครินทร์
Claster     สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชผู้ใหญ่   สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชเด็ก


     5
นฐ./กญ./ปจ./พ •สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์         • สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น
บ./รบ./สส./                                      ราชนครินทร์
สค./สพ.

     6
สก./จบ./ฉช./ช   •รพจ.สระแก้วราชนครินทร์         • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์
บ./ตร./ปจ./
รย./สป.
     7                                          • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์
ขก./กส./มห./ร   •รพจ.ขอนแก่นราชนครินทร์         • สถาบันพัฒนาการเด็กภาค
อ.                                               ตะวันออกเฉียงเหนือ

    8           • รพจ.นครพนมราชนครินทร์         • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์
นพ./ลย./บก./ส   • รพจ.เลยราชนครินทร์            • สถาบันพัฒนาการเด็กภาค
กลฯ/นค./นบ./อ                                    ตะวันออกเฉียงเหนือ
ธ.
       9                                        • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์
นร./ชภ./พบ./บ   •รพจ.นครราชสีมาราชนครินทร์      • สถาบันพัฒนาการเด็กภาค
ร./สร.                                           ตะวันออกเฉียงเหนือ
Claster        สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชผู้ใหญ่   สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชเด็ก



      10                                           • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์
อุบล/มห./ยส./ศก    • โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์       • สถาบันพัฒนาการเด็กภาค
./อจ.                                               ตะวันออกเฉียงเหนือ


      11
สร./กบ./ชพ./       • โรงพยาบาลสวนสราญรมย์          • สถาบันราชานุกูล
นร./ พง./ภก./รน.


      12
สข./ตร./นธ./       • รพจ.สงขลาราชนครินทร์          • สถาบันราชานุกูล
ปต./พท./ยล.
/สต.



 กรุงเทพมหานคร     • สถาบันจิตเวชศาสตร์            •สถาบันราชานุกูล
                    สมเด็จเจ้าพระยา                •รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์
เป้าหมาย              เพิ่มความ           ประชาชนมี             ลดความ
                                   หลัก / ตัว                สุข              ความสุข               ทุกข์
                                                          70% ของ                              อัตราการฆ่าตัวตายของ
                                      ชี้วัด               ประชาชน                                   ประชาชน
                                                        ในแต่ละจังหวัดมี                        ในแต่ละจังหวัดลดลง
                                                           ความสุข
บุคคล – ครอบครัว – ชุมชน – สังคม




                                         เป้าหมาย : เด็กไทย 70 % มี IQ-EQ ไม่ตำ่ากว่ามาตรฐาน




                                         เป้าหมาย : เด็กไทย 70 % มี IQ-EQ ไม่ตำ่ากว่ามาตรฐาน




                                       เป้าหมาย : ประชาชน 70 % มีความสุข (มีสุขภาพจิตดี)




                                        เป้าหมาย : ประชาชน 70 % มีความสุข (มีสุขภาพจิตดี)                             7
• กำาหนดตัวชี้วัด / เป้าหมายที่สำาคัญตามนโยบายการ
  ดำาเนินงานสุขภาพจิต
• ถ่ายระดับตัวชี้วัด / เป้าหมายการดำาเนินงานสู่หน่วย
  งานในสังกัดกรมฯ และระดับพื้นที่
• ปรับระบบการนิเทศ ติดตาม กำากับและประเมินผล
  ภายในกรมฯ
• ปรับโครงสร้างการดำาเนินงาน - สำานักพัฒน์ฯ / กลุ่มที่
  ปรึกษา / คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายฯ
• ปรับระบบสนับสนุน
 – ข้อมูลสารสนเทศ
การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย


      ดี / เสี่ยง (ส่งเสริม-ป้องกัน)
      - ความสุข (สุขภาพจิต)                                ป่วย (รักษา-ฟื้นฟู) : อัตราการเข้าถึงบริการ
      - IQ / EQ                                            - โรคจิต
      - ยาเสพติด / ความรุนแรง                              - โรคซึมเศร้า
      - ติดเกม / ท้องไม่พร้อม                              - โรควิตกกังวล
      - ความสุขในการทำางาน                                 - ปัญญาอ่อน
      - RQ                                                 - ออทิสติก
      - ผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง
                                       ระบบเฝ้าระวัง
                                                • ขึ้นกับความสามารถของแต่ละ พ
                                                • ปัญหาแตกต่างแต่ละ พท.
                        การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสุขภาพจิต
                                                • ปัญหา สจ. ต่างๆของ พท.

  ทรัพยากร                        เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล                    กิจกรรม
     จิตแพทย์                http://www.dbc.dmh.go.th                     ระบบเฝ้าระวังปัญหา สจภ
                                                                           โครงการบูรณาการงานสุข
     พยาบาล PG              http://www.dmh.go.th/portal.html              การสำารวจระบาดวิข่ายสู่ช
                                                                           และจิตเวชโดยเครือ
                                                                                             ทยา ส
   พยาบาล ป.โท              http://www.dmh.go.th/portal.html
     นักจิตวิทยา           http://www.dmh.go.th/report/report1.asp
  นักสังคมสงเคราะห์              แบบทดสอบ EQ/RQ                           โครงการชุมชนต้นแบบ
 ผูปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิต
   ้                        แบบทดสอบความเครียด ซึมเศร้า เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
                                                                         โครงการ Data Center ของ
องค์กรเครือข่ายด้านสุขภาพจิต                                             ผู้ป่วยจิตเวช
ทีม MCATT ระดับกรม จังหวัด อำาเภอ
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
1.ประชากรไทยปี 2553 (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย)



                                      17,382,376
                                         27%



                                                    юі ѣн ѥді ѯчд
                                                                Ѷ
           46,142,686                               юі ѣн ѥді я Ѭ р ҕ
                                                                Ѳ
                                                                Җў
              73%



            лѼ њ ю ѣн ѥді ъкў є ч
             ѥь ь і        ҟ
                           Ѥ                       зь
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
ประชากรเด็กไทยจำาแนกตามกลุมอายุ ปี 2553
                          ่
(กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย)




              4,801,846     3,877,114
                 28%           22%


                                 4,017,963    - юѨ
              4,675,453             23%      - ю Ѩ
                 27%                           - ю Ѩ
                                               - ю Ѩ

           лѼ њ ю ѣн ѥді ѯчдъкў є ч
            ѥь ь і         Ѷ Ѥ
                             ҟ               зь
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
ประชากรเด็กไทยจำาแนกตามกลุมอายุและเพศ ประจำาปี 2553
                          ่
(กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย)
    3,000,000
          0

    2,500,000

    2,000,000

    1,500,000                                         нѥѕ
                                                         ѧ
                                                      ўр к
    1,000,000

     500,000

           0
                - юѨ    - юѨ      -   юѨ   -   юѨ
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
2.เด็กปฐมวัย :
   - พัฒนาการเด็ก (กลุมอนามัยแม่และเด็ก สำานักส่งเสริมสุขภาพ กรม
                      ่
   อนามัย)
               і Ѡ ј ѣе Ѡ ѯчдъє ё х ь ѥд ѥі ѝє њ
                 Җѕ      к Ѷ Ѩѷ ѨѤ              Ѥ
                                                ѕ
  85
  80
  75
  70
                                                і Ѡ ј ѣе Ѡ ѯчдъ є Ѩ
                                                  Җѕ      к Ѷ Ѩ  ѷ
  65                                            ё х ь ѥдѥі ѝє њ
                                                  Ѥ            Ѥ
                                                               ѕ
  60
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
การสำารวจความลาดด้านอารมณ์ 2550
  - เครื่องมือ แบบวัดความฉลาดด้านอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต
  - กลุ่มตัวอย่าง 6,872 คน ( เด็ก 3-5 ปี 2,573 คน เด็ก 6-11 ปี 4,299
คน)
  - เด็กส่วนใหญ่ อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  - แต่ความฉลาดด้านอารมณ์เด็กวัย 3-5 ปี ปี 2550 มีคะแนนลดลงจากปี
2545 โดยรวม 9.47 คะแนน กลุ่มอายุ 6-11 ปี คะแนนเฉลี่ยโดยรวมลดลง
13.12 คะแนน       ด้านที่ลดเป็นด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น
   3.1 ระดับสติปัญญา
    พ.ศ. 2544 พบว่า
         - เด็กวัยเรียนในกลุ่มอายุ 6-<13 ปี จำานวนตัวอย่าง 3,135 คน ร้อยละ 29.7
   มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 59.9 มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ใน
   เกณฑ์ค่อนข้างตำ่า ค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์ปัญญาเด็กวัยเรียนทั้งหมดเท่ากับ
   88.1+12.6
         - เด็กวัยรุ่นอายุ 13-18 ปี จำานวนตัวอย่าง 3,150 คน ร้อยละ 26.6 มีระดับ
   เชาวน์ปัญญาอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 57.3 มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในเกณฑ์
   ค่อนข้างตำ่า ค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์ปัญญาเด็กวัยรุ่นทั้งหมดเท่ากับ 86.7+13.9

  (โครงการวิจัยแบบองค์รวมของเด็กไทย ปี พ.ศ. 2544 โดยใช้แบบทดสอบคัด
  กรองระดับเชาวน์ปัญญาชนิดไม่ใช้ภาษาที่มีชื่อว่า Test of Non-verbal
  Intelligence (TONI ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3))
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น
   3.1 ระดับสติปัญญา
     พ.ศ. 2545 พบว่า เด็กไทยจำานวนตัวอย่าง 3,300 คน มีค่าคะแนนเฉลี่ยของ
   ระดับเชาวน์ปัญญา (Full scale IQ) เท่ากับ 98.43 (Verbal IQ = 99.79 และ
   Performance IQ = 100.52)
   (งานวิจัยแบบทดสอบวัดความสามารถทางสติปัญญา Wechsler Intelligence
   Scale for Children (WISC-III) เพือสร้างเกณฑ์ปกติเด็กไทยอายุ 6-16 ปี
                                    ่
   ระดับชาติ)

    พ.ศ. 2550 พบว่าเด็กไทยอายุ 3-11 ปี จำานวนตัวอย่าง 7,391 คน มีระดับ
   เชาวน์ปัญญาเฉลี่ย 103.09 ระดับอนุบาล 110.67 ระดับประถม 97.31 เด็กชาย
   102.30 และเด็กหญิง 103.99
     (กรมสุขภาพจิตสำารวจระดับสติปัญญาเด็ก 3-11 ปี โดยใช้แบบทดสอบวัด
   ระดับสติปัญญาสำาหรับคนไทย(เชาวน์เล็ก))
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น
   3.1 ระดับสติปัญญา
     พ.ศ. 2554 พบว่า เด็กนักเรียนไทยอายุ 6-15 ปี จำานวนตัวอย่าง 72,780 คน มี
   ค่าคะแนนเฉลี่ยของระดับเชาวน์ปัญญา 98.59 ซึ่งเป็นค่าที่อยู่ในเกณฑ์ปกติแต่
   ค่อนไปทางตำ่ากว่าค่ากลางของมาตรฐานในยุคปัจจุบัน(IQ=100)

   (กรมสุขภาพจิต โครงการสำารวจสถานการณ์ระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทย
   โดยใช้แบบทดสอบสติปัญญา Standard Progressive Matrices :SPM
   parallel; updated 2003)
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น
   3.2 ติดเกม
      - พ.ศ. 2552 กรมสุขภาพจิตสำารวจพบว่า มีเด็กติดเกมขั้นรุนแรงมาก
   ถึงร้อยละ 9 ของนักเรียนประถมและมัธยมต้น เพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า ใน
   รอบ 3 ปี
       - พ.ศ. 2553 พบว่ามีเด็กติดเกมเพิ่มขึ้นเป็น 14.4 ในปี 2553 จาก
   ร้อยละ 13.3 ในปี 2551 (นพ.ชาญวิทย์และคณะ)
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น
   3.3 การทำาแท้ง
         - พ.ศ. 2551-2552 พบว่าวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี มีประวัติทำาแท้งใน 5
   ปีที่ผ่านมา ร้อยละ 15.2 (เบญจพร ปัญญายงค์ อ้างอิงจาก สสท.,
   2552)
          - พ.ศ. 2553 พบว่าร้อยละ 25 ของวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ ร้อยละ 10
   ตั้งครรภ์ ร้อยละ 50 เป็นแม่ ร้อยละ 50 ทำาแท้ง ร้อยละ 18.6 ของแม่วัย
   เยาว์คิดฆ่าตัวตาย ร้อยละ 12.4 เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และร้อยละ 12.7
   สูบบุหรี่ระหว่างตั้งครรภ์ (ดร.วิชัย รูปขำาดี และคณะ, 2553)
สถานการณ์เด็กและเยาวชน
3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น
   3.4 ความรุนแรง
         3.3.1 สถิติคดีของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนพบว่าตลอดช่วง
   10 ปีที่ผ่านมา (2544-2553) มีเด็กและเยาวชนไทยที่กระทำาความผิดใน
      - คดีเกี่ยวกับการกระทำารุนแรงต่อชีวิตร่างกายร้อยละ 13.07 (จาก 7 ฐาน
   ความผิด)
      - คดีความผิดเกี่ยวกับอาวุธ 7.39 (จาก 7 ฐานความผิด)
      - คดีความผิดเกี่ยวกับเพศ 4.74 (จาก 7 ฐานความผิด)
        (กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน)

        3.3.2 พ.ศ. 2550 ผลวิจัยของโครงการติดตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชน
   รายจังหวัด (Child Watch) ที่ทำาการสำารวจในกลุ่มเด็กเยาวชน 150,000 คนทั่ว
   ประเทศ พบว่าเด็กนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา และอาชีวศึกษาทั้งในระดับ ทั้ง
   ในระดับ ปวช. และ ปวส. ตกอยู่ในวัฎจักร ของการใช้ความรุนแรง การใช้กำาลัง
   กันระหว่างเพื่อนนักเรียนด้วยกัน ประมาณ 1 ใน 10 หรือประมาณ 700,000 คน
   จากจำานวนนักเรียนในระดับมัธยม ศึกษา ปวช. และ ปวส.
สถานการณ์ดานเด็กและเยาวชน
          ้

 สถานการณ์การเข้าถึงบริการในกลุ่มเด็กป่วย

 3.Mental Retardation อุบัติการณ์ร้อยละ 1 เข้าถึงบริการ
    • ระบบสาธารณสุข ประมาณ ร้อยละ 5.66 (35,959 คน,
      2553)
    • ระบบการศึกษา (ร.ร.การศึกษาพิเศษ+ศูนย์การศึกษา
      พิเศษ) (15,961 คน,2553)

 5.ออทิสติก อุบัติการณ์ร้อยละ 0.09 (2547) เข้าถึงบริการ
 ประมาณ ร้อยละ 1.64 (6,103 คน,2553)

 7.ADHD (สมาธิสั้น) และ LD (บกพร่องการเรียนรู) พบจากผล
                                             ้
 ONET ป.6 (2553) เด็กไม่ผานเกณฑ์ 50 คะแนน เป็น ADHD 2-8
                         ่
 % LD 6-9.95%
ระบาดวิทยาและความชุก
        โรคสมาธิสั้น
• ทัวโลก อัตราความชุกของโรคสมาธิสั้น
     ่
  ในเด็กวัยเรียนค่อนข้างหลากหลาย
  ตั้งแต่ตำ่ามากเพียงร้อยละ 1 จนถึงสูงมาก
  ประมาณ 20%
  – การรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากประเทศต่างๆ
    ทั่วโลก พบว่า มีความชุกของโรคร้อยละ 5.29
    (Polanczyk, et al.,2007)
  – ผลการสำารวจจาก WHO (World Health
    Organization) ปี 2006 พบ ร้อยละ 5.9
  – มีโอกาสมีอาการต่อเนื่อง จนถึงผู้ใหญ่ มากถึง
    50% (Barkley, 1990; Glittelman,1985)
  – ในประเทศไทย ปี 2541 พบความชุกประมาณ
    5% (เบญจพร และอลิสา, 2541)
ระบาดวิทยาและ
         ความชุกโรค
• ปี 2546; เด็กที่ตองคดีในสถานพินิจ
                   ้
  กรุงเทพมหานคร อายุ11-18 ปี
  – โรคสมาธิสั้นอย่างเดียว 28%
  – โรคสมาธิสั้นและนำาไปสู่ภาวะเกเร ก้าวร้าว (Conduct
    Disorder) ถึง 82 % (สุวรรณีและคณะ 2546)
• โรคสมาธิสั้นมีความสัมพันธ์โดยตรงและมีโอกาสสูง
  ในการพัฒนาไปสู่ภาวะดือต่อต้าน (Oppositional
                          ้
  Defiant Disorder) และภาวะเกเร ก้าวร้าว
  (Conduct Disorder) เมือโตขึ้น (Angold,
                            ่
  Costello &Erkanli,1999)
• เด็กสมาธิสั้น มีโอกาสกลายเป็นเด็กเกเรและต่อต้าน
  สังคม หลังอายุ 16 ปี ได้มากกว่าเด็กปกติ 3.5 - 4
เครืองมือที่ใช้ในการดำาเนินงาน
         ่

• เครื่องมือในการทดสอบ
  – ไอคิว
     • แบบทดสอบวัดระดับสติปัญญาสำาหรับคนไทย(เชาวน์เล็ก)
     • แบบทดสอบสติปัญญา Standard Progressive
       Matrices :SPM parallel; updated 2003
  – อีคิว
     • แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต
  – พัฒนาการ
     • แบบวัดพัฒนาการอนามัย 49
     • คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี
เครื่องมือที่ใช้ในการดำาเนินงาน

• เครื่องมือในการทำางานในพื้นที่
  – เทคโนโลยีการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย 3 กลุ่มวัย
     • วัยแรกเกิด-5 ปี เช่น 2 ก 2 ล, การพัฒนาไอคิวและอีคิวฯ
       คู่มือส่งเสริมพัฒนาการ เป็นต้น
     • วัยเรียน เช่น ครอบครัวสัมพันธ์, คู่มือการจัดกิจกรรมเสริม
       สร้างศักยภาพเด็กวัยเรียน เป็นต้น
     • วัยรุ่น เช่น ฉลาด 4 ด้าน เป็นต้น
  – คูมือแนวทางการจัดบริการสุขภาพจิตเด็กและ
      ่
    เยาวชน/การพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยสำาหรับอปท.
วิเคราะห์สถานการณ์วัย
                  ทำางาน
     ประชากรไทยวัยทำางาน มี 67.1% ในปี 2552
และคาดว่าจะมี 66% ในปี 2558
ปัญหาวัยแรงงาน
     - ปัญหาการฆ่าตัวตายสำาเร็จ เพศชายมากว่าเพศ
หญิง (อายุ 25–29 ปี)
     - ปัญหาการดืมสุรา (อายุ 30–40 ปี)
                  ่
 อัตราตายจากการฆ่าปี 2552 สมรส าแนก คู่
       - ปัญหาการหย่าร้าง ( ตัวตาย จำ 300,878
กลุ่มอายุ 2548 ) 2549ี 2548-2553 2552
 ตามกลุ่มอายุป 2550 2551
หย่า 109,277 คู่                            2553

25 – 59    5.4   4.9   4.8    4.8    4.7     4.6
วิเคราะห์สถานการณ์วัย
            ทำางาน
ภาวะสุขภาพจิตดีในกลุ่มอาชีพต่างๆ (
คะแนนเต็ม 45 คะแนน)




 ที่มา :  สำานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวง
 สาธารณสุข
วัยทำางาน
       ประเด็น                          สถานการณ์
กระทรวงสาธารณสุข
      กรมอนามัย              - ส่งเสริมสุขภาพร่างกายประชากรวัยทำางาน
                         โดยมุงเน้นส่งเสริมป้องกันด้านสุขภาพร่างกาย
                                ่
                         และอาชีวอนามัย
                             - HEALTHY WORKPLACE สถานที่ทำางาน
                         น่าอยู่ น่าทำางาน
      กรมสุขภาพจิต         - โปรแกรม EAP คัดกรอง ช่วยเหลือทางด้าน
                                              จิตใจ
                         - รณรงค์/ถ่ายทอดเรื่องสุขภาพจิตวัยทำางานและ
                                 สูงอายุ( สำานักสุขภาพจิตสังคม)
                           -พัฒนาโปรแกรมสุขภาพจิตในสถานประกอบ
                                 การ (สำานักพัฒนาสุขภาพจิต)
     สำานักงานกองทุน
   สร้างเสริมสวัสดิภาพ              HAPPY WORKPLACE
วิเคราะห์สถานการณ์
        วัยทำางาน
     ประเด็น                               สถานการณ์
กระทรวงแรงงาน          - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                   ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) เป้าหมายหลัก “คนเป็น
                   ศูนย์กลางในการพัฒนา” ได้แก่ ผู้ที่อยู่ในวัยแรงงาน ผู้ที่อยู่ใน
                   สถานประกอบการ ผู้ที่อยู่ในระบบกองทุนประกันสังคม ผู้ที่อยู่
                   ในกลุ่มแรงงานนอกระบบแรงงานไทยที่เดินทางไปทำางานใน
                   ต่างประเทศ แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำางานในประเทศไทย
                       - โรงงานสีขาว เพื่อปลอดยาเสพติด
                       - การพัฒนาฝีมือแรงงาน
                       - สวัสดิการสังคม(ด้านการว่างงานและการรักษาพยาบาล
กระทรวงพัฒนา       ฯลฯ)
    สังคมและความ
    มั่นคงของ      ป้องกันปัญหาความรุนแรง(ปี 2551) จัดตั้งสมัชชาครอบครัว(ปี
    มนุษย์         2554)
                   พัฒนาตำาบลต้นแบบตามรูปแบบสายใยรักแห่งครอบครัว และ
                   ศูนย์ 3 วัยสานสายใยรักแห่งครอบครัว
การสำารวจ IQ ของนักเรียน
            ไทย ปี 2554
• ค่าเฉลี่ยระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทย (IQ) ในภาพระดับ
  ประเทศ เท่ากับ 98.59 (ค่าเฉลี่ยปกติ 90 – 109) ซึงถือว่า
                                                    ่
  เป็นค่าระดับสติปัญญาที่อยูในเกณฑ์ปกติแต่ค่อนไปทางตำ่า
                            ่
• กรุงเทพมหานคร (IQ เฉลี่ย104.5) ภาคกลาง (IQ เฉลี่ย
  101.29) ภาคเหนือ (IQเฉลี่ย100.11) ภาคใต้ (IQเฉลี่ย
  96.85) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (IQ เฉลี่ย 95.99)
• เมือดูในภาพรวมของประเทศ พบว่า มีเด็กเกือบครึ่งหนึ่ง
     ่
  (48.5%) ที่มีปัญหาระดับสติปัญญาอยูในเกณฑ์ตำ่า (IQ<
                                        ่
  100)
• ประเทศยังมีเด็กกลุ่มที่มปัญหาระดับสติปัญญาบกพร่อง (IQ
                          ี
  < 70) อยูถึง 6.5% เมื่อเทียบกับมาตรฐานสากลคือ ไม่ควร
             ่
  เกิน 2%
• เด็กนักเรียนไทยเพศหญิงมี IQ เฉลี่ยสูงกว่าเด็กนักเรียนชาย
  (IQ=99.91 และ 97.69 ตามลำาดับ
• ครอบครัวอบอุ่น โภชนาการดี เรียนรู้อยู่ร่วมกับธรรมชาติ เล่น
  อย่างอิสระ อ่านสร้างจินตนาการ เรียนรู้จังหวะดนตรี และเล่น
อันดับ          จังหวัด     IQ
   1     นนทบุรี          108.91
   2     ระยอง            107.52
   3     ลำาปาง           106.62
   4     กรุงเทพฯ         104.50
   5     ชลบุรี           103.92
   6     สมุทรสาคร        103.73
   7     ตราด             103.51
   8     ปทุมธานี         103.34
   9     พะเยา            103.32
  10     ประจวบคีรขันธ์
                    ี     103.17
อันดับ          จังหวัด    IQ
  1
         นราธิวาส         88.07
  2
         ปัตตานี          91.06
  3
         ร้อยเอ็ด         91.65
  4
         อุบลราชธานี      93.51
  5
         สกลนคร           93.74
  6
         กาฬสินธุ์        93.78
  7
         กระบี่           93.85
  8
         หนองบัวลำาภู     94.06
  9
         กำาแพงเพชร       95.22
  10
         มหาสารคาม        95.28
• สุขภาพจิตคนไทย ตามลักษณะของ
  ประชากร
• สุขภาพจิตคนไทย ตามลักษณะทาง
  สังคม
• สุขภาพจิตคนไทย ตามสถานะทาง
  เศรษฐกิจของครัวเรือน
• องค์ประกอบหลักด้านสุขภาพจิตและ
  ลักษณะทีสำาคัญบางประการของ
          ่
• คะแนนสุขภาพจิต ปี 2551-2553 อยูที่ 31.80, 33.09 และ
                                       ่
  33.30 อยูในเกณฑ์มาตรฐานทั้ง 3 ปี
               ่
• สถานภาพทางเศรษฐกิจของครัวเรือน การศึกษาและความ
  อบอุ่นในครอบครัวมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับระดับสุขภาพ
  จิต คือ ผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่มรายได้/ค่าใช้จายสูง ผู้ที่มีการ
                                  ี             ่
  ศึกษาในระดับสูงและสมาชิกของครัวเรือนที่มีเวลาให้แก่กัน
  เพียงพอ จะมีคะแนนสุขภาพจิตสูง
• ภาคใต้ มีสุขภาพจิตดีกว่าภาคอื่นๆ และผู้ชายไทยมีสุขภาพ
  จิตดีกว่าผู้หญิง
• คนกลุ่มอายุ 40-59 ปี มีสุขภาพจิตสูงที่สุด
• ผู้มีสมรสมีระดับสุขภาพจิตสูงกว่าสถานภาพสมรสอื่นๆ
• ผู้ที่มีระดับความเคร่งศาสนาสูงมีแนวโน้มที่จะมีระดับสุขภาพ
  จิตสูง
• ครัวเรือนลูกจ้างที่ปฏิบัติงานวิชาชีพ/วิชาการ/บริหาร มี
อันดับ        จังหวัด     คะแนน
  1      พังงา          สุขภาพจิต
                           36.57
  2      ตรัง             36.38
  3      มหาสารคาม        36.34
  4      นราธิวาส         36.29
  5      ตาก              36.26
อันดับ         จังหวัด     คะแนน
  1      สมุทรสงคราม     สุขภาพจิต
                            28.25
  2      สมุทรปราการ       29.15
  3      ภูเก็ต            29.15
  4      สระแก้ว           29.92
  5      แม่ฮ่องสอน        29.96
จังหวัด   คะแนนสุขภาพ
พิจิตร               จิต
                    34.62

กำาแพงเพชร         33.22

นครสวรรค์          33.86

อุทยธานี
    ั              33.71

ชัยนาท             32.72
อัตราการฆ่าตัวตาย ปี 2554 ลดลงจากปี 2553
     จำานวน 38 จังหวัด คิดเป็น ร้อยละ 50
   อัตราการฆ่าตัวตาย ปี 2554 เพิ่มขึนจากปี 2553
                                    ้
       จำานวน 38 จังหวัด คิดเป็น ร้อยละ 50
การเปรียบเทียบอัตราการฆ่าตัวตายสำาเร็จ ปี พ.ศ. 2553
และ 2554 ของเขตตรวจราชการที่ 17
รหั จั ง หวั ด   อั ต ราฆ่ า ตั ว อั ต ราฯ เพิ ่ ม /
 ส               ตาย ปี 2554 ปี 2553 ลด

                 ชา หญิ รว
                 ย   ง  ม
                 11.   4.6   8.3
17 ตาก           94      1     3      8.99    -0.66
                 8.8   5.8   7.3
(อัตราหย่าร้างเฉลี่ย
               37.94)
     จังหวัด      อัตราหย่า
กำาแพงเพชร           ร้าง
                     31.59

นครสวรรค์           37.07

พิจิตร              38.30

อุทัยธานี           39.64

ชัยนาท              43.80
ลำาดั        โรค     ความชุก
 บ โรคจิตเภท
  1                    0.8

  2   โรควิตกกังวล     2.0

  3   โรคซึมเศร้า      2.7

  4   ปัญญาอ่อน        1.0

  5   ออทิสติก         0.09
ลำ า ดั                ปั ญ หาสุ ข ภาพจิ ต และจิ ต เวช           ความชุ ก (ร้ อ ย
      บ                                                                 ละ)

     1       โรคจิ ต (Psychotic disorder)                                 0.8

     2       โรควิ ต กกั ง วล (Anxiety disorder)

             2.1 โรควิ ต กกั ง วล (Generalized anxiety disorder)          0.9

             2.2 โรคอะโกราโฟเบี ย (Agoraphobia)                           0.5

             2.3 โรควิ ต กกั ง วลพานิ ก (Panic disorder)                  0.3

             2.4 Post traumatic disorder                                  0.3
                                รวมโรควิ ต กกั ง วล                       2.0

     3       โรคซึ ม เศร้ า

             3.1 โรคซึ ม เศร้ า ชนิ ด รุ น แรง (Major Depression)         2.4

             3.2 โรคซึ ม เศร้ า เรื ้ อ รั ง (Dysthymia)                  0.3

                                 รวมโรคซึ ม เศร้ า                        2.7

     4       Mental Retardation                                           1.0
    5    ออทิ ส ติ ก
ผลการสำารวจทางระบาดวิทยาสุขภาพจิตระดับประเทศ ปี 2551 กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธ
                                                              0.09
นโยบาย ให้มีทม MCATT
             ี
(Mental Health Crisis Assessment
and Treatment Team) ในพื้นทีทุก
                             ่
จังหวัด ในระดับอำาเภอและระดับจังหวัด
อย่างน้อยอำาเภอละ 1 ทีม
ทีม MCATT ระดับอำาเภอ อยู่
 ใน รพช.
องค์ประกอบของทีม
พยาบาล PG/ พยาบาลทั่วไปที่ปฏิบตงานด้านสุขภาพจิต
                              ั ิ
นักวิชาการสาธารณสุข
เจ้าหน้าที่ที่เกียวข้อง
                 ่
บทบาทหน้าที่ของทีม
    • ออกปฏิบัตงานร่วมกับทีมฝ่ายกาย เพื่อประเมิน
               ิ
    สถานการณ์ดานสุขภาพจิตของผู้ประสบภัย (ในช่วง
                 ้
    2 สัปดาห์แรกหลังเกิดเหตุการณ์)
    • จัดทีม MCATT ออกให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
    แก่ผู้ประสบภัยในพื้นที่
    • ถ่ายทอดความรู้และเป็นที่ปรึกษาแก่ รพ.สต. อสม.
ทีม MCATT ระดับจังหวัด อยู่ใน
 รพศ. / รพท.
องค์ประกอบของทีม
จิตแพทย์ / แพทย์
พยาบาล PG/ พยาบาลทั่วไปที่ปฏิบตงานด้านสุขภาพจิต
                              ั ิ
นักจิตวิทยา
นักสังคมสงเคราะห์
บทบาทหน้าที่ของทีม
  • ออกหน่วยประเมินคัดกรองและให้การช่วยเหลือ
  เยียวยาจิตใจแก่ผู้ประสบภัยในพื้นที่
  • ประสานและให้การสนับสนุนทีม MCATT ระดับอำาเภอ
  เพื่อช่วยเหลือเยียวยาจิตใจฯ(กรณีที่ระดับอำาเภอไม่
  สามารถรับมือได้)
  • ถ่ายทอดความรู้ในเรืองการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
                       ่
ม MCATT ของกรมสุขภาพจิต
องค์ประกอบของทีม
 • จิตแพทย์
 • พยาบาลจิตเวช
 • นักจิตวิทยา
 • นักสังคมสงเคราะห์
 • เภสัชกร
 • เจ้าหน้าที่ที่เกียวข้อง
                    ่ บทบาทหน้าที่ของทีม

  • เป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิตแก่ทีม MCATT ในพื้นที่
  • ดูแลผู้ประสบภัยกลุ่มเสี่ยงยุ่งยากซับซ้อนทีส่งต่อมา
                                              ่
  จากทีมในพื้นที่
  • ให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจครอบครัวผู้เสียชีวต  ิ
  • จัดบริการด้านสุขภาพจิตและกิจกรรมการมีส่วนร่วม
จำานวนพยาบาลวิชาชีพผู้ได้รับการพัฒนา
พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต
หลักสูตรเฉพาะทางการพยาบาลสุขภาพ
 เขต Service Plan 3 ปีงบประมาณ 2553
จิตและจิตเวช
  จังหวัด   สสจ. รพท รพช. รพจ. ว.พยา สอ.   รวม
                   .            บาล
 กำาแพงเ     1    2   3    -     -    -     6

 พชร
 นครสวร      1    -   6    20    -    1    28

 รค์ ิตร
 พิจ         -    2   3    -     -    -     5

 อุทัยธา     -    -   2    -     -    -     2

 นียนาท
 ชั          -    3   -    -     2    -     5

    รวม      2    7   14   20    2    1    46
จำานวนพยาบาลวิชาชีพผู้ได้รับการพัฒนา
  พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต
จังหวักสูตรเฉพาะทางการพยาบาลสุขภาพ
  หลั ดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ 2553
  จิตและจิตเวช สสจ. รพช. รพจ. สอ.
       อำาเภอ                     รวม
  โกรกพระ      -    1   -   -     1

  ตากฟ้า       -    1   -   -     1


  ตาคลี        -    1   -   -     1

  ท่าตะโก      -    2   -   1     3

  พยุหะคีรี    -        6   -     6

  ไพศาลี       -    1   -   -     1

  เมือง        1    -   -   -     1

        รวม    1    6   6   1    14
25
                 25

20

15

10
                     6
 5
                             2
                                     1         1         1           1        1       1
 0   พยุหะคีรี    เมือ ง   ตาคลี   ชุมแสง   หนองบัว   เก้าเลี้ยว   ไพศาลี   ลาดยาว   แม่วงก์
อำาเภอ รพ.       รพ รพศ. ว.พยาบ   ศูนย์   รวม
เก้าเลียว
       ้  สจ.    ช.
                  1        าล     สจ.      1
ชุมแสง           1                         1
ตาคลี            2                         2

พยุหะคีรี   23   1                  1     25

ไพศาลี           1                         1

เมือง                 5    1               6

แม่วงก์          1                         1

ลาดยาว           1                         1

หนองบัว          1                         1

 รวม        23   9   5     1       1      39
25
           25
20

15

10
                6
5
                     2
                           1      1     1     1     1     1
0
     พ ห รี เมื ง
      ยุ ะคี  อ     ตค เก้เลี้ ว ชุ แ ง ไ ศลี แ วง ลด า ห อ บั
                     า ลี า ย ม ส พ า ม่ ก์ า ยว น ง ว
กรเครือข่ายด้านสุขภาพจิต ภาคเหนือ
                                     ประเภทของ   ชื่อผูประสาน
                                                       ้
 ลำาดับ     ชือองค์กร
              ่          โทรศัพท์                                  อำาเภอ       จังหวัด
                                      หน่วยงาน        งาน
          โรงพยาบาล     086936387                 สุวมล เกิด
                                                     ิ
   1                                 สาธารณสุข                     ลานสัก       อุทยธานี
                                                                                   ั
          ลานสัก            5                        อินทร์
          รพ.สต.บ้าน                             อรชร เรืองธีร
   2                    056-205105   สาธารณสุข                     พยุหะคีรี    นครสวรรค์
          คลองโพธิ์                                 วงศา
                                                 นางมาลัย ชัย
   3      รพ.วัดโบสถ์   055291729    สาธารณสุข                     วัดโบสถ์     พิษณุโลก
                                                     กิจ
                                                  ว่าทีรอยตรี
                                                       ่ ้
          โรงพยาบาล
   4                    056-540026   สาธารณสุข    ดนัย พิทกษ์
                                                           ั        ทัพทัน      อุทยธานี
                                                                                   ั
          ทัพทัน
                                                    อรรณพ

          โรงพยาบาล                              นางสาวจินตนา
   5                        -        สาธารณสุข                     เก้าเลียว
                                                                          ้     นครสวรรค์
          เก้าเลี้ยว                               ศิรสัมพันธ์
                                                      ิ

          โรงพยาบาล                              นางผ่องพรรณ
   6                    056-614949   สาธารณสุข                    เมืองพิจิตร     พิจิตร
          พิจิตร                                 ธีระวัฒนศักดิ์
ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต
      ภาคกลาง
                                                       วุฒการ
                                                           ิ
ลำาดับ    ชื่อ-นามสกุล      ตำาแหน่ง      โทรศัพท์                อำาเภอ      จังหวัด
                                                        ศึกษา
                         พยาบาล
         จารุวรรณ                                                 ห้วยขวา   กรุงเทพมหาน
  1                      วิชาชีพชำานาญ
         ประดา                                                       ง           คร
                         การ
         อรวรรณ          นายแพทย์ทรง                              เมืองนน
  2                                                   ปริญญาเอก               นนทบุรี
         ศิลปกิจ         คุณวุฒิ                                   ทบุรี
                         พยาบาล
         อุ่นจิตร คุณา                                            คลองส     กรุงเทพมหาน
  3                      วิชาชีพชำานาญ
         รักษ์                                                     าน            คร
                         การ
                         พยาบาล
         พรทิพย์ วชิร                   0 2354                              กรุงเทพมหาน
  4                      วิชาชีพชำานาญ                ปริญญาตรี   พญาไท
         ดิลก                          8305-7                                    คร
                         การ
                         นักจิตวิทยา
         ชนิสา เวช                        0 2245                  ห้วยขวา   กรุงเทพมหาน
  5                      คลินกชำานาญ
                              ิ                       ปริญญาโท
         วิรุฬห์                         4601-5                      ง           คร
                         การพิเศษ
                         นายแพทย์         0 2437
         วีระพล อุณห                                              คลองส     กรุงเทพมหาน
  6                      ชำานาญการ       0200-8 ต่อ   ปริญญาเอก
         รัศมี                                                     าน            คร
                         พิเศษ           41
ชมรมญาติผู้ป่วยจิตเวช
- ภาคใต้
                         ชื ่ อ
ลำ า    ชื ่ อ จำ า นวน         โทรศั พ อำ า เ             จั ง ห
                        ประธา
ดั บ   ชมรม สมาชิ ก               ท์    ภอ                  วั ด
                          น
       ชมรม                           07331536    เมือง
 1                  52   นางรอซีดะ
                                 ๊                         ปัตตานี
       ทานตะวัน                           9      ปัตตานี
       สายใยรักษ์
       จาก               สำาเริง คน   056-1125   สุไหงโก   นราธิวา
 2                  15
       ชายแดน            สวย             25         -ลก      ส
       ใต้
                                      12346788    เมือง
 3     ออทิสติก     0                                       กระบี่
                                          8       กระบี่
       ชมรมผู้
       ปกครอง                                              นราธิวา
 4                  20                           จะแนะ
       ศิลปกรรม                                              ส
       บำาบัด
                                      12345678             นราธิวา
 5     ชื่อชมรม     55   Songsak                 บาเจาะ
ชมรมผู้ปกครองออทิสติก -
 ภาคกลาง
                                 ชื ่ อ
ลำ า                   จำ า นวน             โทรศั พ
         ชื ่ อ ชมรม            ประธา                  อำ า เภอ          จั ง หวั ด
ดั บ                   สมาชิ ก                ท์
                                  น

                                นาย
       อบรมเด็ ก                วิ เ ชี ย ร 035555    ดอนเจดี           สุ พ รรณบ
 1                       50
       ออทิ ส ติ ก              ดี เ ป็ น    022        ย์                  ุุ ร ี
                                ธรรม


       ผู ้ ป กครอง             ทรง         021587
 2                       34                           วั ด สิ ง ห์      ชั ย นาท
       ออที ส ติ ก              ศั ก ดิ ์    568


                                                       เมื อ ง
   เด็ ก ด้ อ ย                 สุ ล ิ น    123456                      ประจวบ
 3                       50                           ประจวบ
   โอกาส                        ดา            78
                                                      คี ร ี ข ั น ธ์
                                                                        คี ร ี ข ั น ธ์

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)45606
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54Watcharapong Rintara
 
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Pain clinic pnk
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 Utai Sukviwatsirikul
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 

What's hot (19)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
Kronggnan kuu
Kronggnan kuuKronggnan kuu
Kronggnan kuu
 
We can do palliative care
We can do palliative careWe can do palliative care
We can do palliative care
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
 
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
167895 article text-850909-1-10-20200623 (2)
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
 
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
Handoutการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย25ม.ค.53
 
Living wills1
Living wills1Living wills1
Living wills1
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 
Cpg and care map alcohol
Cpg and care map alcoholCpg and care map alcohol
Cpg and care map alcohol
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 

Similar to สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย

นำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptxนำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptxNattikornKummano
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยDMS Library
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยguestd1493f
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57หมอปอ ขจีรัตน์
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57หมอปอ ขจีรัตน์
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health PonetongNithimar Or
 
Region health plan_by region11
Region health plan_by region11Region health plan_by region11
Region health plan_by region11Chanavi Kremla
 
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...กันย์ สมรักษ์
 

Similar to สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย (20)

นำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptxนำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptx
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
samutprakan
samutprakansamutprakan
samutprakan
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
Region health plan_by region11
Region health plan_by region11Region health plan_by region11
Region health plan_by region11
 
5
55
5
 
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
 

สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย

  • 1. สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย กองแผนงาน กรมสุขภาพจิต 14 มิถุนายน 2555
  • 2. • ครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ • มีการจัดระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ตังแต่ระดับ ้ ปฐมภูมิ (Primary Care) บริการระดับทุตยภูมิ ิ (Secondary Care) และบริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) • การพัฒนาความเชียวชาญระดับสูง ่ • สร้างระบบทีเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายทั้งภายใน ่ จังหวัด ภายในเขตและเป็นเครือข่ายระดับประเทศ ด้วยระบบส่งต่อ (Referral System) โดยใช้หลักการ “เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ (Seamless Health
  • 3.
  • 4. เขตพื้นที่รับผิดชอบตามแผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ Cluster สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวช สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชเด็ก ผู้ใหญ่ 1 ชม./ชร./นน./ • โรงพยาบาลสวนปรุง • สถาบันพัฒนาการเด็กราช พย./พร./มส./ลป นครินทร์ ./ลพ. 2 พล./ตก./พบ./สข • โรงพยาบาลสวนปรุง • สถาบันพัฒนาการเด็กราช ./อต. นครินทร์ 3 นค./กพ./ชน./พ • รพจ.นครสวรรค์ราชนครินทร์ • สถาบันพัฒนาการเด็กราช จ./อท. นครินทร์ 4 นท./ นย./ปท./อย./ลพ • โรงพยาบาลศรีธัญญา • สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น ./สบ./สห./อท. ราชนครินทร์
  • 5. Claster สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชผู้ใหญ่ สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชเด็ก 5 นฐ./กญ./ปจ./พ •สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ • สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น บ./รบ./สส./ ราชนครินทร์ สค./สพ. 6 สก./จบ./ฉช./ช •รพจ.สระแก้วราชนครินทร์ • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ บ./ตร./ปจ./ รย./สป. 7 • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ ขก./กส./มห./ร •รพจ.ขอนแก่นราชนครินทร์ • สถาบันพัฒนาการเด็กภาค อ. ตะวันออกเฉียงเหนือ 8 • รพจ.นครพนมราชนครินทร์ • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ นพ./ลย./บก./ส • รพจ.เลยราชนครินทร์ • สถาบันพัฒนาการเด็กภาค กลฯ/นค./นบ./อ ตะวันออกเฉียงเหนือ ธ. 9 • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ นร./ชภ./พบ./บ •รพจ.นครราชสีมาราชนครินทร์ • สถาบันพัฒนาการเด็กภาค ร./สร. ตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 6. Claster สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชผู้ใหญ่ สถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวชเด็ก 10 • รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ อุบล/มห./ยส./ศก • โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ • สถาบันพัฒนาการเด็กภาค ./อจ. ตะวันออกเฉียงเหนือ 11 สร./กบ./ชพ./ • โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ • สถาบันราชานุกูล นร./ พง./ภก./รน. 12 สข./ตร./นธ./ • รพจ.สงขลาราชนครินทร์ • สถาบันราชานุกูล ปต./พท./ยล. /สต. กรุงเทพมหานคร • สถาบันจิตเวชศาสตร์ •สถาบันราชานุกูล สมเด็จเจ้าพระยา •รพ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์
  • 7. เป้าหมาย เพิ่มความ ประชาชนมี ลดความ หลัก / ตัว สุข ความสุข ทุกข์ 70% ของ อัตราการฆ่าตัวตายของ ชี้วัด ประชาชน ประชาชน ในแต่ละจังหวัดมี ในแต่ละจังหวัดลดลง ความสุข บุคคล – ครอบครัว – ชุมชน – สังคม เป้าหมาย : เด็กไทย 70 % มี IQ-EQ ไม่ตำ่ากว่ามาตรฐาน เป้าหมาย : เด็กไทย 70 % มี IQ-EQ ไม่ตำ่ากว่ามาตรฐาน เป้าหมาย : ประชาชน 70 % มีความสุข (มีสุขภาพจิตดี) เป้าหมาย : ประชาชน 70 % มีความสุข (มีสุขภาพจิตดี) 7
  • 8. • กำาหนดตัวชี้วัด / เป้าหมายที่สำาคัญตามนโยบายการ ดำาเนินงานสุขภาพจิต • ถ่ายระดับตัวชี้วัด / เป้าหมายการดำาเนินงานสู่หน่วย งานในสังกัดกรมฯ และระดับพื้นที่ • ปรับระบบการนิเทศ ติดตาม กำากับและประเมินผล ภายในกรมฯ • ปรับโครงสร้างการดำาเนินงาน - สำานักพัฒน์ฯ / กลุ่มที่ ปรึกษา / คณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายฯ • ปรับระบบสนับสนุน – ข้อมูลสารสนเทศ
  • 9. การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย ดี / เสี่ยง (ส่งเสริม-ป้องกัน) - ความสุข (สุขภาพจิต) ป่วย (รักษา-ฟื้นฟู) : อัตราการเข้าถึงบริการ - IQ / EQ - โรคจิต - ยาเสพติด / ความรุนแรง - โรคซึมเศร้า - ติดเกม / ท้องไม่พร้อม - โรควิตกกังวล - ความสุขในการทำางาน - ปัญญาอ่อน - RQ - ออทิสติก - ผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง ระบบเฝ้าระวัง • ขึ้นกับความสามารถของแต่ละ พ • ปัญหาแตกต่างแต่ละ พท. การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสุขภาพจิต • ปัญหา สจ. ต่างๆของ พท. ทรัพยากร เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล กิจกรรม จิตแพทย์ http://www.dbc.dmh.go.th ระบบเฝ้าระวังปัญหา สจภ โครงการบูรณาการงานสุข พยาบาล PG http://www.dmh.go.th/portal.html การสำารวจระบาดวิข่ายสู่ช และจิตเวชโดยเครือ ทยา ส พยาบาล ป.โท http://www.dmh.go.th/portal.html นักจิตวิทยา http://www.dmh.go.th/report/report1.asp นักสังคมสงเคราะห์ แบบทดสอบ EQ/RQ โครงการชุมชนต้นแบบ ผูปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิต ้ แบบทดสอบความเครียด ซึมเศร้า เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย โครงการ Data Center ของ องค์กรเครือข่ายด้านสุขภาพจิต ผู้ป่วยจิตเวช ทีม MCATT ระดับกรม จังหวัด อำาเภอ
  • 10. สถานการณ์เด็กและเยาวชน 1.ประชากรไทยปี 2553 (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) 17,382,376 27% юі ѣн ѥді ѯчд Ѷ 46,142,686 юі ѣн ѥді я Ѭ р ҕ Ѳ Җў 73% лѼ њ ю ѣн ѥді ъкў є ч ѥь ь і ҟ Ѥ зь
  • 11. สถานการณ์เด็กและเยาวชน ประชากรเด็กไทยจำาแนกตามกลุมอายุ ปี 2553 ่ (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) 4,801,846 3,877,114 28% 22% 4,017,963 - юѨ 4,675,453 23% - ю Ѩ 27% - ю Ѩ - ю Ѩ лѼ њ ю ѣн ѥді ѯчдъкў є ч ѥь ь і Ѷ Ѥ ҟ зь
  • 12. สถานการณ์เด็กและเยาวชน ประชากรเด็กไทยจำาแนกตามกลุมอายุและเพศ ประจำาปี 2553 ่ (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) 3,000,000 0 2,500,000 2,000,000 1,500,000 нѥѕ ѧ ўр к 1,000,000 500,000 0 - юѨ - юѨ - юѨ - юѨ
  • 13. สถานการณ์เด็กและเยาวชน 2.เด็กปฐมวัย : - พัฒนาการเด็ก (กลุมอนามัยแม่และเด็ก สำานักส่งเสริมสุขภาพ กรม ่ อนามัย) і Ѡ ј ѣе Ѡ ѯчдъє ё х ь ѥд ѥі ѝє њ Җѕ к Ѷ Ѩѷ ѨѤ Ѥ ѕ 85 80 75 70 і Ѡ ј ѣе Ѡ ѯчдъ є Ѩ Җѕ к Ѷ Ѩ ѷ 65 ё х ь ѥдѥі ѝє њ Ѥ Ѥ ѕ 60
  • 14. สถานการณ์เด็กและเยาวชน การสำารวจความลาดด้านอารมณ์ 2550 - เครื่องมือ แบบวัดความฉลาดด้านอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต - กลุ่มตัวอย่าง 6,872 คน ( เด็ก 3-5 ปี 2,573 คน เด็ก 6-11 ปี 4,299 คน) - เด็กส่วนใหญ่ อยู่ในเกณฑ์ปกติ - แต่ความฉลาดด้านอารมณ์เด็กวัย 3-5 ปี ปี 2550 มีคะแนนลดลงจากปี 2545 โดยรวม 9.47 คะแนน กลุ่มอายุ 6-11 ปี คะแนนเฉลี่ยโดยรวมลดลง 13.12 คะแนน ด้านที่ลดเป็นด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
  • 15. สถานการณ์เด็กและเยาวชน 3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น 3.1 ระดับสติปัญญา พ.ศ. 2544 พบว่า - เด็กวัยเรียนในกลุ่มอายุ 6-<13 ปี จำานวนตัวอย่าง 3,135 คน ร้อยละ 29.7 มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 59.9 มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ใน เกณฑ์ค่อนข้างตำ่า ค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์ปัญญาเด็กวัยเรียนทั้งหมดเท่ากับ 88.1+12.6 - เด็กวัยรุ่นอายุ 13-18 ปี จำานวนตัวอย่าง 3,150 คน ร้อยละ 26.6 มีระดับ เชาวน์ปัญญาอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 57.3 มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในเกณฑ์ ค่อนข้างตำ่า ค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์ปัญญาเด็กวัยรุ่นทั้งหมดเท่ากับ 86.7+13.9 (โครงการวิจัยแบบองค์รวมของเด็กไทย ปี พ.ศ. 2544 โดยใช้แบบทดสอบคัด กรองระดับเชาวน์ปัญญาชนิดไม่ใช้ภาษาที่มีชื่อว่า Test of Non-verbal Intelligence (TONI ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3))
  • 16. สถานการณ์เด็กและเยาวชน 3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น 3.1 ระดับสติปัญญา พ.ศ. 2545 พบว่า เด็กไทยจำานวนตัวอย่าง 3,300 คน มีค่าคะแนนเฉลี่ยของ ระดับเชาวน์ปัญญา (Full scale IQ) เท่ากับ 98.43 (Verbal IQ = 99.79 และ Performance IQ = 100.52) (งานวิจัยแบบทดสอบวัดความสามารถทางสติปัญญา Wechsler Intelligence Scale for Children (WISC-III) เพือสร้างเกณฑ์ปกติเด็กไทยอายุ 6-16 ปี ่ ระดับชาติ) พ.ศ. 2550 พบว่าเด็กไทยอายุ 3-11 ปี จำานวนตัวอย่าง 7,391 คน มีระดับ เชาวน์ปัญญาเฉลี่ย 103.09 ระดับอนุบาล 110.67 ระดับประถม 97.31 เด็กชาย 102.30 และเด็กหญิง 103.99 (กรมสุขภาพจิตสำารวจระดับสติปัญญาเด็ก 3-11 ปี โดยใช้แบบทดสอบวัด ระดับสติปัญญาสำาหรับคนไทย(เชาวน์เล็ก))
  • 17. สถานการณ์เด็กและเยาวชน 3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น 3.1 ระดับสติปัญญา พ.ศ. 2554 พบว่า เด็กนักเรียนไทยอายุ 6-15 ปี จำานวนตัวอย่าง 72,780 คน มี ค่าคะแนนเฉลี่ยของระดับเชาวน์ปัญญา 98.59 ซึ่งเป็นค่าที่อยู่ในเกณฑ์ปกติแต่ ค่อนไปทางตำ่ากว่าค่ากลางของมาตรฐานในยุคปัจจุบัน(IQ=100) (กรมสุขภาพจิต โครงการสำารวจสถานการณ์ระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทย โดยใช้แบบทดสอบสติปัญญา Standard Progressive Matrices :SPM parallel; updated 2003)
  • 18. สถานการณ์เด็กและเยาวชน 3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น 3.2 ติดเกม - พ.ศ. 2552 กรมสุขภาพจิตสำารวจพบว่า มีเด็กติดเกมขั้นรุนแรงมาก ถึงร้อยละ 9 ของนักเรียนประถมและมัธยมต้น เพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า ใน รอบ 3 ปี - พ.ศ. 2553 พบว่ามีเด็กติดเกมเพิ่มขึ้นเป็น 14.4 ในปี 2553 จาก ร้อยละ 13.3 ในปี 2551 (นพ.ชาญวิทย์และคณะ)
  • 19. สถานการณ์เด็กและเยาวชน 3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น 3.3 การทำาแท้ง - พ.ศ. 2551-2552 พบว่าวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี มีประวัติทำาแท้งใน 5 ปีที่ผ่านมา ร้อยละ 15.2 (เบญจพร ปัญญายงค์ อ้างอิงจาก สสท., 2552) - พ.ศ. 2553 พบว่าร้อยละ 25 ของวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ ร้อยละ 10 ตั้งครรภ์ ร้อยละ 50 เป็นแม่ ร้อยละ 50 ทำาแท้ง ร้อยละ 18.6 ของแม่วัย เยาว์คิดฆ่าตัวตาย ร้อยละ 12.4 เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และร้อยละ 12.7 สูบบุหรี่ระหว่างตั้งครรภ์ (ดร.วิชัย รูปขำาดี และคณะ, 2553)
  • 20. สถานการณ์เด็กและเยาวชน 3.เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น 3.4 ความรุนแรง 3.3.1 สถิติคดีของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนพบว่าตลอดช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (2544-2553) มีเด็กและเยาวชนไทยที่กระทำาความผิดใน - คดีเกี่ยวกับการกระทำารุนแรงต่อชีวิตร่างกายร้อยละ 13.07 (จาก 7 ฐาน ความผิด) - คดีความผิดเกี่ยวกับอาวุธ 7.39 (จาก 7 ฐานความผิด) - คดีความผิดเกี่ยวกับเพศ 4.74 (จาก 7 ฐานความผิด) (กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน) 3.3.2 พ.ศ. 2550 ผลวิจัยของโครงการติดตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชน รายจังหวัด (Child Watch) ที่ทำาการสำารวจในกลุ่มเด็กเยาวชน 150,000 คนทั่ว ประเทศ พบว่าเด็กนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา และอาชีวศึกษาทั้งในระดับ ทั้ง ในระดับ ปวช. และ ปวส. ตกอยู่ในวัฎจักร ของการใช้ความรุนแรง การใช้กำาลัง กันระหว่างเพื่อนนักเรียนด้วยกัน ประมาณ 1 ใน 10 หรือประมาณ 700,000 คน จากจำานวนนักเรียนในระดับมัธยม ศึกษา ปวช. และ ปวส.
  • 21. สถานการณ์ดานเด็กและเยาวชน ้ สถานการณ์การเข้าถึงบริการในกลุ่มเด็กป่วย 3.Mental Retardation อุบัติการณ์ร้อยละ 1 เข้าถึงบริการ • ระบบสาธารณสุข ประมาณ ร้อยละ 5.66 (35,959 คน, 2553) • ระบบการศึกษา (ร.ร.การศึกษาพิเศษ+ศูนย์การศึกษา พิเศษ) (15,961 คน,2553) 5.ออทิสติก อุบัติการณ์ร้อยละ 0.09 (2547) เข้าถึงบริการ ประมาณ ร้อยละ 1.64 (6,103 คน,2553) 7.ADHD (สมาธิสั้น) และ LD (บกพร่องการเรียนรู) พบจากผล ้ ONET ป.6 (2553) เด็กไม่ผานเกณฑ์ 50 คะแนน เป็น ADHD 2-8 ่ % LD 6-9.95%
  • 22. ระบาดวิทยาและความชุก โรคสมาธิสั้น • ทัวโลก อัตราความชุกของโรคสมาธิสั้น ่ ในเด็กวัยเรียนค่อนข้างหลากหลาย ตั้งแต่ตำ่ามากเพียงร้อยละ 1 จนถึงสูงมาก ประมาณ 20% – การรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก พบว่า มีความชุกของโรคร้อยละ 5.29 (Polanczyk, et al.,2007) – ผลการสำารวจจาก WHO (World Health Organization) ปี 2006 พบ ร้อยละ 5.9 – มีโอกาสมีอาการต่อเนื่อง จนถึงผู้ใหญ่ มากถึง 50% (Barkley, 1990; Glittelman,1985) – ในประเทศไทย ปี 2541 พบความชุกประมาณ 5% (เบญจพร และอลิสา, 2541)
  • 23. ระบาดวิทยาและ ความชุกโรค • ปี 2546; เด็กที่ตองคดีในสถานพินิจ ้ กรุงเทพมหานคร อายุ11-18 ปี – โรคสมาธิสั้นอย่างเดียว 28% – โรคสมาธิสั้นและนำาไปสู่ภาวะเกเร ก้าวร้าว (Conduct Disorder) ถึง 82 % (สุวรรณีและคณะ 2546) • โรคสมาธิสั้นมีความสัมพันธ์โดยตรงและมีโอกาสสูง ในการพัฒนาไปสู่ภาวะดือต่อต้าน (Oppositional ้ Defiant Disorder) และภาวะเกเร ก้าวร้าว (Conduct Disorder) เมือโตขึ้น (Angold, ่ Costello &Erkanli,1999) • เด็กสมาธิสั้น มีโอกาสกลายเป็นเด็กเกเรและต่อต้าน สังคม หลังอายุ 16 ปี ได้มากกว่าเด็กปกติ 3.5 - 4
  • 24. เครืองมือที่ใช้ในการดำาเนินงาน ่ • เครื่องมือในการทดสอบ – ไอคิว • แบบทดสอบวัดระดับสติปัญญาสำาหรับคนไทย(เชาวน์เล็ก) • แบบทดสอบสติปัญญา Standard Progressive Matrices :SPM parallel; updated 2003 – อีคิว • แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต – พัฒนาการ • แบบวัดพัฒนาการอนามัย 49 • คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี
  • 25. เครื่องมือที่ใช้ในการดำาเนินงาน • เครื่องมือในการทำางานในพื้นที่ – เทคโนโลยีการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย 3 กลุ่มวัย • วัยแรกเกิด-5 ปี เช่น 2 ก 2 ล, การพัฒนาไอคิวและอีคิวฯ คู่มือส่งเสริมพัฒนาการ เป็นต้น • วัยเรียน เช่น ครอบครัวสัมพันธ์, คู่มือการจัดกิจกรรมเสริม สร้างศักยภาพเด็กวัยเรียน เป็นต้น • วัยรุ่น เช่น ฉลาด 4 ด้าน เป็นต้น – คูมือแนวทางการจัดบริการสุขภาพจิตเด็กและ ่ เยาวชน/การพัฒนาสติปัญญาเด็กไทยสำาหรับอปท.
  • 26. วิเคราะห์สถานการณ์วัย ทำางาน ประชากรไทยวัยทำางาน มี 67.1% ในปี 2552 และคาดว่าจะมี 66% ในปี 2558 ปัญหาวัยแรงงาน - ปัญหาการฆ่าตัวตายสำาเร็จ เพศชายมากว่าเพศ หญิง (อายุ 25–29 ปี) - ปัญหาการดืมสุรา (อายุ 30–40 ปี) ่ อัตราตายจากการฆ่าปี 2552 สมรส าแนก คู่ - ปัญหาการหย่าร้าง ( ตัวตาย จำ 300,878 กลุ่มอายุ 2548 ) 2549ี 2548-2553 2552 ตามกลุ่มอายุป 2550 2551 หย่า 109,277 คู่ 2553 25 – 59 5.4 4.9 4.8 4.8 4.7 4.6
  • 27. วิเคราะห์สถานการณ์วัย ทำางาน ภาวะสุขภาพจิตดีในกลุ่มอาชีพต่างๆ ( คะแนนเต็ม 45 คะแนน) ที่มา :  สำานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวง สาธารณสุข
  • 28. วัยทำางาน ประเด็น สถานการณ์ กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย - ส่งเสริมสุขภาพร่างกายประชากรวัยทำางาน โดยมุงเน้นส่งเสริมป้องกันด้านสุขภาพร่างกาย ่ และอาชีวอนามัย - HEALTHY WORKPLACE สถานที่ทำางาน น่าอยู่ น่าทำางาน กรมสุขภาพจิต - โปรแกรม EAP คัดกรอง ช่วยเหลือทางด้าน จิตใจ - รณรงค์/ถ่ายทอดเรื่องสุขภาพจิตวัยทำางานและ สูงอายุ( สำานักสุขภาพจิตสังคม) -พัฒนาโปรแกรมสุขภาพจิตในสถานประกอบ การ (สำานักพัฒนาสุขภาพจิต) สำานักงานกองทุน สร้างเสริมสวัสดิภาพ HAPPY WORKPLACE
  • 29. วิเคราะห์สถานการณ์ วัยทำางาน ประเด็น สถานการณ์ กระทรวงแรงงาน - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) เป้าหมายหลัก “คนเป็น ศูนย์กลางในการพัฒนา” ได้แก่ ผู้ที่อยู่ในวัยแรงงาน ผู้ที่อยู่ใน สถานประกอบการ ผู้ที่อยู่ในระบบกองทุนประกันสังคม ผู้ที่อยู่ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบแรงงานไทยที่เดินทางไปทำางานใน ต่างประเทศ แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำางานในประเทศไทย - โรงงานสีขาว เพื่อปลอดยาเสพติด - การพัฒนาฝีมือแรงงาน - สวัสดิการสังคม(ด้านการว่างงานและการรักษาพยาบาล กระทรวงพัฒนา ฯลฯ) สังคมและความ มั่นคงของ ป้องกันปัญหาความรุนแรง(ปี 2551) จัดตั้งสมัชชาครอบครัว(ปี มนุษย์ 2554) พัฒนาตำาบลต้นแบบตามรูปแบบสายใยรักแห่งครอบครัว และ ศูนย์ 3 วัยสานสายใยรักแห่งครอบครัว
  • 30. การสำารวจ IQ ของนักเรียน ไทย ปี 2554 • ค่าเฉลี่ยระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทย (IQ) ในภาพระดับ ประเทศ เท่ากับ 98.59 (ค่าเฉลี่ยปกติ 90 – 109) ซึงถือว่า ่ เป็นค่าระดับสติปัญญาที่อยูในเกณฑ์ปกติแต่ค่อนไปทางตำ่า ่ • กรุงเทพมหานคร (IQ เฉลี่ย104.5) ภาคกลาง (IQ เฉลี่ย 101.29) ภาคเหนือ (IQเฉลี่ย100.11) ภาคใต้ (IQเฉลี่ย 96.85) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (IQ เฉลี่ย 95.99) • เมือดูในภาพรวมของประเทศ พบว่า มีเด็กเกือบครึ่งหนึ่ง ่ (48.5%) ที่มีปัญหาระดับสติปัญญาอยูในเกณฑ์ตำ่า (IQ< ่ 100) • ประเทศยังมีเด็กกลุ่มที่มปัญหาระดับสติปัญญาบกพร่อง (IQ ี < 70) อยูถึง 6.5% เมื่อเทียบกับมาตรฐานสากลคือ ไม่ควร ่ เกิน 2% • เด็กนักเรียนไทยเพศหญิงมี IQ เฉลี่ยสูงกว่าเด็กนักเรียนชาย (IQ=99.91 และ 97.69 ตามลำาดับ • ครอบครัวอบอุ่น โภชนาการดี เรียนรู้อยู่ร่วมกับธรรมชาติ เล่น อย่างอิสระ อ่านสร้างจินตนาการ เรียนรู้จังหวะดนตรี และเล่น
  • 31. อันดับ จังหวัด IQ 1 นนทบุรี 108.91 2 ระยอง 107.52 3 ลำาปาง 106.62 4 กรุงเทพฯ 104.50 5 ชลบุรี 103.92 6 สมุทรสาคร 103.73 7 ตราด 103.51 8 ปทุมธานี 103.34 9 พะเยา 103.32 10 ประจวบคีรขันธ์ ี 103.17
  • 32. อันดับ จังหวัด IQ 1 นราธิวาส 88.07 2 ปัตตานี 91.06 3 ร้อยเอ็ด 91.65 4 อุบลราชธานี 93.51 5 สกลนคร 93.74 6 กาฬสินธุ์ 93.78 7 กระบี่ 93.85 8 หนองบัวลำาภู 94.06 9 กำาแพงเพชร 95.22 10 มหาสารคาม 95.28
  • 33. • สุขภาพจิตคนไทย ตามลักษณะของ ประชากร • สุขภาพจิตคนไทย ตามลักษณะทาง สังคม • สุขภาพจิตคนไทย ตามสถานะทาง เศรษฐกิจของครัวเรือน • องค์ประกอบหลักด้านสุขภาพจิตและ ลักษณะทีสำาคัญบางประการของ ่
  • 34. • คะแนนสุขภาพจิต ปี 2551-2553 อยูที่ 31.80, 33.09 และ ่ 33.30 อยูในเกณฑ์มาตรฐานทั้ง 3 ปี ่ • สถานภาพทางเศรษฐกิจของครัวเรือน การศึกษาและความ อบอุ่นในครอบครัวมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับระดับสุขภาพ จิต คือ ผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่มรายได้/ค่าใช้จายสูง ผู้ที่มีการ ี ่ ศึกษาในระดับสูงและสมาชิกของครัวเรือนที่มีเวลาให้แก่กัน เพียงพอ จะมีคะแนนสุขภาพจิตสูง • ภาคใต้ มีสุขภาพจิตดีกว่าภาคอื่นๆ และผู้ชายไทยมีสุขภาพ จิตดีกว่าผู้หญิง • คนกลุ่มอายุ 40-59 ปี มีสุขภาพจิตสูงที่สุด • ผู้มีสมรสมีระดับสุขภาพจิตสูงกว่าสถานภาพสมรสอื่นๆ • ผู้ที่มีระดับความเคร่งศาสนาสูงมีแนวโน้มที่จะมีระดับสุขภาพ จิตสูง • ครัวเรือนลูกจ้างที่ปฏิบัติงานวิชาชีพ/วิชาการ/บริหาร มี
  • 35. อันดับ จังหวัด คะแนน 1 พังงา สุขภาพจิต 36.57 2 ตรัง 36.38 3 มหาสารคาม 36.34 4 นราธิวาส 36.29 5 ตาก 36.26
  • 36. อันดับ จังหวัด คะแนน 1 สมุทรสงคราม สุขภาพจิต 28.25 2 สมุทรปราการ 29.15 3 ภูเก็ต 29.15 4 สระแก้ว 29.92 5 แม่ฮ่องสอน 29.96
  • 37. จังหวัด คะแนนสุขภาพ พิจิตร จิต 34.62 กำาแพงเพชร 33.22 นครสวรรค์ 33.86 อุทยธานี ั 33.71 ชัยนาท 32.72
  • 38. อัตราการฆ่าตัวตาย ปี 2554 ลดลงจากปี 2553 จำานวน 38 จังหวัด คิดเป็น ร้อยละ 50 อัตราการฆ่าตัวตาย ปี 2554 เพิ่มขึนจากปี 2553 ้ จำานวน 38 จังหวัด คิดเป็น ร้อยละ 50 การเปรียบเทียบอัตราการฆ่าตัวตายสำาเร็จ ปี พ.ศ. 2553 และ 2554 ของเขตตรวจราชการที่ 17 รหั จั ง หวั ด อั ต ราฆ่ า ตั ว อั ต ราฯ เพิ ่ ม / ส ตาย ปี 2554 ปี 2553 ลด ชา หญิ รว ย ง ม 11. 4.6 8.3 17 ตาก 94 1 3 8.99 -0.66 8.8 5.8 7.3
  • 39. (อัตราหย่าร้างเฉลี่ย 37.94) จังหวัด อัตราหย่า กำาแพงเพชร ร้าง 31.59 นครสวรรค์ 37.07 พิจิตร 38.30 อุทัยธานี 39.64 ชัยนาท 43.80
  • 40. ลำาดั โรค ความชุก บ โรคจิตเภท 1 0.8 2 โรควิตกกังวล 2.0 3 โรคซึมเศร้า 2.7 4 ปัญญาอ่อน 1.0 5 ออทิสติก 0.09
  • 41. ลำ า ดั ปั ญ หาสุ ข ภาพจิ ต และจิ ต เวช ความชุ ก (ร้ อ ย บ ละ) 1 โรคจิ ต (Psychotic disorder) 0.8 2 โรควิ ต กกั ง วล (Anxiety disorder) 2.1 โรควิ ต กกั ง วล (Generalized anxiety disorder) 0.9 2.2 โรคอะโกราโฟเบี ย (Agoraphobia) 0.5 2.3 โรควิ ต กกั ง วลพานิ ก (Panic disorder) 0.3 2.4 Post traumatic disorder 0.3 รวมโรควิ ต กกั ง วล 2.0 3 โรคซึ ม เศร้ า 3.1 โรคซึ ม เศร้ า ชนิ ด รุ น แรง (Major Depression) 2.4 3.2 โรคซึ ม เศร้ า เรื ้ อ รั ง (Dysthymia) 0.3 รวมโรคซึ ม เศร้ า 2.7 4 Mental Retardation 1.0 5 ออทิ ส ติ ก ผลการสำารวจทางระบาดวิทยาสุขภาพจิตระดับประเทศ ปี 2551 กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธ 0.09
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46. นโยบาย ให้มีทม MCATT ี (Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team) ในพื้นทีทุก ่ จังหวัด ในระดับอำาเภอและระดับจังหวัด อย่างน้อยอำาเภอละ 1 ทีม
  • 47. ทีม MCATT ระดับอำาเภอ อยู่ ใน รพช. องค์ประกอบของทีม พยาบาล PG/ พยาบาลทั่วไปที่ปฏิบตงานด้านสุขภาพจิต ั ิ นักวิชาการสาธารณสุข เจ้าหน้าที่ที่เกียวข้อง ่ บทบาทหน้าที่ของทีม • ออกปฏิบัตงานร่วมกับทีมฝ่ายกาย เพื่อประเมิน ิ สถานการณ์ดานสุขภาพจิตของผู้ประสบภัย (ในช่วง ้ 2 สัปดาห์แรกหลังเกิดเหตุการณ์) • จัดทีม MCATT ออกให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ แก่ผู้ประสบภัยในพื้นที่ • ถ่ายทอดความรู้และเป็นที่ปรึกษาแก่ รพ.สต. อสม.
  • 48. ทีม MCATT ระดับจังหวัด อยู่ใน รพศ. / รพท. องค์ประกอบของทีม จิตแพทย์ / แพทย์ พยาบาล PG/ พยาบาลทั่วไปที่ปฏิบตงานด้านสุขภาพจิต ั ิ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ บทบาทหน้าที่ของทีม • ออกหน่วยประเมินคัดกรองและให้การช่วยเหลือ เยียวยาจิตใจแก่ผู้ประสบภัยในพื้นที่ • ประสานและให้การสนับสนุนทีม MCATT ระดับอำาเภอ เพื่อช่วยเหลือเยียวยาจิตใจฯ(กรณีที่ระดับอำาเภอไม่ สามารถรับมือได้) • ถ่ายทอดความรู้ในเรืองการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ่
  • 49. ม MCATT ของกรมสุขภาพจิต องค์ประกอบของทีม • จิตแพทย์ • พยาบาลจิตเวช • นักจิตวิทยา • นักสังคมสงเคราะห์ • เภสัชกร • เจ้าหน้าที่ที่เกียวข้อง ่ บทบาทหน้าที่ของทีม • เป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิตแก่ทีม MCATT ในพื้นที่ • ดูแลผู้ประสบภัยกลุ่มเสี่ยงยุ่งยากซับซ้อนทีส่งต่อมา ่ จากทีมในพื้นที่ • ให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจครอบครัวผู้เสียชีวต ิ • จัดบริการด้านสุขภาพจิตและกิจกรรมการมีส่วนร่วม
  • 50.
  • 51.
  • 52. จำานวนพยาบาลวิชาชีพผู้ได้รับการพัฒนา พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต หลักสูตรเฉพาะทางการพยาบาลสุขภาพ เขต Service Plan 3 ปีงบประมาณ 2553 จิตและจิตเวช จังหวัด สสจ. รพท รพช. รพจ. ว.พยา สอ. รวม . บาล กำาแพงเ 1 2 3 - - - 6 พชร นครสวร 1 - 6 20 - 1 28 รค์ ิตร พิจ - 2 3 - - - 5 อุทัยธา - - 2 - - - 2 นียนาท ชั - 3 - - 2 - 5 รวม 2 7 14 20 2 1 46
  • 53.
  • 54. จำานวนพยาบาลวิชาชีพผู้ได้รับการพัฒนา พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต จังหวักสูตรเฉพาะทางการพยาบาลสุขภาพ หลั ดนครสวรรค์ ปีงบประมาณ 2553 จิตและจิตเวช สสจ. รพช. รพจ. สอ. อำาเภอ รวม โกรกพระ - 1 - - 1 ตากฟ้า - 1 - - 1 ตาคลี - 1 - - 1 ท่าตะโก - 2 - 1 3 พยุหะคีรี - 6 - 6 ไพศาลี - 1 - - 1 เมือง 1 - - - 1 รวม 1 6 6 1 14
  • 55.
  • 56.
  • 57. 25 25 20 15 10 6 5 2 1 1 1 1 1 1 0 พยุหะคีรี เมือ ง ตาคลี ชุมแสง หนองบัว เก้าเลี้ยว ไพศาลี ลาดยาว แม่วงก์
  • 58. อำาเภอ รพ. รพ รพศ. ว.พยาบ ศูนย์ รวม เก้าเลียว ้ สจ. ช. 1 าล สจ. 1 ชุมแสง 1 1 ตาคลี 2 2 พยุหะคีรี 23 1 1 25 ไพศาลี 1 1 เมือง 5 1 6 แม่วงก์ 1 1 ลาดยาว 1 1 หนองบัว 1 1 รวม 23 9 5 1 1 39
  • 59. 25 25 20 15 10 6 5 2 1 1 1 1 1 1 0 พ ห รี เมื ง ยุ ะคี อ ตค เก้เลี้ ว ชุ แ ง ไ ศลี แ วง ลด า ห อ บั า ลี า ย ม ส พ า ม่ ก์ า ยว น ง ว
  • 60. กรเครือข่ายด้านสุขภาพจิต ภาคเหนือ ประเภทของ ชื่อผูประสาน ้ ลำาดับ ชือองค์กร ่ โทรศัพท์ อำาเภอ จังหวัด หน่วยงาน งาน โรงพยาบาล 086936387 สุวมล เกิด ิ 1 สาธารณสุข ลานสัก อุทยธานี ั ลานสัก 5 อินทร์ รพ.สต.บ้าน อรชร เรืองธีร 2 056-205105 สาธารณสุข พยุหะคีรี นครสวรรค์ คลองโพธิ์ วงศา นางมาลัย ชัย 3 รพ.วัดโบสถ์ 055291729 สาธารณสุข วัดโบสถ์ พิษณุโลก กิจ ว่าทีรอยตรี ่ ้ โรงพยาบาล 4 056-540026 สาธารณสุข ดนัย พิทกษ์ ั ทัพทัน อุทยธานี ั ทัพทัน อรรณพ โรงพยาบาล นางสาวจินตนา 5 - สาธารณสุข เก้าเลียว ้ นครสวรรค์ เก้าเลี้ยว ศิรสัมพันธ์ ิ โรงพยาบาล นางผ่องพรรณ 6 056-614949 สาธารณสุข เมืองพิจิตร พิจิตร พิจิตร ธีระวัฒนศักดิ์
  • 61. ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต ภาคกลาง วุฒการ ิ ลำาดับ ชื่อ-นามสกุล ตำาแหน่ง โทรศัพท์ อำาเภอ จังหวัด ศึกษา พยาบาล จารุวรรณ ห้วยขวา กรุงเทพมหาน 1 วิชาชีพชำานาญ ประดา ง คร การ อรวรรณ นายแพทย์ทรง เมืองนน 2 ปริญญาเอก นนทบุรี ศิลปกิจ คุณวุฒิ ทบุรี พยาบาล อุ่นจิตร คุณา คลองส กรุงเทพมหาน 3 วิชาชีพชำานาญ รักษ์ าน คร การ พยาบาล พรทิพย์ วชิร 0 2354 กรุงเทพมหาน 4 วิชาชีพชำานาญ ปริญญาตรี พญาไท ดิลก 8305-7 คร การ นักจิตวิทยา ชนิสา เวช 0 2245 ห้วยขวา กรุงเทพมหาน 5 คลินกชำานาญ ิ ปริญญาโท วิรุฬห์ 4601-5 ง คร การพิเศษ นายแพทย์ 0 2437 วีระพล อุณห คลองส กรุงเทพมหาน 6 ชำานาญการ 0200-8 ต่อ ปริญญาเอก รัศมี าน คร พิเศษ 41
  • 62. ชมรมญาติผู้ป่วยจิตเวช - ภาคใต้ ชื ่ อ ลำ า ชื ่ อ จำ า นวน โทรศั พ อำ า เ จั ง ห ประธา ดั บ ชมรม สมาชิ ก ท์ ภอ วั ด น ชมรม 07331536 เมือง 1 52 นางรอซีดะ ๊ ปัตตานี ทานตะวัน 9 ปัตตานี สายใยรักษ์ จาก สำาเริง คน 056-1125 สุไหงโก นราธิวา 2 15 ชายแดน สวย 25 -ลก ส ใต้ 12346788 เมือง 3 ออทิสติก 0 กระบี่ 8 กระบี่ ชมรมผู้ ปกครอง นราธิวา 4 20 จะแนะ ศิลปกรรม ส บำาบัด 12345678 นราธิวา 5 ชื่อชมรม 55 Songsak บาเจาะ
  • 63. ชมรมผู้ปกครองออทิสติก - ภาคกลาง ชื ่ อ ลำ า จำ า นวน โทรศั พ ชื ่ อ ชมรม ประธา อำ า เภอ จั ง หวั ด ดั บ สมาชิ ก ท์ น นาย อบรมเด็ ก วิ เ ชี ย ร 035555 ดอนเจดี สุ พ รรณบ 1 50 ออทิ ส ติ ก ดี เ ป็ น 022 ย์ ุุ ร ี ธรรม ผู ้ ป กครอง ทรง 021587 2 34 วั ด สิ ง ห์ ชั ย นาท ออที ส ติ ก ศั ก ดิ ์ 568 เมื อ ง เด็ ก ด้ อ ย สุ ล ิ น 123456 ประจวบ 3 50 ประจวบ โอกาส ดา 78 คี ร ี ข ั น ธ์ คี ร ี ข ั น ธ์