SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
สถานการณ์ภัย
สารตะกั่วเป็นพิษ
รอบตัวเด็กราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่ง
ประเทศไทย
 สถานการณ์สิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ รอบตัว
เด็ก
 สูงกว่าค่ามาตรฐานสากล
 มีความสัมพันธ์กับ BLL
 สถานการณ์ BLL
 พบความเสี่ยงทั่วไป
 ของเล่น เครื่องเล่นสนาม
 แทงค์นำ้า หม้อก๋วยเตี๋ยวที่มีการซ่อมแซม
 สีนำ้ามัน
 พบความเสี่ยงเฉพาะ ในครัวเรือน และ ในชุมชน มี
ความสัมพันธ์กับ BLL
 ครัวเรือน
 ภาชนะใส่อาหาร
 อาชีพ: เรียงพิมพ์ หล่อกรอบพระ ทาสีเรือ ถ้วยชามเบญจรงค์
 ชุมชน
 เหมืองแร่ อุตสาหกรรม
ปัจจุบันเราพบว่าของ
เล่นราคาถูกมีสาร
ตะกั่วปนเปื้อนร้อยละ
8
Racing
swingeing
ITEM
NO.221
2-12A
LIMI
T
(PP
M)
TOTAL
LEAD
3241* 600
SOL.
BARIUM
228 100
0
SOL. LEAD 448* 90
SOL.
CADMIUM
<5 75
SOL.
ANTIMONY
37 60
Waregame ITEM
NO
LIMI
T
(PP
M)
TOTAL
LEAD
8173* 600
SOL.
BARIUM
34 100
0
SOL. LEAD 522* 90
SOL.
CADMIUM
<5 75
SOL.
ANTIMONY
<5 60
SOL. <5 500
ITEM
NO
LIMI
T
(PP
M)
TOTAL
LEAD
1573* 600
SOL.
BARIUM
79 100
0
SOL. LEAD 165* 90
SOL.
CADMIUM
<5 75
SOL.
ANTIMONY
<5 60
SOL.
SELENIUM
<5 500
ITEM
NO.
3518
A
LIMI
T
(PPM
)
TOTAL
LEAD
2570
*
600
SOL.
BARIUM
269 100
0
SOL. LEAD 346* 90
SOL.
CADMIUM
<5 75
SOL.
ANTIMONY
<5 60
SOL. <5 500
มูลนิธิบูรณะนิเวศ
 สีพลาสติกทุกตัวอย่างมีปริมาณตะกั่วตำ่า (น้อย
กว่า 90 ppm).
 สีนำ้ามันร้อยละ 47.1 % (8 ตัวอย่าง) มีปริมาณ
ตะกั่วสูงกว่า 90/600 ppm.
ICLPPP
ตรวจสารตะกั่วรอบตัวเด็ก
ศูนย์เด็กเล็ก 17 ศูนย์รอบกทม
ICLPPP
Chantima Chaipan, MD
Adisak Plitponkarnpim, MD, MPH
04/11/2009
ICLPPP
ICLPPP
โต๊ะ สี
เทียน ดิน
นำ้ามัน ถ้วย
ชาม สนาม
เด็กเล่น
เครื่องเล่น
ICLPPP
ถาดอาหาร
แทงค์นำ้า
หม้อ นำ้าดื่ม
ICLPPP
ศูน
ย์
สิ่งตรวจพบความผิด
ปกติ
ระดับสาร
ตะกั่ว(มก/กก)
1 สีทาประตู(สีดำา) สีที่รั้ว
ลูกกรง(สีเหลือง)
<5; 195; 406 (2/3)
2 สีทาในห้องเรียน (สีเหลือง) <5; 287 (1/2)
3 สีทาผนัง (สีดำา) 176 (1/1)
4 สีทาผนังหน้าห้องเรียน (สี
ฟ้า ส้ม)
960 (1/1)
5 สีทากำาแพงห้อง(สีขาว) รั้ว
เข้าห้อง(สีแดง)
<5; 1,617 (1/2)
6 สีทาผนัง (สีนำ้าตาล)
สีเคลือบโต๊ะสีแดง
414 (1/1)
216
<5; 4,212 (1/2)
ICLPPP
ศูน
ย์
ระดับสารตะกั่ว
ครั้ง 1
soluble
(มก/กก)
ระดับสารตะกั่ว
ครั้ง 2
(มก/กก) Total
ระดับสาร
ตะกั่วครั้ง 2
(มก/กก)
soluble
1 <5; 195; 406 (2/3) 1,928-33,250
(5/5)
39 -908
(4/8)
2 <5; 287 (1/2) 1,220-4,953
(2/2)
16-4,012
(7/8)
3 176 (1/1) 128-712 (1/4) 86-460 (5/8)
4 960 (1/1) <10-49 (0/2) <5- 2,389
(3/8)
5 <5; 1,617 (1/2) 330-1,696
(2/3)
51-3,375
(1/4)
414 (1/1)
 คณะรัฐมนตรียังมีมติเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.
๒๕๕๖ รับรองข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติได้จัดทำาข้อเสนอต่อรัฐบาลเรื่อง
“ตะกั่วในสีทาอาคาร: ”ภัยที่ป้องกันได้ เมื่อเดือน
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ขอให้มีการกำาหนด
มาตรฐานบังคับเรื่องปริมาณสารตะกั่วในสีนำ้ามัน
ทาอาคารภายในสิ้นปี พ.ศ. ๒๖๖๕
 และเสนอให้สถาบันการศึกษาของรัฐทั้งหมดใช้
เฉพาะสีที่มีสารตะกั่วไม่เกิน ๙๐ พีพีเอ็ม รวมไปถึง
การเสนอให้สำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้
 ขณะนี้ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
และสำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
(สคบ.) กำาลังดำาเนินการปรับปรุงมาตรฐานปริมาณ
สารตะกั่วในผลิตภัณฑ์สีทาอาคารและการปรับปรุง
ข้อกำาหนดว่าด้วยฉลากผลิตภัณฑ์สี
 ปีพ.ศ. 2542 และพ.ศ. 2545 สุวรรณา เรือ
งกาญจนเศรษฐ์ และคณะ ได้ศึกษาระดับ
ตะกั่วในเลือดของเด็กตั้งแต่แรกคลอดถึง
อายุ 15 ปี ในเขตกรุงเทพ
 พบเด็กที่มีระดับตะกั่วสูงกว่า 10
ไมโครกรัม/เดซิลิตรเพิ่มขึ้นตามอายุ คือ ที่
แรกคลอด อายุ 2 ปี อนุบาล และประถม
ศึกษาตอนต้น พบร้อยละ 1, 6, 10, และ 27.4
 ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ อาศัยอยู่ในเขต
กรุงเทพมหานคร เพศชาย มารดาทำางาน
รับจ้าง รายได้ครอบครัวน้อยกว่าเดือนละ
 ปีพ.ศ. 2548 จุฬธิดา โฉมฉาย และคณะ
โดยศึกษาระดับตะกั่วในเลือดของเด็กอายุ 6
เดือนถึง 4 ปี จำานวน 296 ราย ในเขต
คลองเตยและชุมชนใกล้โรงพยาบาลศิริราช
กรุงเทพมหานคร
 พบเด็กที่มีระดับตะกั่วสูงกว่า 10
ไมโครกรัม/เดซิลิตรอยู่ร้อยละ 8.1
 โดยชุมชนคลองเตยมีความชุกถึงร้อยละ
12.5
 ระดับตะกั่วเฉลี่ยในเด็กที่อยู่ในชุมชนใกล้
โรงพยาบาลศิริราช 5.11+ 3.31
ไมโครกรัม/เดซิลิตร เด็กในชุมชนคลองเตย
 เด็กหญิงอายุ 8 เดือน อาศัยที่โรงงานตำาบล
มหาชัย อำาเภอเมืองสมุทรสาคร ได้เข้ารับการ
รักษาที่โรงพยาบาลสมุทรสาครตั้งแต่วันที่ 25
มิย 2555 เนื่องจากมีอาการชักเกร็งทั้งตัว โดย
ก่อนหน้านี้ตัวเด็กเองมีอาการซึมลงอย่างเห็นได้
ชัดเป็นเวลา3วันก่อนเข้ารับทั้งนี้หลังจากตรวจ
ร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
แล้วแพทย์ลงความเห็นว่า เด็กน่าจะมีอาการชัก
จากการได้รับสารพิษตะกั่ว
 ระหว่างเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจังหวัด
สมุทรสาคร เด็กยังมีอาการชักเป็นระยะๆ ต้อง
ให้ยาเพื่อควบคุมการชักอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับ
 หลังจากที่เด็กได้ถูกส่งตัวมาที่โรงพยาบาล
รามาธิบดีแล้ว เด็กได้รับการรักษาในหอผู้
ป่วยวิกฤติ( ICU) โดยยังต้องให้เครื่องช่วย
หายใจ และต้องให้ยาควบคุมอาการชัก
อย่างต่อเนื่อง พร้อมกันนี้ ได้ส่งตรวจระดับ
สารตะกั่วในเลือด พบว่ามีค่าสูงถึง 166
mcg/dL(ปกติไม่เกิน 10 mcg/dL) จึงเริ่ม
ให้ยาเพื่อขับสารตะกั่วในร่างกาย ช่วงที่
เด็กเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล
รามาธิบดีก็พบว่าเด็กมีปัญหาระบบการ
หายใจล้มเหลว ระบบการแลกเปลี่ยน
 อนุสัญญาบาเซล
เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของของเสียอันตรายและการ
กำาจัด
ความเป็นมา
ปัญหาการลักลอบนำาของเสียอันตรายไปทิ้ง หรือกำาจัดทำาลายในประเทศด้อยพัฒนา ซึ่งก่อ ให้เกิดผลก
ระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ทำาให้โครงการสิ่งแวดล้อมแห่ง สหประชาชาติ
(UNEP) ร่วมกับผู้แทนจากประเทศสมาชิก ได้จัดทำาอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้าย
ข้ามแดนของของเสียอันตรายและการกำาจัด (Basel Convention on the Control of Transbou
ndary Movements of Hazardous Wastes and their Disposal) อนุสัญญาบาเซล ได้เปิดให้
ประเทศต่าง ๆ ลงนามเข้าร่วมเป็นภาคีได้ ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม 2533 อนุสัญญาบาเซล มีผลบังคับ
ใช้เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2535
 วัตถุประสงค์
เพื่อกำาหนดข้อตกลงระหว่างประเทศในการควบคุมการนำาเข้า การส่งออก การนำาผ่าน พร้อมทั้งการ
จัดการของเสียอันตรายให้มีความปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ และสิ่ง
แวดล้อม อีกทั้งเป็นการป้องกันการขนส่งที่ผิดกฎหมาย
หลักการดำาเนินงานของอนุสัญญาบาเซล
 บทบาทของประเทศไทยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่
8 กรกฎาคม 2540 เห็นชอบกับการกำาหนดหน้าที่
ของหน่วยงานต่างๆที่จะรับผิดชอบ ในการปฎิบัติ
ตามข้อบัญญัติแห่งอนุสัญญาบาเซล โดยให้กรม
ควบคุมมลพิษปฏิบัติงานในฐานะ " ศูนย์ประสาน
งาน " ( Focal Point) กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ปฏิบัติงานในฐานะ " หน่วยงานผู้มีอำานาจ
" (Competent Authority) หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง มีหน้าที่รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ได้แก่ กรมศุลกากร กรมการขนส่งทางนำ้าและ
พาณิชย์นาวี การท่าเรือแห่งประเทศไทย กรมการ
ผลการตรวจเลือดในโรงเรียนผลการตรวจเลือดในโรงเรียน
สารตะกั่วสูงสารตะกั่วสูง 7373 คนใน เด็กคนใน เด็ก 165165 คนคน
Blood lead level in Ban Nong Had Yai School in August 2012
High BLL = 73/165 = 44.2%
Athipat Athipongarporn, MD.
Advisor: Assoc. Prof. Adisak Plitponkarnpim, MD.
Co-Advisors :Chatchai Im-arom, MD.
Ratchaneewan Sinitkul, MD.
Sakda Arj-ong Vallipakorn, MD.,PhD.
ที่ 1 สำารวจพื้นที่ กุมภาพันธ์ 2556ครั้งที่ 2 เก็บสิ่งส่งตรวจ
แบบสอบถาม (Pilot
study) ตรวจ IQ
กุมภาพันธ์ 2556
DELTA Lead Paint Handheld XRF Analyzer (OLYMPUS)
ก็บข้อมูลสิ่งแวดล้อมโดยใช้เครื่องมือและทำาแบบสอบถาม
http://www.olympus-ims.com
สิ่งส่ง
ตรวจ
ค่ามาตรฐาน
(ppm)
สีทาบ้าน 100
ฝุ่น
บริเวณ
บ้าน
400
ดิน
บริเวณ
บ้าน
400
USEPA. 2001. Lead: Identification of dangerous
levels of lead. Final rule. 40CFR Part 745. Fed.
Regist. 66. USEPA, Washington, DC.
Factory
School
100m
350 meters
3,000 meters
 School duration and home duration
Factors Group Odds ratio
(95%CI)
p-value
Blood lead level
≥10 μg/dl n(%)
Blood lead level
≤ 10 μg/dl n(%)
1. School duration
≥4 ปี 42 (77.8) 19 (35.2) 5.52 (2.24-13.63) <0.001*
2. Home duration
≥6 ปี 42 (75.0) 25 (46.3) 3.48 (1.49-8.13) 0.002*
 Father’s and mother’s occupation
Factors Group Odds ratio
(95%CI)
p-value
Blood lead level
≥10 μg/dl n(%)
Blood lead level
≤ 10 μg/dl n(%)
3.Father’s
occupation
Associated with lead
27 (48.2) 17 (31.5) 1.77 (0.78-4.01) 0.097
4.Mother’s
occupation
Associated with lead 18 (32.1) 11 (20.4) 1.92 (0.79-4.66) 0.31
Factors Group Odds ratio
(95%CI)
p-value
Blood lead level
≥10 μg/dl n(%)
Blood lead level
≤ 10 μg/dl n(%)
Distance
≤ 350 m
> 350 m
42
14
32
22
2.06 (0.91-4.64) 0.079
Factors Coefficient Odds ratio 95% CI p-value
School duration ≥ 4 y 1.80 6.04 2.57-14.22 < 0.001
Father’s occupation
related with lead
0.89 2.42 1.01-5.78 0.046
 IQ
IQ N (person)
< 90
Low normal ( IQ 80-89)
Borderline (IQ 70-79)
Mental retardation ( IQ ≤ 69)
5/25 = 20%
4
0
1
Duangduan Chinrungrat, The validity of wide range achievement test . 2009
สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์. ระดับสติปัญญานักเรียนไทย.2010
 Learning disability in high BLL > 15 mcg/dl among
children≥ grade3 (n=17)
 Prevalence of learning disability in Thailand
= 5 - 29.31% Lieven Lagae, Learning Disabilities.2008
Duangduan Chinrungrat, The validity of wide range achievement test . 2009
Winadda Piyasil, Learning disability. 2006
Group N (person)
Learning disability 9 (53%)
• reading 6 (35%)
• writing 9 (53%)
• mathematic 7 (41%)
0 1
8 พ.ค 57 68 8 76
89.5% 10.5%
8 พ.ค 57 12 3 15
80.0% 20.0%
12 พ.ค 57 24 10 34
70.6% 29.4%
12 พ.ค 57 22 1 23
95.7% 4.3%
12 พ.ค 57 25 1 26
96.2% 3.8%
15 พ.ค 57 27 3 30
90.0% 10.0%
21 พ.ค 57 8 1 9
88.9% 11.1%
186 27 213
87.3% 12.7%
Total
รพสต รพ.สต.คอกกระบือ
รพ.สต.กระทุ่มแบน
รพ.สต.โพธิ์แจ้
รพ.สต.บางนำ้าจืด
รพ.สต.นาดี
รพ.สต.สวนหลวง
ทต.นาดี
Pb>10
Total
P = .041
0 1
8 พ.ค 57 49 27 76
64.5% 35.5%
8 พ.ค 57 9 6 15
60.0% 40.0%
12 พ.ค 57 17 17 34
50.0% 50.0%
12 พ.ค 57 10 13 23
43.5% 56.5%
12 พ.ค 57 21 5 26
80.8% 19.2%
15 พ.ค 57 22 8 30
73.3% 26.7%
21 พ.ค 57 5 4 9
55.6% 44.4%
133 80 213
62.4% 37.6%
รพ.สต.นาดี
รพ.สต.สวนหลวง
ทต.นาดี
Total
Pb>5
Total
รพสต รพ.สต.คอกกระบือ
รพ.สต.กระทุ่มแบน
รพ.สต.โพธิ์แจ้
รพ.สต.บางนำ้าจืด
P = .078
5 10 25 50 75 90 95
Weighted
Average(D
efinition 1)
Pb
2.4215 2.9200 3.8800 5.3800 7.9300 11.6440 14.6995
Tukey's
Hinges
Pb
3.8800 5.3800 7.9300
Percentiles
14.3%
55.3%
4.6% > 15 mg/dl
1.9% > 20 mg/dl
1.1% > 25 mg/dl
0.16% > 45 mg/dl
 Children with concentrations 10 μg/dL or
greater should have their concentrations rech
ecked; if many children in a community have
concentrations greater than 10 μg/dL, the sit
uation requires investigation for some contro
llable source of lead exposure.
 Children who ever have a concentration
greater than 20 μg/dL or persistently (for mo
re than 3 months) have a concentration great
er than 15 μg/dL require environmental and
medical evaluation.
GPP/c (Bt) GPP(million Bt) อุตสาหกรรม เหมืองแร่
Lamphun 179956.7186 74032 30866 374 42.19796845 41.69278
Krabi 192505.341 70118 4276 156 6.320773553 6.098291
Nakhon Pathom 193755.6489 186543 98809 1221 53.62302525 52.96848
Phuket 201100.5479 105962 2589 2.4 2.445634594 2.443329
Chanthaburi 211950.0161 104662 6137 171 6.027020313 5.863637
Pathum Thani 223093.1117 301351 192006 27 63.72402945 63.71507
Saraburi 258996.5561 185740 109749 7320 63.02842683 59.08743
Prachin Buri 306128.0631 170229 125788 198 74.00971632 73.8934
Samut Prakan 321337.2561 599366 285931 5 47.70640977 47.70558
Chachoengsao 349808.391 254381 172016 159 67.68390721 67.6214
Samut Sakhon 352579.9987 315931 225024 463 71.37223001 71.22568
Ayutthaya 364748.8594 317,351 266556 888 84.27388467 83.99407
BKK 398638.3475 3336772 480975 0 14.41438013 14.41438
Chon Buri 403186.0801 634164 354694 2174 56.27377145 55.93096
Rayong 877746.4538 730441 287108 251247 73.70273574 39.30612
 9 จังหวัด ต้องการ screening แบบสุ่มหลายพื้นที่
 ถ้าพื้นที่ส่วนใหญ่ พบ high BLL > 10% ต้องทำา
universal ทั้งพื้นที่และหาสาเหตุ กำาจัดสาเหตุร่วม
จังหวัด y2558
ฉะเชิงเทรา 46,904
ชลบุรี 70,577
นครปฐม 56,588
ปทุมธานี 46,817
ปราจีนบุรี 31,988
ระยอง 40,044
สมุทรสาคร 28,691
สระบุรี 43,966
อยุธยา 50,797
416,372
สถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็ก

More Related Content

More from csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก

More from csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก (20)

Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
 
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in AustriaDistl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
 
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk StudentInjury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
 
Home after School
Home after School Home after School
Home after School
 
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
 
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the CommunitySurveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
 
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety toolTeacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
 
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
 
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violenceStrong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
 
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, JapanImpacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
 
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei ProvinceAn Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical ServiceServices and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
 
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
 
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
 
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclistsDeterminants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
 
Prevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowningPrevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowning
 
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
 
Distl, Spitzer, Hoellwarth: A Safe Children Community - Our way from Theory t...
Distl, Spitzer, Hoellwarth: A Safe Children Community - Our way from Theory t...Distl, Spitzer, Hoellwarth: A Safe Children Community - Our way from Theory t...
Distl, Spitzer, Hoellwarth: A Safe Children Community - Our way from Theory t...
 

สถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็ก

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.  สถานการณ์สิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ รอบตัว เด็ก  สูงกว่าค่ามาตรฐานสากล  มีความสัมพันธ์กับ BLL  สถานการณ์ BLL
  • 6.  พบความเสี่ยงทั่วไป  ของเล่น เครื่องเล่นสนาม  แทงค์นำ้า หม้อก๋วยเตี๋ยวที่มีการซ่อมแซม  สีนำ้ามัน  พบความเสี่ยงเฉพาะ ในครัวเรือน และ ในชุมชน มี ความสัมพันธ์กับ BLL  ครัวเรือน  ภาชนะใส่อาหาร  อาชีพ: เรียงพิมพ์ หล่อกรอบพระ ทาสีเรือ ถ้วยชามเบญจรงค์  ชุมชน  เหมืองแร่ อุตสาหกรรม
  • 8.
  • 9.
  • 11. Waregame ITEM NO LIMI T (PP M) TOTAL LEAD 8173* 600 SOL. BARIUM 34 100 0 SOL. LEAD 522* 90 SOL. CADMIUM <5 75 SOL. ANTIMONY <5 60 SOL. <5 500
  • 12. ITEM NO LIMI T (PP M) TOTAL LEAD 1573* 600 SOL. BARIUM 79 100 0 SOL. LEAD 165* 90 SOL. CADMIUM <5 75 SOL. ANTIMONY <5 60 SOL. SELENIUM <5 500
  • 13. ITEM NO. 3518 A LIMI T (PPM ) TOTAL LEAD 2570 * 600 SOL. BARIUM 269 100 0 SOL. LEAD 346* 90 SOL. CADMIUM <5 75 SOL. ANTIMONY <5 60 SOL. <5 500
  • 14.
  • 16.  สีพลาสติกทุกตัวอย่างมีปริมาณตะกั่วตำ่า (น้อย กว่า 90 ppm).  สีนำ้ามันร้อยละ 47.1 % (8 ตัวอย่าง) มีปริมาณ ตะกั่วสูงกว่า 90/600 ppm.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 24. ICLPPP Chantima Chaipan, MD Adisak Plitponkarnpim, MD, MPH 04/11/2009
  • 26. ICLPPP โต๊ะ สี เทียน ดิน นำ้ามัน ถ้วย ชาม สนาม เด็กเล่น เครื่องเล่น
  • 28. ICLPPP ศูน ย์ สิ่งตรวจพบความผิด ปกติ ระดับสาร ตะกั่ว(มก/กก) 1 สีทาประตู(สีดำา) สีที่รั้ว ลูกกรง(สีเหลือง) <5; 195; 406 (2/3) 2 สีทาในห้องเรียน (สีเหลือง) <5; 287 (1/2) 3 สีทาผนัง (สีดำา) 176 (1/1) 4 สีทาผนังหน้าห้องเรียน (สี ฟ้า ส้ม) 960 (1/1) 5 สีทากำาแพงห้อง(สีขาว) รั้ว เข้าห้อง(สีแดง) <5; 1,617 (1/2) 6 สีทาผนัง (สีนำ้าตาล) สีเคลือบโต๊ะสีแดง 414 (1/1) 216 <5; 4,212 (1/2)
  • 29. ICLPPP ศูน ย์ ระดับสารตะกั่ว ครั้ง 1 soluble (มก/กก) ระดับสารตะกั่ว ครั้ง 2 (มก/กก) Total ระดับสาร ตะกั่วครั้ง 2 (มก/กก) soluble 1 <5; 195; 406 (2/3) 1,928-33,250 (5/5) 39 -908 (4/8) 2 <5; 287 (1/2) 1,220-4,953 (2/2) 16-4,012 (7/8) 3 176 (1/1) 128-712 (1/4) 86-460 (5/8) 4 960 (1/1) <10-49 (0/2) <5- 2,389 (3/8) 5 <5; 1,617 (1/2) 330-1,696 (2/3) 51-3,375 (1/4) 414 (1/1)
  • 30.
  • 31.  คณะรัฐมนตรียังมีมติเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ รับรองข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติได้จัดทำาข้อเสนอต่อรัฐบาลเรื่อง “ตะกั่วในสีทาอาคาร: ”ภัยที่ป้องกันได้ เมื่อเดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ขอให้มีการกำาหนด มาตรฐานบังคับเรื่องปริมาณสารตะกั่วในสีนำ้ามัน ทาอาคารภายในสิ้นปี พ.ศ. ๒๖๖๕  และเสนอให้สถาบันการศึกษาของรัฐทั้งหมดใช้ เฉพาะสีที่มีสารตะกั่วไม่เกิน ๙๐ พีพีเอ็ม รวมไปถึง การเสนอให้สำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้
  • 32.  ขณะนี้ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) และสำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) กำาลังดำาเนินการปรับปรุงมาตรฐานปริมาณ สารตะกั่วในผลิตภัณฑ์สีทาอาคารและการปรับปรุง ข้อกำาหนดว่าด้วยฉลากผลิตภัณฑ์สี
  • 33.  ปีพ.ศ. 2542 และพ.ศ. 2545 สุวรรณา เรือ งกาญจนเศรษฐ์ และคณะ ได้ศึกษาระดับ ตะกั่วในเลือดของเด็กตั้งแต่แรกคลอดถึง อายุ 15 ปี ในเขตกรุงเทพ  พบเด็กที่มีระดับตะกั่วสูงกว่า 10 ไมโครกรัม/เดซิลิตรเพิ่มขึ้นตามอายุ คือ ที่ แรกคลอด อายุ 2 ปี อนุบาล และประถม ศึกษาตอนต้น พบร้อยละ 1, 6, 10, และ 27.4  ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ อาศัยอยู่ในเขต กรุงเทพมหานคร เพศชาย มารดาทำางาน รับจ้าง รายได้ครอบครัวน้อยกว่าเดือนละ
  • 34.  ปีพ.ศ. 2548 จุฬธิดา โฉมฉาย และคณะ โดยศึกษาระดับตะกั่วในเลือดของเด็กอายุ 6 เดือนถึง 4 ปี จำานวน 296 ราย ในเขต คลองเตยและชุมชนใกล้โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร  พบเด็กที่มีระดับตะกั่วสูงกว่า 10 ไมโครกรัม/เดซิลิตรอยู่ร้อยละ 8.1  โดยชุมชนคลองเตยมีความชุกถึงร้อยละ 12.5  ระดับตะกั่วเฉลี่ยในเด็กที่อยู่ในชุมชนใกล้ โรงพยาบาลศิริราช 5.11+ 3.31 ไมโครกรัม/เดซิลิตร เด็กในชุมชนคลองเตย
  • 35.  เด็กหญิงอายุ 8 เดือน อาศัยที่โรงงานตำาบล มหาชัย อำาเภอเมืองสมุทรสาคร ได้เข้ารับการ รักษาที่โรงพยาบาลสมุทรสาครตั้งแต่วันที่ 25 มิย 2555 เนื่องจากมีอาการชักเกร็งทั้งตัว โดย ก่อนหน้านี้ตัวเด็กเองมีอาการซึมลงอย่างเห็นได้ ชัดเป็นเวลา3วันก่อนเข้ารับทั้งนี้หลังจากตรวจ ร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม แล้วแพทย์ลงความเห็นว่า เด็กน่าจะมีอาการชัก จากการได้รับสารพิษตะกั่ว  ระหว่างเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจังหวัด สมุทรสาคร เด็กยังมีอาการชักเป็นระยะๆ ต้อง ให้ยาเพื่อควบคุมการชักอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับ
  • 36.
  • 37.  หลังจากที่เด็กได้ถูกส่งตัวมาที่โรงพยาบาล รามาธิบดีแล้ว เด็กได้รับการรักษาในหอผู้ ป่วยวิกฤติ( ICU) โดยยังต้องให้เครื่องช่วย หายใจ และต้องให้ยาควบคุมอาการชัก อย่างต่อเนื่อง พร้อมกันนี้ ได้ส่งตรวจระดับ สารตะกั่วในเลือด พบว่ามีค่าสูงถึง 166 mcg/dL(ปกติไม่เกิน 10 mcg/dL) จึงเริ่ม ให้ยาเพื่อขับสารตะกั่วในร่างกาย ช่วงที่ เด็กเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล รามาธิบดีก็พบว่าเด็กมีปัญหาระบบการ หายใจล้มเหลว ระบบการแลกเปลี่ยน
  • 38.
  • 39.
  • 40.  อนุสัญญาบาเซล เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของของเสียอันตรายและการ กำาจัด ความเป็นมา ปัญหาการลักลอบนำาของเสียอันตรายไปทิ้ง หรือกำาจัดทำาลายในประเทศด้อยพัฒนา ซึ่งก่อ ให้เกิดผลก ระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ทำาให้โครงการสิ่งแวดล้อมแห่ง สหประชาชาติ (UNEP) ร่วมกับผู้แทนจากประเทศสมาชิก ได้จัดทำาอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้าย ข้ามแดนของของเสียอันตรายและการกำาจัด (Basel Convention on the Control of Transbou ndary Movements of Hazardous Wastes and their Disposal) อนุสัญญาบาเซล ได้เปิดให้ ประเทศต่าง ๆ ลงนามเข้าร่วมเป็นภาคีได้ ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม 2533 อนุสัญญาบาเซล มีผลบังคับ ใช้เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2535  วัตถุประสงค์ เพื่อกำาหนดข้อตกลงระหว่างประเทศในการควบคุมการนำาเข้า การส่งออก การนำาผ่าน พร้อมทั้งการ จัดการของเสียอันตรายให้มีความปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ และสิ่ง แวดล้อม อีกทั้งเป็นการป้องกันการขนส่งที่ผิดกฎหมาย หลักการดำาเนินงานของอนุสัญญาบาเซล
  • 41.  บทบาทของประเทศไทยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2540 เห็นชอบกับการกำาหนดหน้าที่ ของหน่วยงานต่างๆที่จะรับผิดชอบ ในการปฎิบัติ ตามข้อบัญญัติแห่งอนุสัญญาบาเซล โดยให้กรม ควบคุมมลพิษปฏิบัติงานในฐานะ " ศูนย์ประสาน งาน " ( Focal Point) กรมโรงงานอุตสาหกรรม ปฏิบัติงานในฐานะ " หน่วยงานผู้มีอำานาจ " (Competent Authority) หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง มีหน้าที่รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมศุลกากร กรมการขนส่งทางนำ้าและ พาณิชย์นาวี การท่าเรือแห่งประเทศไทย กรมการ
  • 43. Blood lead level in Ban Nong Had Yai School in August 2012 High BLL = 73/165 = 44.2%
  • 44. Athipat Athipongarporn, MD. Advisor: Assoc. Prof. Adisak Plitponkarnpim, MD. Co-Advisors :Chatchai Im-arom, MD. Ratchaneewan Sinitkul, MD. Sakda Arj-ong Vallipakorn, MD.,PhD.
  • 45. ที่ 1 สำารวจพื้นที่ กุมภาพันธ์ 2556ครั้งที่ 2 เก็บสิ่งส่งตรวจ แบบสอบถาม (Pilot study) ตรวจ IQ กุมภาพันธ์ 2556
  • 46. DELTA Lead Paint Handheld XRF Analyzer (OLYMPUS) ก็บข้อมูลสิ่งแวดล้อมโดยใช้เครื่องมือและทำาแบบสอบถาม http://www.olympus-ims.com สิ่งส่ง ตรวจ ค่ามาตรฐาน (ppm) สีทาบ้าน 100 ฝุ่น บริเวณ บ้าน 400 ดิน บริเวณ บ้าน 400 USEPA. 2001. Lead: Identification of dangerous levels of lead. Final rule. 40CFR Part 745. Fed. Regist. 66. USEPA, Washington, DC.
  • 48.  School duration and home duration Factors Group Odds ratio (95%CI) p-value Blood lead level ≥10 μg/dl n(%) Blood lead level ≤ 10 μg/dl n(%) 1. School duration ≥4 ปี 42 (77.8) 19 (35.2) 5.52 (2.24-13.63) <0.001* 2. Home duration ≥6 ปี 42 (75.0) 25 (46.3) 3.48 (1.49-8.13) 0.002*
  • 49.  Father’s and mother’s occupation Factors Group Odds ratio (95%CI) p-value Blood lead level ≥10 μg/dl n(%) Blood lead level ≤ 10 μg/dl n(%) 3.Father’s occupation Associated with lead 27 (48.2) 17 (31.5) 1.77 (0.78-4.01) 0.097 4.Mother’s occupation Associated with lead 18 (32.1) 11 (20.4) 1.92 (0.79-4.66) 0.31
  • 50. Factors Group Odds ratio (95%CI) p-value Blood lead level ≥10 μg/dl n(%) Blood lead level ≤ 10 μg/dl n(%) Distance ≤ 350 m > 350 m 42 14 32 22 2.06 (0.91-4.64) 0.079
  • 51. Factors Coefficient Odds ratio 95% CI p-value School duration ≥ 4 y 1.80 6.04 2.57-14.22 < 0.001 Father’s occupation related with lead 0.89 2.42 1.01-5.78 0.046
  • 52.  IQ IQ N (person) < 90 Low normal ( IQ 80-89) Borderline (IQ 70-79) Mental retardation ( IQ ≤ 69) 5/25 = 20% 4 0 1 Duangduan Chinrungrat, The validity of wide range achievement test . 2009 สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์. ระดับสติปัญญานักเรียนไทย.2010
  • 53.  Learning disability in high BLL > 15 mcg/dl among children≥ grade3 (n=17)  Prevalence of learning disability in Thailand = 5 - 29.31% Lieven Lagae, Learning Disabilities.2008 Duangduan Chinrungrat, The validity of wide range achievement test . 2009 Winadda Piyasil, Learning disability. 2006 Group N (person) Learning disability 9 (53%) • reading 6 (35%) • writing 9 (53%) • mathematic 7 (41%)
  • 54.
  • 55.
  • 56. 0 1 8 พ.ค 57 68 8 76 89.5% 10.5% 8 พ.ค 57 12 3 15 80.0% 20.0% 12 พ.ค 57 24 10 34 70.6% 29.4% 12 พ.ค 57 22 1 23 95.7% 4.3% 12 พ.ค 57 25 1 26 96.2% 3.8% 15 พ.ค 57 27 3 30 90.0% 10.0% 21 พ.ค 57 8 1 9 88.9% 11.1% 186 27 213 87.3% 12.7% Total รพสต รพ.สต.คอกกระบือ รพ.สต.กระทุ่มแบน รพ.สต.โพธิ์แจ้ รพ.สต.บางนำ้าจืด รพ.สต.นาดี รพ.สต.สวนหลวง ทต.นาดี Pb>10 Total P = .041
  • 57. 0 1 8 พ.ค 57 49 27 76 64.5% 35.5% 8 พ.ค 57 9 6 15 60.0% 40.0% 12 พ.ค 57 17 17 34 50.0% 50.0% 12 พ.ค 57 10 13 23 43.5% 56.5% 12 พ.ค 57 21 5 26 80.8% 19.2% 15 พ.ค 57 22 8 30 73.3% 26.7% 21 พ.ค 57 5 4 9 55.6% 44.4% 133 80 213 62.4% 37.6% รพ.สต.นาดี รพ.สต.สวนหลวง ทต.นาดี Total Pb>5 Total รพสต รพ.สต.คอกกระบือ รพ.สต.กระทุ่มแบน รพ.สต.โพธิ์แจ้ รพ.สต.บางนำ้าจืด P = .078
  • 58.
  • 59. 5 10 25 50 75 90 95 Weighted Average(D efinition 1) Pb 2.4215 2.9200 3.8800 5.3800 7.9300 11.6440 14.6995 Tukey's Hinges Pb 3.8800 5.3800 7.9300 Percentiles 14.3% 55.3% 4.6% > 15 mg/dl 1.9% > 20 mg/dl 1.1% > 25 mg/dl 0.16% > 45 mg/dl
  • 60.
  • 61.  Children with concentrations 10 μg/dL or greater should have their concentrations rech ecked; if many children in a community have concentrations greater than 10 μg/dL, the sit uation requires investigation for some contro llable source of lead exposure.
  • 62.  Children who ever have a concentration greater than 20 μg/dL or persistently (for mo re than 3 months) have a concentration great er than 15 μg/dL require environmental and medical evaluation.
  • 63.
  • 64. GPP/c (Bt) GPP(million Bt) อุตสาหกรรม เหมืองแร่ Lamphun 179956.7186 74032 30866 374 42.19796845 41.69278 Krabi 192505.341 70118 4276 156 6.320773553 6.098291 Nakhon Pathom 193755.6489 186543 98809 1221 53.62302525 52.96848 Phuket 201100.5479 105962 2589 2.4 2.445634594 2.443329 Chanthaburi 211950.0161 104662 6137 171 6.027020313 5.863637 Pathum Thani 223093.1117 301351 192006 27 63.72402945 63.71507 Saraburi 258996.5561 185740 109749 7320 63.02842683 59.08743 Prachin Buri 306128.0631 170229 125788 198 74.00971632 73.8934 Samut Prakan 321337.2561 599366 285931 5 47.70640977 47.70558 Chachoengsao 349808.391 254381 172016 159 67.68390721 67.6214 Samut Sakhon 352579.9987 315931 225024 463 71.37223001 71.22568 Ayutthaya 364748.8594 317,351 266556 888 84.27388467 83.99407 BKK 398638.3475 3336772 480975 0 14.41438013 14.41438 Chon Buri 403186.0801 634164 354694 2174 56.27377145 55.93096 Rayong 877746.4538 730441 287108 251247 73.70273574 39.30612
  • 65.  9 จังหวัด ต้องการ screening แบบสุ่มหลายพื้นที่  ถ้าพื้นที่ส่วนใหญ่ พบ high BLL > 10% ต้องทำา universal ทั้งพื้นที่และหาสาเหตุ กำาจัดสาเหตุร่วม
  • 66. จังหวัด y2558 ฉะเชิงเทรา 46,904 ชลบุรี 70,577 นครปฐม 56,588 ปทุมธานี 46,817 ปราจีนบุรี 31,988 ระยอง 40,044 สมุทรสาคร 28,691 สระบุรี 43,966 อยุธยา 50,797 416,372

Editor's Notes

  1. ซึ่งจากการลงสำรวจชุมชนพบว่า มีโรงเรียนที่อยู่ติดกับโรงงานอุตสาหกรรมที่ผู้ป่วยเด็กดังกล่าวอาศัยอยู่ มีโรงเรียนบ้านหนองหาดใหญ่ตั้งอยู่ห่างจากโรงงาน 500 เมตร ซึ่งทางผู้วิจัยได้ขอเจาะเลือดตรวจระดับสารตะกั่วในเลือดของเด็กทุกคนในโรงเรียน พบว่า มีเด็กที่มีระดับสารตะกั่วในเลือดสูงกว่า 10 mcg/dl ถึง 44% เป็นที่น่าสนใจว่า ทำไมเด็กในโรงเรียนเดียวกัน ที่น่าจะได้รับ Exposure จากโรงงานอุตสาหกรรมเป็นเวลาใกล้เคียงกัน ระดับสารตะกั่วในเลือกของเด็กถึงต่างกัน
  2. เรียน ประธาน คณาจารย์ และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน ผม นายแพทย์อธิพัฒน์ อธิพงษ์อาภรณ์ ขอนำเสนอผลงานวิจัย เรื่อง Environmental investigation for mass lead poisoning among children in industrial area of Samutsakorn, Thailand โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาหลักคือ รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมคือ อ.นพ.ฉัตรชัย อิ่มอารมณ์ และ อ.พญ.รัชนีวรรณ สินิธกุล
  3. การเก็บข้อมูลครั้งที่ 1 สำรวจพื้นที่ สร้างความคุ้นเคยกับคนในชุมชนและอาจารย์ในโรงเรียน การเก็บข้อมูลครั้งที่ 2 เก็บข้อมูลในโรงเรียน รวมถึงที่บ้าน โดยเก็บ Specimen ที่บ้าน 5 ตำแหน่ง รวมถึงหาข้อมูลเกี่ยวกับตรวจ IQ ให้กับเด็กในโรงเรียนทุกคน เพื่อ screening ระดับ IQ
  4. การเก็บข้อมูลครั้งที่ 3 ใช้ปืนเลเซอร์ที่ได้ขอยืมจากบริษัท เพื่อหาระดับโลหะหนักในสิ่งแวดล้อม ค่ามาตรฐานของสีทาบ้าน ฝุ่นและดิน ที่ใช้ในการคำนวณความสัมพันธ์ของงานวิจัย ดังแสดง
  5. ระยะทางที่ใช้คำนวณ มาจาก Google map โดยวัดระยะทางจากโรงเรียน center ของหมู่ ทั้งหมด 13 หมู่ แล้วนำมาคำนวณความสัมพันธ์กับระดับค่าสารตะกั่วในเลือด
  6. ระยะเวลาในการอยู่โรงเรียน และระยะเวลาในการอยู่บ้าน สัมพันธ์กับระดับสารตะกั่วที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเชิงสถิติ โดย p value น้อยกว่า 0.001 และ 0.02 ตามลำดับ
  7. ระยะเวลาในการอยู่โรงเรียน และระยะเวลาในการอยู่บ้าน สัมพันธ์กับระดับสารตะกั่วที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเชิงสถิติ โดย p value น้อยกว่า 0.001 และ 0.02 ตามลำดับ
  8. ค่าระดับสารตะกั่วที่วัดได้จาก specimen ดิน 2 ตำแหน่งหน้าบ้าน ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับสารตะกั่วในเลือดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
  9. จำนวนเด็กที่มีค่า BLL สูงกว่า 15 mcg/dl = 20 คน นำมาวิเคราะห์ IQ พบว่า IQ เฉลี่ย 99.68 ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของ IQ เด็กในกรุงเทพและปริมณฑล ที่สำรวจในปี 2552 = 119.7
  10. Incidence LD = 5/13 คน คิดเป็น 38.46% สูงกว่า Incidence LD IQ เฉลี่ย Thai 119.7±14.7