SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
สถานที่ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในพิธีกรรม
วัด / โบสถ์ (ecclesia)
คำว่ำ วัด มีที่มำจำกคำภำษำกรีก ekklesia ซึ่ง
หมำยถึง หมู่คณะที่ถูกเรียกให้มำชุมนุมกัน
วัดเป็นสถำนที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่ประทับของ
พระเจ้ำ และเป็นสถำนที่ประกอบพิธีกรรม จึงถูก
เรียกร้องให้ต้องรักษำบรรยำกำศที่สงบ และใช้วัด
เพื่อกิจกรรมที่เหมำะสม วัดทุกแห่ง ต้องได้รับกำร
เสกหรืออภิเษกก่อนเสมอ
โครงสร้ำงทั้งภำยนอกและภำยในวัด ต้อง
ถูกออกแบบอย่ำงรอบคอบ คำนึงถึงกำร
ประกอบพิธีกรรม และที่สำคัญเมื่อได้เข้ำไป
อยู่ในวัด จะต้องมีบรรยำกำศที่สัมผัสได้ว่ำ นี่
คือบ้ำนพระ
พระแท่น คือ สัญลักษณ์อันเด่นชัดที่สุด
ที่หมำยถึง องค์พระเยซูเจ้ำที่ประทับอยู่กับ
ชุมนุม และทรงเป็นประธำนที่แท้จริง ผู้
ทรงประกอบพิธีกรรม พระแท่นจึงเป็น
ศูนย์กลำงของพิธีกรรม เมื่อเริ่มจะสร้ำง
วัด จะต้องคิดถึงพระแท่นก่อนเป็นอันดับ
แรก
พระแท่นประจำวัดของชุมชนจะต้องเป็นพระแท่นที่ติดอยู่
ถำวร กับพื้น ไม่ใช่พระแท่นที่มีล้อเลื่อน หรือเคลื่อนที่ได้ (ที่
อนุญำตให้ใช้ได้ในวัดน้อย หรือโรงสวด) เป็นสัญลักษณ์ของ
“ศิลำทรงชีวิต” (1ปต 2:4;เทียบ
อฟ 2:20) มีผ้ำลินินสีขำวอย่ำงน้อย 1 ผืน ที่ได้รับกำรเสกแล้ว
ปูแท่นไว้เสมอ จะงดใช้ผ้ำปูแท่น เพียงครั้งเดียว คือ หลังมิสซา
วันพฤหัสศักดิ์สิทธิ์
เมื่อไม่มีพิธีกรรม ให้ใช้ผ้ำอีกผืนหนึ่งคลุมแท่นไว้
จะเป็นผ้ำสีเดียว หรือถ้ำจะรักษำธรรมเนียมดั้งเดิมที่ใช้สี
ตำมเทศกำลหรือวันฉลองก็ได้บนพระแท่นไม่ควรมี
พลำสติกปูทับผ้ำปูแท่น
เมื่อต้องถวำยมิสซำนอกวัด สำมำรถใช้โต๊ะแทนพระ
แท่นได้ แต่ต้องมีผ้ำปู และมีเวลำพอสมควรเพื่อเตรียม
โต๊ะตัวนั้นสำหรับใช้ในพิธี
บรรณฐาน (Ambo)
เป็นที่อ่ำนพระวำจำ ควรตั้งในตำแหน่งที่โดด
เด่น และมีเพียงบรรณฐำนเดียว ก่อนใช้ต้องได้รับ
กำรเสก มีธรรมเนียมที่จะตั้งบรรณฐำนทำง
ด้ำนซ้ำย (เมื่อเรำหันหน้ำหำพระแท่น) พิธีกรไม่
ควรใช้บรรณฐานเพื่อการประกาศ
หำกไม่เริ่มพิธี ณ ที่นั่งของประธำน ก็อนุญำต
ให้เริ่มพิธีที่บรรณฐำนได้ เคยมีธรรมเนียมตั้งเทียน
หน้ำบรรณฐำน แต่ได้เลิกปฏิบัติกันแล้ว
อำจตั้งดอกไม้พองำม หรือมีผ้ำห้อย
(antependium) ที่มีลวดลำยสอดคล้องกับที่ใช้ปูบน
พระแท่นก็ได้
ที่นั่งประธาน
ประธำนทำหน้ำที่ในนำมของพระเยซู
ที่นั่งของประธำนจึงควรอยู่ในที่โดดเด่น ให้ที่
ชุมนุมมองเห็น ที่นั่งนี้ควรสวยงำม แต่ไม่ควรมี
ลักษณะเป็นเหมือนบัลลังก์
ที่นั่งของประธำนควรได้รับกำรเสกเช่นเดียวกัน
เมื่อมีพิธีกรรมที่ประธำนไม่ใช่พระสงฆ์หรือสังฆำนุกร
(คือเป็นนักบวชหรือฆรำวำส)
จะไม่นั่งที่เก้ำอี้ของประธำน ให้จัดเตรียมที่นั่งใน
ตำแหน่งอื่นที่เหมำะสมแทน
ข้ำง ๆ ที่นั่งของประธำน มีที่นั่งเผื่อ
ไว้สำหรับพระสงฆ์ผู้ร่วมฉลอง
พิธีกรรม รวมทั้งสังฆำนุกร และที่นั่ง
นี้ ไม่ควรควรให้ผู้ช่วยพิธีนั่ง
(โดยธรรมเนียม และถือว่ำ
เหมำะสมที่จะต้องถือปฏิบัติต่อไป คือ
ผู้ช่วยพิธีจะไม่นั่งหันหน้ำมำทำง
สัตบุรุษ)
เมื่อมีตู้ศีลอยู่ในวัด ตู้ศีลควรตั้งอยู่ใน
ตำแหน่งที่เหมำะสม โดดเด่น และมีบริเวณ
เพียงพอต่อกำรเฝ้ำศีลส่วนตัว หำกตู้ศีลอยู่ติด
ผนัง ควรมีลักษณะยื่นออกมำจำกผนัง ตู้ศีลควร
มีควำมสวยงำม ทำจำกวัสดุที่ทรงคุณค่ำ
จะต้องไม่เป็นวัสดุโปร่งใส ระหว่ำงประกอบ
พิธีกรรม จะต้องไม่เปิดตู้ศีลไว้(ยกเว้นในมิสซำ
วันพฤหัสศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งตู้ศีลจะว่ำงเปล่ำ) ภำยในตู้
ศีลให้ปูผ้ำcorporal
ตู้ศีลต้องปิด ไม่คำกุญแจไว้
ตลอดเวลำ และเก็บกุญแจไว้ใน
ที่ที่เหมำะสม
ข้ำงตู้ศีล มีตะเกียง หรือไฟที่
เปิดไว้ตลอดเวลำ เป็นธรรม
เนียมที่ไฟหรือตะเกียงนั้น จะ
ครอบด้วยกระจกสีแดง
บนพระแท่น หรือข้ำงพระแท่น ต้องมี
กำงเขนที่มีรูปพระเยซูถูกตรึง(altar cross)
ตั้งไว้เสมอ ทั้งในมิสซำและนอกมิสซำ
(ยกเว้น เมื่อมีกำร
ตั้งศีลฯ ให้เก็บกำงเขนดังกล่ำวนี้ ควรมี
กำงเขนเดียว หำกหลัง
พระแท่นมีไม้กำงเขนที่มีพระเยซูถูกตรึงอยู่
แล้ว ก็ไม่ต้องมีกำงเขนอื่นอีก
กำงเขนที่ใช้แห่ (processional
cross) เมื่อมำถึงพระแท่น ผู้ช่วย
พิธีนำไปเก็บในห้องsacristy หรือ
ในที่ที่เหมำะสม
กำรมีกำงเขนนี้ในพิธีกรรม
โดยเฉพำะในพิธีมิสซำ ก็เพื่อเน้น
ย้ำว่ำ พิธีกรรมนี้เป็นบูชำของ
พระเยซู
เทียนที่ใช้สำหรับประกอบพิธีกรรม จะ
ตั้งอยู่บนหรือข้ำงพระแท่นก็ได้ จำนวน
ของเทียน
ยังถือเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงระดับกำร
ของฉลอง คือ 1 คู่ สำหรับมิสซำทั่วไป 2
คู่สำหรับวันฉลอง 3 คู่ สำหรับวันสมโภช
และเทียน 7 เล่ม สำหรับมิสซำที่
พระสังฆรำชเป็นประธำน
ประธำน เทียนสำหรับประกอบพิธีกรรม
ต้องเป็นเทียนสีขำว ไม่ต้องใช้สีเทียนตำมสีของ
อำภรณ์พระสงฆ์
ตำแหน่งที่วำงและควำมสูงของเทียนจะต้อง
ไม่บดบังประธำน หรือทำให้ลำบำกเมื่อต้องเดิน
รอบพระแท่น มีธรรมเนียมกำรตั้งมำลำ หรือ
หรีด ที่มีเทียนสี 4 เล่ม ในช่วงเทศกำลเตรียมรับ
เสด็จฯ จะไม่ตั้งมำลำหรือหรีดดังกล่ำวแทน
เทียนสีขำว อนุญำตให้ตั้งใกล้ๆ พระแท่นได้
ดอกไม้
กำรจัดดอกไม้มอบถวำยแด่พระเป็นกิจกำรที่ดี และมี
ควำมหมำย แต่ควรจัดให้เหมำะสมกับโอกำสตำม
เจตนำรมณ์ของพิธีต่ำง ๆ ในรอบปีพิธีกรรม ดอกไม้ยัง
แสดงถึงกำรเฉลิมฉลอง และบอกถึงระดับของกำร
ฉลองนั้น ๆ เช่นเดียวกัน อย่ำงไรก็ตำม บริเวณพระ
แท่น ไม่ควรประดับดอกไม้มำกเกินควร จนบดบังพระแท่น
ตามคาแนะนาของพระศาสนจักร ไม่ควรใช้ดอกไม้หรือ
ต้นไม้ที่ปลูกไว้ในกระถาง และไม่ใช้ดอกไม้พลาสติกอย่าง
เด็ดขาด
ถ้วยกาลิกส์ (calice)
ถือเป็นภำชนะศักดิ์สิทธิ์ ที่มีควำมสำคัญ ทำ
จำกโลหะ เคลือบสีทอง ต้องเสกก่อนเสมอ
ควรหลีกเลี่ยงกำรใช้ถ้วยแก้ว หรือเซรำมิก (แตก
ได้) รวมทั้งถ้วยที่ทำจำกวัสดุที่ดูดซับเหล้ำองุ่น
หรือเนื้อวัสดุอำจละลำยผสมกับเหล้ำองุ่นได้
หำกถ้วยกำลิกส์ที่เคลือบสีทองไว้เริ่มเก่ำแล้ว
จำเป็นต้องเคลือบใหม่
จานรองศีล(patena)
ใช้คู่กับถ้วยกำลิกส์ และต้องเสก
ก่อนเช่นเดียวกัน โดยปกติ จำนรองนี้
จะใช้วำงแผ่นศีลแผ่นใหญ่ สำหรับ
ประธำน กรณีที่ใช้แผ่นศีลขนำดใหญ่
พิเศษ ก็ต้องจัดหำจำนรองที่มีขนำด
ใหญ่พอด้วย
ผอบศีล ( Ciborium)
ภำชนะศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องเสกเช่นเดียวกัน ใช้
ใส่แผ่นปังแผ่นเล็ก ผอบศีลควรทำจำกวัสดุที่
ทรงคุณค่ำตำมท้องถิ่นนั้น ๆ ไม่ใช้ภำชนะที่
ใช้เพื่อกำรอื่น มำทำเป็นผอบศีล ผอบศีลมีทั้ง
ที่มีที่จับ และที่มีลักษณะเป็นเหมือนชำม
กรณีที่ตั้งศีลโดยใช้ผอบศีลแทนรัศมี ควร
เลือกใช้ผอบศีลที่มีที่จับ (กำรตั้งศีลโดยใช้
ผอบศีล จะตั้งเทียนเพียง 2 คู่ ถ้ำใช้รัศมี จะตั้ง
เทียน 3 คู่)
ตลับใส่แผ่นศีล ( PYX)
ใช้สำหรับใส่แผ่นศีลเพื่อ
ผู้ป่วย
เสกก่อนใช้ ไม่ควรใช้กล่อง
พลำสติก หรือแม้กล่องโลหะที่
ใช้เพื่อกิจกำรอื่นแทน
ชุดใส่น้าและเหล้าองุ่น ( Cruets)
ควรทำจำกแก้ว หรือคริสตัล
โปร่งใส เพื่อมองเห็นภำยในว่ำ
บรรจุอะไร หำกเป็นวัสดุสีทึบ ควร
มีเครื่องหมำยที่บ่งชี้ว่ำสำหรับใส่
เหล้ำองุ่นหรือใส่น้ำ
ที่ล้างมือพระสงฆ์
ควรมีขนาดพอเหมาะ ให้
พระสงฆ์สามารถล้างมือได้
มีธรรมเนียมสาหรับ
พระสังฆราชจะใช้ เหยือก
หรือโถน้าสวยงาม เพื่อ เท
น้า แทนการจุ่มมือ
เต้ากายาน (incense boat)
ใช้ใส่ผงกำยำน ปกติจะมี
ลักษณะเข้ำชุดกับหม้อไฟ
ควรตรวจสอบว่ำผงกำยำน
ไม่เกำะติดเป็นก้อน มีช้อน
เพื่อใช้ตัก
หม้อไฟ (thurible)
ปัจจุบันมีหม้อไฟหลำย
แบบ ทั้งเป็นที่มีโซ่เส้น
เดียว และที่มีหลำยเส้น แต่
ที่เหมำะสำหรับสำหรับใช้
คือมีโซ่ 4 เส้น
เทียนสาหรับนาขบวนแห่
ควรมีที่ตั้งเทียนที่สูงพอสมควร
และเทียนมีขนำดใหญ่-สูง ให้ดูสวยงำม
เมื่ออยู่ในขบวนแห่ เคียงข้ำงกำงเขน
เทียนสำหรับแห่นี้ เมื่อมำถึงพระแท่น
ให้นำเทียนไปวำงบนโต๊ะที่วำงภำชนะ
ศักดิ์สิทธิ์ (credence) หรือที่อื่นที่
เหมำะสม บำงแห่งวำงที่หน้ำหรือข้ำง
พระแท่น ซึ่งทำได้ถ้ำมีบริเวณเพียงพอ
ที่วางหนังสือ
อำจจะใช้ที่วำงหนังสือที่ปรับระดับได้ทำ
ด้วยไม้หรือโลหะ มีควำมสวยงำม หรืออำจจะ
ใช้หมอนที่ใช้สำหรับกำรนี้โดยเฉพำะก็ได้
(บำงแห่งมีธรรมเนียมใช้หมอนตำมสีของวัน
ฉลอง) โดยปกติสนับสนุนให้เริ่มพิธี ณ ที่นั่ง
ของประธำน หรือที่บรรณฐำน ซึ่งถ้ำปฏิบัติ
เช่นว่ำนี้ ในภาควจนพิธีกรรม ยังไม่ควรวางที่
วางหนังสือหรือหมอนรองบนพระแท่น ให้ยก
มาพร้อมหนังสือ และภาชนะอื่น ๆ เมื่อเริ่มภาค
บูชาขอบพระคุณ
ผ้ารองถ้วยกาลิกส์ (corporal)
เป็นผ้ำศักดิ์สิทธิ์ ที่ต้องเสกก่อนใช้
ขำดไม่ได้สำหรับพิธีมิสซำ และกำรตั้งศีล
ฯ เป็นผ้ำลินินสีขำว รูปทรงสี่เหลี่ยม
จัตุรัส เมื่อพับแล้วจะแบ่งเป็นเก้ำช่อง มี
รูปกำงเขนปักด้วยด้ำยสีแดง ในช่องกลำง
ของแถวล่ำงสุด ผ้ำผืนดีต้องให้
ควำมสำคัญ ให้สะอำดอยู่เสมอ
เพื่อแสดงออกถึงควำมเคำรพต่อศีลมหำ
สนิท
กำรซักผ้ำผืนนี้ และผ้ำศักดิ์สิทธิ์อื่น ๆ
ควรปฏิบัติตำมคำแนะนำของพระศำสนจักร
ซึ่งมีธรรมเนียมซักน้ำแรกใน sacrariumหรือ
อำจจะใช้ภำชนะอื่นแทน และเทน้ำแรกลง
พื้นดินโดยตรง ในพิธีกรรมหรือนอก
พิธีกรรม เมื่อจะวำงผอบศีลหรือถ้วยพระ
โลหิตบนโต๊ะ หรือในที่พักศีล จะต้องปูผ้ำ
ผืนนี้ก่อนเสมอ
ผ้าเช็ดถ้วยกาลิกส์ ( purificator)
ถือเป็นผ้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องเสกก่อนใช้
เช่นเดียวกัน เป็นผ้ำลินินสีขำว รูปทรง
สี่เหลี่ยมผืนผ้ำ พับ 3 ตำมแนวนอนแล้ว
พับครึ่ง เมื่อมีพระสงฆ์ช่วยส่งศีลจำนวน
มำก ให้เตรียมผ้ำนี้ สำหรับให้พระสงฆ์
เช็ดมือ
ไม่ควรใช้ผ้ำผืนนี้ซ้ำโดยไม่ได้ซัก
ควรเปลี่ยนผ้ำใหม่ทุกครั้ง แม้จะเป็น
พระสงฆ์คนเดียวกันที่ถวำยมิสซำ
แผ่นแข็งปิ ดถ้วยกาลิกส์ (palla)
เป็นผ้ำลินินสีขำวรูปทรงสี่เหลี่ยม
จัตุรัส มีแผ่นกระดำษแข็ง หรือไม้อยู่
ด้ำนใน ที่ผืนผ้ำปักเป็นลวดลำยที่
เกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ทำงพิธีกรรม
ไม่จาเป็นต้องหุ้มพลาสติก
จุดมุ่งหมายของการใช้แผ่นแข็งนี้ก็คือ
ใช้ปิดถ้วยกำลิกส์ เพื่อกันฝุ่นหรือสิ่ง
แปลกปลอมตกลงไป
ผ้าเช็ดมือพระสงฆ์
ไม่นับรวมเป็นผ้ำศักดิ์สิทธิ์ อย่ำงไรก็
ตำมถือเป็นเรื่องน่ำชม ที่จะใช้ผ้ำลินินสี
ขำวเช่นเดียวกัน ไม่ควรเป็นสีอื่น ไม่ควรมี
ลวดลำย (กำรล้ำงมือของพระสงฆ์ เป็น
ส่วนหนึ่งของพิธีกรรม มีบทภำวนำควบคู่
ไปด้วย) ผ้ำผืนนี้จะพับ 4 ตำมแนวนอน
แล้วพับครึ่ง
อัลบา (alba)
อัลบำ แปลว่ำ สีขาว จึง
หมายถึง ความบริสุทธิ์ ถือเป็น
อำภรณ์พิธีกรรม ต้องเสกก่อนใช้
โดยทั่วไปจะใช้พร้อมกับ
รัดประคด แต่ถ้ำอัลบำมีรูปทรงที่
ใส่ได้พอดีตัว ไม่ต้องใช้
รัดประคดก็ได้
รัดประคด ( cinture)
เป็นเชือกผ้ำ ใช้เพื่อให้ชุดอัล
บำ เข้ำรูปทรงสวยงำม
โดยทั่วไปจะใช้รัดประคดสีขำว
แต่หำกจะใช้สีตำมวันฉลองก็ได้
สโตลา (stole, stola)
เป็นผืนผ้ำห้อย นับเป็นอำภรณ์ศักดิ์สิทธิ์
ที่ต้องเสกเช่นเดียวกัน สโตลำที่ใช้คู่กับกำสุ
ลำ จะมีสีที่สอดคล้องกัน และไม่มีลวดลำย
ส่วนสโตลำที่ใช้เพื่อใส่โดยไม่สวมกำสุลำ
(อนุญำต เมื่อมีจำนวนพระสงฆ์ร่วมสหบูชำ
มิสซำจำนวนมำก) จะมีลวดลำยที่สอดคล้อง
กับพิธีกรรม ผืนผ้ำกว้ำงและยำวกว่ำสโตลำ
ที่ใส่กับกำสุลำ อย่ำงไรก็ตำม ไม่ควรยำวจน
เกินพอดี
ควำมหมำยประกำรหนึ่ง
ของสโตลำ คือ อานาจหน้าที่
ของศาสนบริกร (ที่ได้รับศีล
บวช) จึงสังเกตว่ำ กำรสวมสโต
ลำของพระสงฆ์และสังฆำนุกร
จึงไม่เหมือนกัน เพรำะสังฆำนุ
กรมีอำนำจหน้ำที่ไม่เท่ำ
พระสงฆ์
กาสุลา (Casula)
เป็นเสื้อชั้นนอกที่พระสงฆ์สวมทับเสื้ออัลบำ
สำหรับถวำยบูชำมิสซำ
กำสุลำเป็นอำภรณ์ที่สวมเต็มตัวด้ำนบน สวมทำง
ศีรษะเหมือนเสื้อที่ทำจำกผ้ำขนำดใหญ่ และเจำะรูไว้
สวมศีรษะ เนื่องจำกเสื้อหุ้มห่อผู้สวมใส่และ
ป้องกันเขำไว้เหมือนบ้ำนเล็ก ๆ หรือเต็นท์ เป็น
อำภรณ์ที่พระสังฆรำชและพระสงฆ์สวมเวลำ
ประกอบพิธีมิสซำ เป็นเครื่องหมำยแสดงว่ำผู้
ประกอบพิธีที่สวมกำสุลำ ได้"สวม" พระคริสต์เพื่อ
กระทำกำรแทนพระองค์ระหว่ำงถวำยบูชำมิสซำ
เสื้อกาสุลา ยังเป็นสัญลักษณ์แห่งความรักเมตตา ซึ่ง
ครอบคลุมคุณธรรม ทุกอย่าง มีศักดิ์ศรี มีเกียรติเหนือ
สิ่งอื่นใด เพราะเสื้อนี้คลุมทับ เสื้อ และเครื่องหมายอื่น
ๆ ทุกชิ้นไว้ เสื้อกาสุลา ไม่เพียงแต่หมายถึงความรัก
เมตตาเท่านั้น ต่อมา ยังหมายถึงคุณธรรมอื่น ๆ ด้วย
เป็นต้นว่า ความยุติธรรม ความ ศักดิ์สิทธิ์ของพระสงฆ์
ความเป็นผู้มีใจซื่อบริสุทธิ์ พระคุณของ พระจิต ความ
กล้าหาญในการป้องกันความเชื่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การแบกแอก (แอก = ภาระ) อัน “อ่อนนุ่ม และเบา”
ของ พระคริสตเจ้า เพื่อติดตามพระองค์ไป นอกนั้นยังมี
ความหมายถึง ความเป็นหนึ่งเดียวกันของพระศาสน
จักรอีกด้วย
แผ่นปั ง (hostia)
เป็นปังไร้เชื้อ (ไม่ผสมสิ่งใด)
ทำจำกข้ำวสำลีแท้โดยทั่วไปจะทำเป็นสองขนำด
สำหรับพระสงฆ์ขนำดใหญ่ และสำหรับสัตบุรุษจะ
ขนำดเล็ก
ปังแผ่นใหญ่ที่เตรียมไว้สำหรับพระสงฆ์ผู้เป็น
ประธำน รวมทั้งพระสงฆ์ผู้ร่วมที่อยู่ซ้ำยขวำ ไม่
ควรตัดแบ่งครึ่ง
ไว้ก่อน ถือเป็นหน้ำที่ของประธำนที่บิพระกำย
(ปังที่เสกแล้ว) แล้วแบ่งให้พระสงฆ์ท่ำนอื่น
เป็นธรรมเนียมปฏิบัติ ที่จะให้นักบวชในอำรำม เป็นผู้ผลิตแผ่น
ปัง ในกรณีที่ปรำรถนำจะใช้ปังไร้เชื้อที่มีรูปทรงเป็นก้อน เพื่อหัก
แบ่ง เหมือนในพิธีดั้งเดิม ต้องมั่นใจว่ำ ปังที่จัดทำนั้นมีคุณสมบัติ
เหมำะสมกำรเก็บแผ่นปังควรเก็บในภำชนะที่รักษำสภำพของแผ่น
ปังได้และมีลักษณะที่เหมำะสมด้วย
เหล้าองุ่น (wine, vinum)
พระศำสนจักรเรียกร้องอย่ำง
หนักแน่น ให้ใช้เหล้ำองุ่นแท้(เทียบ
ลก 22:18) ไม่มีอนุญำตให้ใช้เหล้ำ
อื่น ๆ แทน
ควรเก็บเหล้ำองุ่นให้มีสภำสมบูรณ์
ใช้ภาชนะ หรือขวดที่เหมาะสมสามารถ
เลือกใช้เหล้าองุ่นแดงหรือเหล้าองุ่นขาวดด้
(มีข้อกาหนดว่า เหล้าองุ่นสาหรับมิสซา
จะต้องไม่เกิน 20 ดีกรี)
เป็นที่สังเกตว่ำเหล้ำองุ่นที่ผลิตและมีขำย
ทั่วไป จะไม่ใช่เหล้ำองุ่นแท้ตำมคุณสมบัติที่
พิธีกรรมเรียกร้อง จึงควรใช้เหล้าองุ่นที่พระศา
สนจักร หรือพระสังฆราชท้องถิ่นรับรองแล้ว
เท่านั้น
หำกเหล้ำองุ่นเปลี่ยนสภำพแล้ว (มีรส
เปรี้ยว) ไม่ควรใช้ และถ้ำมีตะกอน ควรกรอง
ให้สะอำดก่อน
หำกมีผู้ป่วยที่ปรำรถนำจะรับศีล แต่รับ
พระกำยไม่ได้ จำเป็นต้องรับพระโลหิต ก็
สำมำรถทำได้โดยพระสงฆ์นำพระโลหิตที่
เสกในมิสซำของวันนั้น บรรจุในบรรจุ
ภัณฑ์ที่เหมำะสม และปลอดภัย อย่ำงไรก็
ตำมถ้ำต้องเก็บพระโลหิตไว้ในตู้ศีล หรือที่
อื่นใด จะต้องมั่นใจว่ำ สภำพของพระ
โลหิตจะยังคงสมบูรณ์

More Related Content

What's hot

การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
medfai
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
Noppakhun Suebloei
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
Kruorawan Kongpila
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทง
Sasimapornnan
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
phatrinn555
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติ
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทง
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
 
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

พิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณพิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรม กำยาน ในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรมสถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
 
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์
ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์
ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์
 
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
 
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
 
ภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรมภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรม
 
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณบทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯรายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
 
พิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกาพิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกา
 

Similar to สถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรม

วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
Tongsamut vorasan
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
watpadongyai
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 

Similar to สถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรม (14)

วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
(อ.นิป)
(อ.นิป)(อ.นิป)
(อ.นิป)
 
วั
วัวั
วั
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 

สถานที่อุปกรณ์ในพิธีกรรม