SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า วัดพระแก้ว นั้น
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพร้อม
กับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ แล้วเสร็จในปี พ.ศ.
๒๓๒๗
     เป็นวัดที่สร้างขึนในเขตพระบรมมหาราชวัง ตามแบบวัดพระศรี
                      ้
สรรเพชญ สมัยอยุธยา วัดนี้อยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอก ทางทิศตะวัน
ออก มีพระระเบียงล้อมรอบเป็นบริเวณ เป็นวัดคู่กรุงที่ไม่มีพระสงฆ์จำา
พรรษา ใช้เป็นที่บวชนาคหลวง และประชุมข้าทูลละอองพระบาทถือนำ้า
พระพิพัฒน์สัตยา
 รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าให้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตน
ปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย มา
ประดิษฐาน ณ ที่นี้ วัดพระศรีรัตนศาสดารามนี้ ภายหลังจากการ
สถาปนาแล้ว ก็ได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อมาทุกรัชกาล เพราะเป็นวัด
สำาคัญ จึงมีการปฏิสังขรณ์ใหญ่ทุก ๕๐ ปี คือในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมัยพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน
 เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ที่
     ผ่านมา การบูรณปฏิสังขรณ์ที่ผ่านมา มุ่งอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและ
 ศิลปกรรมอันเป็นมรดกชิ้นเอกของชาติ ให้คงความงามและรักษาคุณค่า
  ของช่างศิลปไทยไว้อย่างดีที่สุด เพื่อให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามนี้อยู่คู่
                    กับกรุงรัตนโกสินทร์ตลอดไป
พระอุโ บสถ
สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๑ เป็นพระอุโบสถขนาดใหญ่ หลังคาลด ๔
ระดับ ๓ ซ้อน มีช่อฟ้า ๓ ชั้น ปิดทองประดับกระจก ตัวพระอุโบสถ
มีระเบียงเดินได้โดยรอบ มีหลังคาเป็นพาไลคลุม รับด้วยเสานาง
รายปิดทองประดับกระจกทั้งต้น พนักระเบียงรับเสานางราย ทำา
เป็นลูกฟักประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีอย่างจีน ตัวพระอุโบสถมี
ฐานปัทม์รับอีกชั้นหนึ่ง ประดับครุฑยุดนาคหล่อด้วยโลหะปิดทอง
มีเสารายเทียนหล่อด้วยทองแดงล้อมรอบทั้งสี่ด้าน
ผนังพระอุโบสถ ในรัชกาลที่ ๑ เขียนลายรดนำ้าบนพืนชาดแดง
                                                  ้
รัชกาลที่ ๓ โปรดเล้าฯ ให้ปั้นลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ปิดทองประดับ
กระจก เพื่อให้เข้ากับผนังมณฑป ปิดทองประดับกระจก บานพระ
ทวารและพระบัญชรประดับมุกทั้งหมด ฝีมือช่างสมัยรัชกาลที่ ๑ ที่
เชิงบันไดมีสิงห์หล่อด้วยสำาริดบันไดละคู่ รวม ๑๒ ตัว โดยได้แบบมา
จากเขมรคู่หนึ่ง แล้วหล่อเพิ่มอีก ๑๐ ตัว
วัดสำาคัญแห่งหนึงของเขตดุสิต  เดิมเป็นวัดโบราณ มีชื่อว่า
                ่
"วัดแหลม" หรือ "วัดไทรทอง" ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างใน
สมัยใด จนถึงปี พ.ศ.2369 สาเหตุที่ได้ชื่อว่า “ วัด
เบญจมบพิตร” นันเนื่องจากการปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์ในรัช
                  ้
สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ 3 นั้นมี
การตั้งกองบัญชาการอยู่ในบริเวณ "วัดแหลม" นี้ หลังจาก
ปราบกบฏเสร็จสิ้น
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ  กรมพระพิพธโภคภูเบนทร์ ผู้
                            ิ
บัญชาการกองทัพในส่วนการรักษาพระนครพร้อม
ด้วย พระเชษฐภคินี  พระขนิษฐภคินี และพระ
กนิษฐภาดา ร่วมเจ้าจอมมารดาอีก 4 พระองค์ ทรง
บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้น
ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 4 ปรากฏในพระราชพงศาวดารว่า
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทาน
นามวัดใหม่ว่า "วัด เบญจบพิต ร" ซึ่งมีความหมายว่า
เป็นวัดของเจ้านาย 5 พระองค์ ครั้นมาถึงในรัชกาลที่ 5
ทรงใช้พระราชทรัพย์สวนพระองค์ในการบูรณ
                        ่
ปฏิสังขรณ์วัดนี้อย่างเต็มที่ และสถาปนาขึ้นเป็น “วัด
เบญจมบพิต ร ” เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2442 ถือเป็น
วัดประจำารัชกาลที่ 5 นับแต่นั้นมา
วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณสร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ตั้ง
อยู่ทางทิศตะวันตกของฝั่งแม่นำ้าเจ้าพระยา เดิมเรียกว่า "วัด
มะกอก" ตามชื่อตำาบลบางมะกอกซึ่งเป็นตำาบลที่ตั้งวัด ภายหลัง
เปลี่ยนเป็น "วัดมะกอกนอก" เพราะมีวัดสร้างขึ้นใหม่ในตำาบล
เดียวกันแต่ อยู่ลึกเข้าไปในคลองบางกอกใหญ่ชื่อ "วัดมะกอกใน"
ต่อมาใน พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีพระราช
ประสงค์จะย้ายราชธานีมาตั้ง ณ กรุงธนบุรีจงเสด็จกรีฑาทัพล่อง
                                             ึ
ลงมาทางชลมารคถึงหน้าวัดมะกอกนอกนี้เมื่อเวลารุ่งอรุณพอดี จึง
ทรงเปลี่ยนชื่อวัดมะกอกนอกเป็น "วัดแจ้ง" เพือเป็นอนุสรณ์แห่ง
                                               ่
นิมิตที่ได้เสด็จมาถึงวัด นีเมื่อเวลาอรุณรุ่ง
                           ้
เมื่อพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้ย้ายราชธานีจากกรุงศรีอยุธยามา
ตั้ง ณ กรุงธนบุรีและได้ทรงสร้างพระราชวังใหม่ มีการขยายเขตพระ
ราชฐาน เป็นเหตุให้วดแจ้งตั้งอยู่กลาง พระราชวังจึงไม่โปรดให้มีพระ
                         ั
สงฆ์จำาพรรษา นอกจากนั้นในช่วงเวลาที่กรุงธนบุรีเป็น ราชธานี ถือกัน
ว่าวัดแจ้งเป็นวัดคู่บ้าน คู่เมือง เนื่องจากเป็นวัดทีประดิษฐาน พระแก้ว
                                                    ่
มรกตและพระบาง ซึ่งสมเด็จ พระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) ได้ อัญเชิญพระพุทธรูปสำาคัญ ๒
องค์นี้มาจากลาวในคราวที่เสด็จตีเมืองเวียงจันทร์ ได้ในปี พ.ศ.
๒๓๒๒โดยโปรดให้อญเชิญ พระแก้วมรกตและพระบางขึ้นประดิษฐาน
                       ั
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช รัชกาลที่ ๑
เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ ได้โปรดให้สร้างพระนครใหม่ฝั่งตะวันออก
ของแม่นำ้าเจ้าพระยา และรื้อกำาแพงพระราชวังกรุงธนบุรีออก วัดแจ้ง
จึงไม่ได้อยู่ในเขตพระราชวังอีกต่อไป พระองค์จึงโปรดให้วัดแจ้ง
เป็นวัดที่มี พระสงฆ์จำาพรรษาอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนั้นพระองค์ทรง
มอบหมายให้สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (ร.
๒) เป็นผู้ดำาเนินการปฏิสังขรณ์วัดแจ้ง ไว้ในมณฑป และมีการ
สมโภชใหญ่ ๗ คืน ๗ วัน(ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ พระแก้วมรกตได้ย้าย
มาประดิษฐาน ณ วัด พระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมหาราชวัง
ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒
พระองค์ทรงดำาเนินการปฏิสังขรณ์ต่อจนเสร็จ ทั้งได้ทรงปั้นหุ่น
พระพุทธรูปด้วยฝีพระหัตถ์ และโปรดให้หล่อขึ้นประดิษฐานเป็นพระ
ประธาน ในพระอุโบสถ และโปรดให้มีมหรสพสมโภชฉลองวัดในปี
พ.ศ. ๒๓๖๓ แล้วโปรดพระราชทาน พระนามวัดว่า "วัดอรุณราชธารา
ม"
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ได้ทรง
ปฏิสังขรณ์วัดอรุณฯ ใหม่หมดทั้งวัด พร้อมทั้งโปรดให้ลงมือก่อสร้าง
พระปรางค์ตามแบบที่ทรงคิดขึ้น จนสำาเร็จเป็นพระเจดีย์สูง ๑ เส้น ๑๓
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เสด็จเถลิง
ถวัลราชสมบัติ พระองค์ได้โปรดให้สร้างและปฏิสังขรณ์ สิ่งต่าง ๆ
ในวัดอรุณฯ เพิ่มเติมอีกหลายอย่าง ทั้งยังได้อัญเชิญพระบรมอัฐิ
ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มาบรรจุไว้ที่พระพุทธ
อาสน์ของ พระประธานในพระอุโบสถที่พระองค์ ทรงพระราชทาน
นามว่า "พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก" และเมื่อได้ทรง
ปฏิสังขรณ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้พระราชทานนาม วัดเสียใหม่ว่า
วัด นวลนรดิศ วรวิห าร เป็นวัดไทย ประเภทพระอารามหลวง ชั้นตรี
อยู่ที่คลองบางกอกใหญ่ด้านตะวันตก ตรงกันข้ามวัดประดู่ฉิมพลี แต่มี
คลองกั้นกัน ในแขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร[1]วัด
นวลนรดิศวรวิหาร เดิมเป็นวัดโบราณ และร้างมานานมาก เชื่อว่าสร้าง
ในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ปราศจากพยานหลักฐานในเรื่องนี้ มีชื่อ
ดั้งเดิมว่า "วัดมะกอกใน" คู่กับ "วัดมะกอกนอก" ที่ปัจจุบันคือ
วัดอรุณราชวราราม สาเหตุที่ได้ชื่อนี้เพราะตั้งอยู่ริมฝั่ง
คลองบางกอกใหญ่
ครั้งปลายรัชกาล
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถ
เจ้าคุณพระราชพันธุ์ (นวล) ผู้เป็นภริยา
เจ้าพระยาอัครมหาเสนา (บุนนาค) และเป็นพระภคินีของ
สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระมเหสีพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาจักรีบรมนาถ ได้บูรณะวัดมะกอกในอันร้างดัง
กล่าว โดยให้ เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) ผู้เป็นบุตร รับ
ผิดชอบ
เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) เข้าบูรณะวัดมะกอกใน หลัง
เขาได้บูรณะวัดประยูรวงศาวาสเสร็จใน พ.ศ. 2379 ต่อมา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฏพระราชทานนาม
"นวลนรดิศวรวิหาร" ให้แก่วัดมะกอกใน เพื่อระลึกถึงเจ้าคุณ
พระราชพันธุ์ (นวล
ในรัชกาลถัดมา ได้มีการบูรณะวัดนวลนรดิศวรวิหารอีกหลายครั้ง
ซึ่งปรากฏหลักฐานอย่างน้อยสองครั้ง ครั้งแรกอยู่ในความรับผิด
ชอบของ เจ้าพระสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) และเจ้าพระยา
ภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)และครั้งที่สอง ดำาเนินการโดย พระสาสนา
นุรักษ์ (ทิม รตนโชติ) เจ้าอาวาส และมีรายละเอียดการปฏิสังขรณ์
อย่างพิสดารลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาด้วย ในสมัยหลัง ๆ ก็มี
การบูรณะอีกหลายครั้ง
http://www.dhammathai.org/watthai/bangkok/watprasi
ratana.php

http://office.bangkok.go.th/dusit/travel/index.php?
option=com_content&view=article&id=129:the-marble-
temple&catid=52:temple&Itemid=111

http://www.dhammathai.org/watthai/bangkok/watar
un.php
http://th.wikipedia.org/wiki/
%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8
%A7%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%94%E
0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%
A7%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3
ภูมิปัญญาบางกอก

More Related Content

What's hot

วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9Varit Sanchalee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sai Khunchanok
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมPRINTT
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยchickyshare
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 

What's hot (15)

วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิม
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 

Viewers also liked

Objective 1.01.2
Objective 1.01.2Objective 1.01.2
Objective 1.01.2teenliving
 
Objective 1.01.2
Objective 1.01.2Objective 1.01.2
Objective 1.01.2teenliving
 
Moh brochure-Arabic
Moh brochure-ArabicMoh brochure-Arabic
Moh brochure-ArabicMOH_we_care
 
г. Брянск ул. Красноармейская
г. Брянск ул. Красноармейскаяг. Брянск ул. Красноармейская
г. Брянск ул. Красноармейскаяvector111
 
Bsv security
Bsv securityBsv security
Bsv securitykatepq
 
We Care event images
We Care event images We Care event images
We Care event images MOH_we_care
 
Anggi 2 b instrumentasion task
Anggi 2 b  instrumentasion taskAnggi 2 b  instrumentasion task
Anggi 2 b instrumentasion taskanggi andinipp
 
Objective 1.02
Objective 1.02Objective 1.02
Objective 1.02teenliving
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกMakuro DarkSoul
 
Moh brochure-English
Moh brochure-English Moh brochure-English
Moh brochure-English MOH_we_care
 
Álbum José María Bernal
Álbum José María BernalÁlbum José María Bernal
Álbum José María BernalJazmin.Andrea
 
รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก TODSAPRON TAWANNA
 
Kumpulan soal soal fisika
Kumpulan soal soal fisikaKumpulan soal soal fisika
Kumpulan soal soal fisikafarah_diba
 

Viewers also liked (17)

Objective 1.01.2
Objective 1.01.2Objective 1.01.2
Objective 1.01.2
 
Objective 1.01.2
Objective 1.01.2Objective 1.01.2
Objective 1.01.2
 
Moh brochure-Arabic
Moh brochure-ArabicMoh brochure-Arabic
Moh brochure-Arabic
 
ภพ.09
ภพ.09ภพ.09
ภพ.09
 
Safeguarding Your Identity
Safeguarding Your IdentitySafeguarding Your Identity
Safeguarding Your Identity
 
г. Брянск ул. Красноармейская
г. Брянск ул. Красноармейскаяг. Брянск ул. Красноармейская
г. Брянск ул. Красноармейская
 
Bsv security
Bsv securityBsv security
Bsv security
 
We Care event images
We Care event images We Care event images
We Care event images
 
Anggi 2 b instrumentasion task
Anggi 2 b  instrumentasion taskAnggi 2 b  instrumentasion task
Anggi 2 b instrumentasion task
 
Objective 1.02
Objective 1.02Objective 1.02
Objective 1.02
 
Phylogeny and us
Phylogeny and usPhylogeny and us
Phylogeny and us
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
Moh brochure-English
Moh brochure-English Moh brochure-English
Moh brochure-English
 
Álbum José María Bernal
Álbum José María BernalÁlbum José María Bernal
Álbum José María Bernal
 
รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก รายงานแลป ลิปสติก
รายงานแลป ลิปสติก
 
Nr 33
Nr 33Nr 33
Nr 33
 
Kumpulan soal soal fisika
Kumpulan soal soal fisikaKumpulan soal soal fisika
Kumpulan soal soal fisika
 

Similar to ภูมิปัญญาบางกอก

วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)sungetbackers
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยchickyshare
 
วัดพระศรี..
วัดพระศรี..วัดพระศรี..
วัดพระศรี..yuparat4118
 
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121marut4121
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1 Junior'z Pimmada Saelim
 
วัดโพธิ์
วัดโพธิ์วัดโพธิ์
วัดโพธิ์suriya phosri
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาguest70f05c
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์Patcha Jirasuwanpong
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to ภูมิปัญญาบางกอก (20)

Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Wat arun
Wat arunWat arun
Wat arun
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
 
วัดพระศรี..
วัดพระศรี..วัดพระศรี..
วัดพระศรี..
 
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4121
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
Wat pho part01
Wat pho part01Wat pho part01
Wat pho part01
 
วัดโพธิ์
วัดโพธิ์วัดโพธิ์
วัดโพธิ์
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
Ita
ItaIta
Ita
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 

ภูมิปัญญาบางกอก

  • 1.
  • 2.
  • 3. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า วัดพระแก้ว นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพร้อม กับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๓๒๗      เป็นวัดที่สร้างขึนในเขตพระบรมมหาราชวัง ตามแบบวัดพระศรี ้ สรรเพชญ สมัยอยุธยา วัดนี้อยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอก ทางทิศตะวัน ออก มีพระระเบียงล้อมรอบเป็นบริเวณ เป็นวัดคู่กรุงที่ไม่มีพระสงฆ์จำา พรรษา ใช้เป็นที่บวชนาคหลวง และประชุมข้าทูลละอองพระบาทถือนำ้า พระพิพัฒน์สัตยา
  • 4.  รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าให้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตน ปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของไทย มา ประดิษฐาน ณ ที่นี้ วัดพระศรีรัตนศาสดารามนี้ ภายหลังจากการ สถาปนาแล้ว ก็ได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อมาทุกรัชกาล เพราะเป็นวัด สำาคัญ จึงมีการปฏิสังขรณ์ใหญ่ทุก ๕๐ ปี คือในสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมัยพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน
  • 5.  เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ที่ ผ่านมา การบูรณปฏิสังขรณ์ที่ผ่านมา มุ่งอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและ ศิลปกรรมอันเป็นมรดกชิ้นเอกของชาติ ให้คงความงามและรักษาคุณค่า ของช่างศิลปไทยไว้อย่างดีที่สุด เพื่อให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามนี้อยู่คู่ กับกรุงรัตนโกสินทร์ตลอดไป
  • 6. พระอุโ บสถ สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๑ เป็นพระอุโบสถขนาดใหญ่ หลังคาลด ๔ ระดับ ๓ ซ้อน มีช่อฟ้า ๓ ชั้น ปิดทองประดับกระจก ตัวพระอุโบสถ มีระเบียงเดินได้โดยรอบ มีหลังคาเป็นพาไลคลุม รับด้วยเสานาง รายปิดทองประดับกระจกทั้งต้น พนักระเบียงรับเสานางราย ทำา เป็นลูกฟักประดับด้วยกระเบื้องเคลือบสีอย่างจีน ตัวพระอุโบสถมี ฐานปัทม์รับอีกชั้นหนึ่ง ประดับครุฑยุดนาคหล่อด้วยโลหะปิดทอง มีเสารายเทียนหล่อด้วยทองแดงล้อมรอบทั้งสี่ด้าน
  • 7. ผนังพระอุโบสถ ในรัชกาลที่ ๑ เขียนลายรดนำ้าบนพืนชาดแดง ้ รัชกาลที่ ๓ โปรดเล้าฯ ให้ปั้นลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ปิดทองประดับ กระจก เพื่อให้เข้ากับผนังมณฑป ปิดทองประดับกระจก บานพระ ทวารและพระบัญชรประดับมุกทั้งหมด ฝีมือช่างสมัยรัชกาลที่ ๑ ที่ เชิงบันไดมีสิงห์หล่อด้วยสำาริดบันไดละคู่ รวม ๑๒ ตัว โดยได้แบบมา จากเขมรคู่หนึ่ง แล้วหล่อเพิ่มอีก ๑๐ ตัว
  • 8.
  • 9. วัดสำาคัญแห่งหนึงของเขตดุสิต  เดิมเป็นวัดโบราณ มีชื่อว่า ่ "วัดแหลม" หรือ "วัดไทรทอง" ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างใน สมัยใด จนถึงปี พ.ศ.2369 สาเหตุที่ได้ชื่อว่า “ วัด เบญจมบพิตร” นันเนื่องจากการปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์ในรัช ้ สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ 3 นั้นมี การตั้งกองบัญชาการอยู่ในบริเวณ "วัดแหลม" นี้ หลังจาก ปราบกบฏเสร็จสิ้น
  • 10. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ  กรมพระพิพธโภคภูเบนทร์ ผู้ ิ บัญชาการกองทัพในส่วนการรักษาพระนครพร้อม ด้วย พระเชษฐภคินี  พระขนิษฐภคินี และพระ กนิษฐภาดา ร่วมเจ้าจอมมารดาอีก 4 พระองค์ ทรง บูรณปฏิสังขรณ์ขึ้น
  • 11. ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 4 ปรากฏในพระราชพงศาวดารว่า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทาน นามวัดใหม่ว่า "วัด เบญจบพิต ร" ซึ่งมีความหมายว่า เป็นวัดของเจ้านาย 5 พระองค์ ครั้นมาถึงในรัชกาลที่ 5 ทรงใช้พระราชทรัพย์สวนพระองค์ในการบูรณ ่ ปฏิสังขรณ์วัดนี้อย่างเต็มที่ และสถาปนาขึ้นเป็น “วัด เบญจมบพิต ร ” เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2442 ถือเป็น วัดประจำารัชกาลที่ 5 นับแต่นั้นมา
  • 12.
  • 13. วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณสร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ตั้ง อยู่ทางทิศตะวันตกของฝั่งแม่นำ้าเจ้าพระยา เดิมเรียกว่า "วัด มะกอก" ตามชื่อตำาบลบางมะกอกซึ่งเป็นตำาบลที่ตั้งวัด ภายหลัง เปลี่ยนเป็น "วัดมะกอกนอก" เพราะมีวัดสร้างขึ้นใหม่ในตำาบล เดียวกันแต่ อยู่ลึกเข้าไปในคลองบางกอกใหญ่ชื่อ "วัดมะกอกใน" ต่อมาใน พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีพระราช ประสงค์จะย้ายราชธานีมาตั้ง ณ กรุงธนบุรีจงเสด็จกรีฑาทัพล่อง ึ ลงมาทางชลมารคถึงหน้าวัดมะกอกนอกนี้เมื่อเวลารุ่งอรุณพอดี จึง ทรงเปลี่ยนชื่อวัดมะกอกนอกเป็น "วัดแจ้ง" เพือเป็นอนุสรณ์แห่ง ่ นิมิตที่ได้เสด็จมาถึงวัด นีเมื่อเวลาอรุณรุ่ง ้
  • 14. เมื่อพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้ย้ายราชธานีจากกรุงศรีอยุธยามา ตั้ง ณ กรุงธนบุรีและได้ทรงสร้างพระราชวังใหม่ มีการขยายเขตพระ ราชฐาน เป็นเหตุให้วดแจ้งตั้งอยู่กลาง พระราชวังจึงไม่โปรดให้มีพระ ั สงฆ์จำาพรรษา นอกจากนั้นในช่วงเวลาที่กรุงธนบุรีเป็น ราชธานี ถือกัน ว่าวัดแจ้งเป็นวัดคู่บ้าน คู่เมือง เนื่องจากเป็นวัดทีประดิษฐาน พระแก้ว ่ มรกตและพระบาง ซึ่งสมเด็จ พระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) ได้ อัญเชิญพระพุทธรูปสำาคัญ ๒ องค์นี้มาจากลาวในคราวที่เสด็จตีเมืองเวียงจันทร์ ได้ในปี พ.ศ. ๒๓๒๒โดยโปรดให้อญเชิญ พระแก้วมรกตและพระบางขึ้นประดิษฐาน ั
  • 15. เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช รัชกาลที่ ๑ เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ ได้โปรดให้สร้างพระนครใหม่ฝั่งตะวันออก ของแม่นำ้าเจ้าพระยา และรื้อกำาแพงพระราชวังกรุงธนบุรีออก วัดแจ้ง จึงไม่ได้อยู่ในเขตพระราชวังอีกต่อไป พระองค์จึงโปรดให้วัดแจ้ง เป็นวัดที่มี พระสงฆ์จำาพรรษาอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนั้นพระองค์ทรง มอบหมายให้สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร (ร. ๒) เป็นผู้ดำาเนินการปฏิสังขรณ์วัดแจ้ง ไว้ในมณฑป และมีการ สมโภชใหญ่ ๗ คืน ๗ วัน(ในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ พระแก้วมรกตได้ย้าย มาประดิษฐาน ณ วัด พระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมหาราชวัง
  • 16. ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ พระองค์ทรงดำาเนินการปฏิสังขรณ์ต่อจนเสร็จ ทั้งได้ทรงปั้นหุ่น พระพุทธรูปด้วยฝีพระหัตถ์ และโปรดให้หล่อขึ้นประดิษฐานเป็นพระ ประธาน ในพระอุโบสถ และโปรดให้มีมหรสพสมโภชฉลองวัดในปี พ.ศ. ๒๓๖๓ แล้วโปรดพระราชทาน พระนามวัดว่า "วัดอรุณราชธารา ม" ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ได้ทรง ปฏิสังขรณ์วัดอรุณฯ ใหม่หมดทั้งวัด พร้อมทั้งโปรดให้ลงมือก่อสร้าง พระปรางค์ตามแบบที่ทรงคิดขึ้น จนสำาเร็จเป็นพระเจดีย์สูง ๑ เส้น ๑๓
  • 17. เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เสด็จเถลิง ถวัลราชสมบัติ พระองค์ได้โปรดให้สร้างและปฏิสังขรณ์ สิ่งต่าง ๆ ในวัดอรุณฯ เพิ่มเติมอีกหลายอย่าง ทั้งยังได้อัญเชิญพระบรมอัฐิ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มาบรรจุไว้ที่พระพุทธ อาสน์ของ พระประธานในพระอุโบสถที่พระองค์ ทรงพระราชทาน นามว่า "พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก" และเมื่อได้ทรง ปฏิสังขรณ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้พระราชทานนาม วัดเสียใหม่ว่า
  • 18.
  • 19. วัด นวลนรดิศ วรวิห าร เป็นวัดไทย ประเภทพระอารามหลวง ชั้นตรี อยู่ที่คลองบางกอกใหญ่ด้านตะวันตก ตรงกันข้ามวัดประดู่ฉิมพลี แต่มี คลองกั้นกัน ในแขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร[1]วัด นวลนรดิศวรวิหาร เดิมเป็นวัดโบราณ และร้างมานานมาก เชื่อว่าสร้าง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ปราศจากพยานหลักฐานในเรื่องนี้ มีชื่อ ดั้งเดิมว่า "วัดมะกอกใน" คู่กับ "วัดมะกอกนอก" ที่ปัจจุบันคือ วัดอรุณราชวราราม สาเหตุที่ได้ชื่อนี้เพราะตั้งอยู่ริมฝั่ง คลองบางกอกใหญ่
  • 20. ครั้งปลายรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถ เจ้าคุณพระราชพันธุ์ (นวล) ผู้เป็นภริยา เจ้าพระยาอัครมหาเสนา (บุนนาค) และเป็นพระภคินีของ สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระมเหสีพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาจักรีบรมนาถ ได้บูรณะวัดมะกอกในอันร้างดัง กล่าว โดยให้ เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) ผู้เป็นบุตร รับ ผิดชอบ
  • 21. เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) เข้าบูรณะวัดมะกอกใน หลัง เขาได้บูรณะวัดประยูรวงศาวาสเสร็จใน พ.ศ. 2379 ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฏพระราชทานนาม "นวลนรดิศวรวิหาร" ให้แก่วัดมะกอกใน เพื่อระลึกถึงเจ้าคุณ พระราชพันธุ์ (นวล
  • 22. ในรัชกาลถัดมา ได้มีการบูรณะวัดนวลนรดิศวรวิหารอีกหลายครั้ง ซึ่งปรากฏหลักฐานอย่างน้อยสองครั้ง ครั้งแรกอยู่ในความรับผิด ชอบของ เจ้าพระสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) และเจ้าพระยา ภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)และครั้งที่สอง ดำาเนินการโดย พระสาสนา นุรักษ์ (ทิม รตนโชติ) เจ้าอาวาส และมีรายละเอียดการปฏิสังขรณ์ อย่างพิสดารลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาด้วย ในสมัยหลัง ๆ ก็มี การบูรณะอีกหลายครั้ง