SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
ความหมายของ 
อาภรณ์ และสี 
ของอาภรณ์ที่ 
ใช้ในพิธี
เสื้อกาสุลา 
• เสอื้กาสุลา เป็นสัญลักษณ์แห่งความรักเมตตา 
ซึ่งครองคลุมคุณธรรมทุกอย่าง มีศักดิ์ศรี มีเกียรติ 
เหนือสงิ่อื่นใด เพราะเสื้อนี้คลุมทับเสอืและ 
เครื่องหมายอื่น ๆ ทุกชิ้นไว้ 
• เสื้อกาสุลา ไม่เพียงแต่หมายถึงความรักเมตตา 
เท่านั้น ต่อมายังหมายถึงคุณธรรมอื่น ๆ ด้วย 
เป็นต้นว่า ความยุติธรรม ความศักดิ์สทิธิ์ของพระ 
สงฆ์ ความเป็นผู้มใีจซื่อบริสทุธิ์ พระคุณของพระ 
จิต ความกล้าหาญในการป้องกันความเชื่อ โดย 
เฉพาะอย่างยิ่งการแบกแอก ( แอก = ภาระ ) อัน 
“อ่อนนุ่น และเบา” ของพระคริสตเจ้า เพื่อติดตาม
เชือกคาดเอว 
• เชือกคาดเอว คือการระแวดระวังตนเอง โดย 
เฉพาะจากราคะตัณหา รวมทงั้ความทะนงตนเอง 
ด้วย นักพิธีกรรมอื่น ๆ มคีวามเหน็ว่า เชือก หรือผ้า 
คาดเอว หมายถึง การควบคุมตนเอง และการ 
บำาเพ็ญตบะ อดออมอาหารการกิน 
• ความหมายที่เป็นแม่บททางรูปคำาสอนนั้นหมายถึง 
ความชอบธรรมของพระคริสตเจ้า 
• เป็นสญัลักษณ์ หมายถึงเชือกทผีู่กมดัองค์พระเยซู 
เจ้าขณะถกูจับ และรับทรมาน และยังหมายถึงแส้ที่ 
โบยพระวรกายของพระองค์ด้วย
สตอลา 
• สตอลา หมายถึง “แอก” หรือภาวะหม่าที่ของพระค 
ริสตเจ้าทพี่วกทา่นจะแบกไว้ จากเครื่องหมายพนื้ 
ฐานนมี้คีวามหมายอื่น ๆ ทตี่ามมาคือ หมายถึง 
คุณธรรมอันจำาเป็นที่สังฆานุกรหรือพระสงฆ์จะต้องมี 
เพอื่ประกอบภาวะหน้าทขี่องทา่น ได้แก่ ความ 
สภุาพถ่อมตน ความนบนอบเชื่อฟัง ความบริสุทธิ์ 
ความปรีชาฉลาด และความอดทน ความเข้มแข็ง 
• ในความหมายแคบ หมายถึง ภาวะหน้าทกี่าร 
ประกาศเทศนา และกล่าวว่า ผ้าสตอลา ทำาให้ระลึก 
ถงึผู้ประกาศพระวาจาของพระเจ้าที่เหมาะสม 
หมายความว่า ในการเทศนาจะต้องมีการเตรียม 
และความรู้สึกว่ากำาลังทำาอะไร
เสื้ออัลบา หรือ อัลบ์ 
• เสอื้อัลบา หรือ อัลบ์ เป็นเสื้อตัวยาวจรดข้อ 
เท้า แขนยาว ตัดเย็บด้วยผ้าลินินสขีาว อัลบา 
มีที่มาจากเสื้อที่กษัตริย์เฮโรดบังคับให้พระ 
เยซูเจ้าทรงสวมเพื่อล้อเลียนพระองค์ อัลบา 
จึงกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งพรมจรรย์ ความ 
บริสุทธิ์ และความสขุ ชวั่นิรันดร์ของผู้ที่ได้รับ 
การถ่บาปด้วยพระโลหิตของพระผู้ไถ่ในยุค 
กลางมีการปักลวดลายบนแขนเสื้อทั้งสองข้าง 
ที่หน้าอก และชายเสอื้อัลบาเป็นสัญลักษณ์ 
ของบาดแผลห้าแห้งที่พระคริสตเจ้าทรงได้รับ
โค้ป 
• โค้ป ในบรรดาเสื้อผ้าที่ใช้ในศาสนพิธี โค้ 
ปมีความวิจิตรงดงามที่สุด โค้ปมีลักษณะเป็น 
เสื้อคลุมตัวโคร่ง มีแขนแบบปีกค้างคาว ชาย 
เสื้อแผ่ออกได้เป็นครึ่งวงกลม คอปกขนาด 
ใหญ่ตกแต่งสวยงามห้อยลงมาจากบ่าทั้งสอง 
ข้าง สขีองเสอื้โค้ปขึ้นอยู่กับเทศกาลทาง 
ศาสนา เสื้อโค้ปใช้สวมในขบวนแห่ และ 
ศาสนพิธีที่ศักดิ์สิทธิ์มาก ๆ เสื้อโค้ปเป็น 
สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์ความไร้เดียงสา 
และเกียรติภูมิ
เสื้อดัลมาติกา หรือดัลมาติก 
• เสื้อดัลมาติกา หรือดัลมาติก เป็นเสื้อที่ 
สงัฆานุกรสวมทับเสอื้อัลบา มีลักษณะเป็นเสื้อ 
ไม่เข้ารูปตัวยาว แขนยาว รูปทรงของเสอื้ดัล 
มาดิกาเหมอืนไม้กางเขน จึงสื่อความหมาย 
ถึงพระมหาทรมาน นอกจากนยีั้งใช้เป็น 
สญัลักษณ์ของความสุข การไถ่บาป และ 
ความยุติธรรม ดัลมาติกาเป็นเครื่องหมายของ 
นักบุญสตีเฟน และนักบุญลอเรนซ์
เสื้อซูพลีส์ หรือเซอร์พลิส 
• เสอื้ซูพลีส์ หรือเซอร์พลิส เป็นเสื้อคลุมตัว 
ยาวถึงเข่าทำาด้วยผ้าลินินสีขาวแขนกว้าง 
ชายเสื้อมักติดลูกไม้ใช้สวมทับแคสซอก 
ระหว่างประกอบพิธีศีล และศาสนพิธีอื่น ๆ 
เสื้อซูพลีส์เป็นสัญลักษณ์ของการที่มนุษย์ได้ 
รับความยุติธรรม และสจัธรรมอันศักดิ์สทิธิ์คืน 
ม
สีของชุด 
มิสซา
• สีแดง สีทหี่มายถึงไฟ เลือด ชีวิต และการ 
ยอมตายเป็นมรณสักขี ซงึ่ก็ทำาให้ความหมาย 
ตามมาว่าเป็นความรัก พระคริสตเจ้าทรง 
สวมเสื้อคลุมสีแดง เป็นเครื่องหมายถึงความ 
รักของพระเจ้าทบีั่งเกิดเป็นมนุษย์ และหมาย 
ถึงการเป็นมนุษย์ของพระองค์โดยเฉพาะ 
เจาะจงหลังจากการกลับคืนชีพแล้ว ซงึ่ก็ 
เหมือนกับครั้งทที่รงจำาแลงพระวรกาย ฉลอง 
พระองค์ก็เปลี่ยนเป็นสีขาว เครื่องหมายของ 
การได้รับความรุ่งโรจน์สีแดงและสีขาว เป็นสี 
ที่ยกถวายแด่พระเจ้าในฐานะที่ทรงเป็นองค์ 
ความรัก และปรีชาญาณ = ฉลองมรณะ
• สีขาว เป็นสีทบี่่งบอกถึงการผ่านพ้นจากบาป 
หรือความตายไปสู่ชีวิตใหม่เพราะฉะนนั้ จึงเป็นสีที่ 
ใช้ในการล้างบาป และศีลกำาลัง เป็นสทีี่แสดงถึง 
ความสะอาดบริสุทธิ์จากการได้รับศีลล้างบาป และ 
เป็นสทีแี่สดงถงึความบริสุทธิ์แหง่พรหมจรรย์ด้วย 
นอกนั้น สีขาวยังใช้ในโอกาสที่มพีิธีศพด้วย จาก 
ความคิดในแง่ที่ว่าความตายเป็นการเปิดประตูสู่ชีวิต 
ใหมท่แี่ทจ้ริง เพราะฉะนนั้ในสมยัโบราณผ้าแพร 
คลุมหบีศพ และแถบผ้าต่าง ๆ จงึใช้สขีาว * 
นอกจากสีขาวธรรมดาแล้วพระศาสนจักรยังใช้สี 
ขาวเจิดจ้า ( แบบแสงตะวัน ) หรือทเี่รียกว่าสีเปลว 
เพลิงได้ด้วย ซงึ่มกัจะออกไปทางสทีอง * สีขาวก็ 
ยังคงรักษาความหมายของการกลับคืน๙พ หรือปัส
• ฉลองนักบุญ, อาทิตย์ปัสกา, เทศกาลปัสกา, 
• สมโภชพระเยซเูจา้เสด็จขึ้นสวรรค์(อาทติย์ที่ 7 เท 
ศกาลปัสกา), 
• สมโภชพระตรีเอกภาพ, 
• สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า, 
• สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากล 
จักรวาล(อาทติย์ที่ 34 เทศกาลธรรมดา อาทติย์ 
สุดท้ายก่อนเข้าเทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ), 
• คริสตมาส, 
• ฉลองครอบครัวศักดิ์สิทธิ์(อาทติย์ที่ 5 เทศกาล 
เตรียมรับเสด็จฯ)
• สีเขียว เป็นสีผสมของสีเหลืองกับสีฟ้า สเีหลือง 
หรือทอง หมายถึง นิรันดรภาพ และความเขื่อ ปรีชา 
ญาณ และความรุ่งโรจน์ สว่นสีฟ้าเป็นสีของพระ 
เป็นเจ้า พระบิดา หมายถึงความสัตย์จริงทแี่สดงออก 
ทางลมปราณของพระเจา้ หรือพระจติเจ้า สแีห่ง 
ความไมรู่้ตาย และความกระหายของมนุษย์ทจี่ะได้ 
ชีวิตเหนือธรรมชาติ และเป็นอมตะ สีเขียวทผี่สม 
จาก 2 สีนี้จึงมคีวามหมายถึงการสร้างโลกทเี่กิด 
จากพระปรีชาญาณ โดยการให้ลมปราณของพระ 
จิตเจ้าเป็นสีทแี่สดงถึงนำ้า และการฟนื้ฟูชีวิต หญา่ 
เขียวขจี * โดยปกติแล้ว สีเขียว หมายถึง 
คุณธรรมแหง่ความหวัง นอกนั้น สีเขียว ยังหมายถึง 
ชีวิตแหง่พระหรรษทาน และการได้รับพระคุณแหง่ 
ความรอดจากการกอบกู้มนุษย์ของพระองค์ 
• = เทศกาลธรรมดา
• สีดำำ เป็นสีที่ให้ควำมหมำยตรงข้ำมกับสี 
ขำว เป็นควำมมืดมนซึ่งตรงข้ำมกับแสงสว่ำง 
ควำมชั่วซึ่งตรงข้ำมกับควำมดี ควำมตำยซึ่ง 
ตรงข้ำมกับกำรมีชีวิต มีควำมหมำยไปถึงกำร 
ปฏิเสธ หรือกำรขำดแคลน อำทิเช่น ควำม 
ศักดิ์สิทธิ์ ยังหมำยถึงกำรสละโลก นอกนั้นยัง 
มีควำมหมำยถึงควำมหมำยถึงกำรถูกลงโทษ 
( สมัยโบรำณใช้ หมำยถึง กำรใช้โทษบำป 
ใช้ในพิธีกรรมผู้ล่วงลับ
• สีม่วง สผีสมเทำ่ ๆ กันระหว่ำงฟ้ำ กับแดง จึง 
หมำยควำมถงึ ควำมรัก ( แดง ) ในควำมสัตย์จริง ( 
ฟ้ำ ) และควำมสัตย์จริงในควำมรัก ( แดง ) ซึ่งมำ 
จำกพระเป็นเจ้ำ ( ฟ้ำ ) และเพื่อจะเป็นพยำนของ 
ควำมรัก และควำมสัตย์จริงนี้ พระบุตรผู้เสด็จมำ 
บังเกิดเป็นมนุษย์ ยอมรับทนทรมำนจนถงึ 
สิ้นพระชนม์บนไม้กำงเขนเหตุกำรณ์นี้ทำำให้เกิด 
ควำมทกุข์ปั่นป่วนในจิตใจ จึงเป็นควำมทุกข์ 
ทรมำน และกำรใช้โทษบำป ในพิธีระลึกถึงผู้ล่วงลับ 
ในปัจจบุันทใี่ห้ใช้สีมว่งแทนสีดำำได้นนั้ ก็เพอื่จะให้ 
เรำระลึกถึงควำมเชื่อนี้ว่ำเขำผู้ล่วงลับได้ผ่ำนจำก 
ควำมมดืมน หรือควำมเจบ็ปวด ไปสคู่วำมสว่ำง หรือ 
ควำมรักของพระเจ้ำแล้ง ใช้ในเทศกำลมหำพรต,
• สีชมพู สีกุหลำบ อำทิตย์ที่ 4 เทศกำลมหำ 
พรต ( ควำมชื่นบำน ), อำทิตย์ที่ 3 เทศกำล 
เตรียมรับเสด็จฯ ( ควำมยินดี ) เรียกว่ำ 
อำทิตย์แห่งควำมยินดี ควำมชนื่บำน เพื่อ 
แสดงว่ำ แม้จะอยู่ในเทศกำลแห่งควำมทุกข์ 
โศก และใช้โทษบำป ก็ยังมีควำมยินดีอยู่บ้ำง 
เพรำะวันแห่งกำรฉลองพระคริสตสมภพ หรือ 
ปัสกำใกล้เข้ำมำแล้ว สกีุหลำบ หรือ ชมพู ก็ 
เป็นสีที่สดกว่ำสีม่วงจึงแสดงถึงควำมหมำยนี้ 
ได้ดี อย่ำงไรก็ตำมสีนี้ไม่ได้บังคับให้ใช้
ศำสนภัณฑ์
• ถ้วยเหล้ำองุ่น – กำลิกส์ ถ้วยกำลิกส์ เป็น 
ถ้วยที่ใช้ใส่เหล้ำองุ่น และนำ้ำในพิธมีิสซำ ฯ 
เพื่อรำำลึกถึงอำหำรคำ่ำมื้อสดุท้ำย และกำรที่ 
พระคริสต์ทรงสละพระชนม์ชีพเป็นเครื่อง 
บูชำบนไม้กำงเขน 
• แผ่นศีล – กอสตีอำ เป็นขนมปังไม่ใส่เชื้อ 
มีลักษณะเป็นแผ่นกลม ๆ แบน ๆ ใช้ในพิธมีิส 
ซำฯ เป็นแผ่นศีล มีที่มำจำกคำำว่ำ “ออสเตีย” 
ในภำษำลำติน มีควำมหมำยว่ำ “เหยื่อ” หรือ 
“เครื่องสักกำระพลี” เมื่อแผ่นศีลอยู่คู่กับถ้วย
• แผ่นแข็ง – ปันลำ แผ่นที่ใช้สำำหรับปิด 
เหล้ำองุ่น และขนมปังเป็นครั้งครำว 
• ผ้ำปูแท่น – คอโปรำเร เป็นผ้ำลินินสีขำว 
ใช้ปูบนแท่น เพื่อวำงแผ่นศีลกับเหล้ำองุ่น 
ระหว่ำงพิธีเสกโดยระหว่ำงนั้น 
• ผ้ำเช็ดกำลิกส์ – ปูลีฟีกำตอ เป็นผ้ำลินินสี 
ขำวใช้ทำำควำมสะอำดถ้วยกำลิกส์หลังเสร็จ 
พิธีศีลมหำสนิท
• จำนศีล – ปำเตนำ เป็นจำนก้นตื้นสำำหรับ 
ใส่แผ่นศีลในพิธีมิสซำเป็นสัญลักษณ์ของ 
จำนที่ใช้ระหว่ำงอำหำรคำ่ำครั้งสุดท้ำยของ 
พระเยซูเจ้ำ 
• ผ้ำอบศีล – ชีบอลีอุม หมำยถึงภำชนะที่มี 
ฝำปิดที่ใช้ใส่แผ่นศีลศักดิ์สิทธิ์ในพิธีมิสซำ 
ควำมหมำยหลังนี้ทำำให้ผ้ำอบศีลกลำยเป็น 
สญัลักษณ์ของศีลมหำสนิท และอำหำรคำ่ำมอื้ 
สุดท้ำย
สิ่งของที่ใช้ใน 
พิธีกรรม 
• สงิ่ของที่ใช้ในพิธีกรรม ในพิธีกรรมของ 
ทำงศำสนำคริสต์นิกำยโรมันคำทอลิกนั้น มี 
พิธีกรรมที่สำำคัญอย่ำงหนึ่งคือ พิธบีูชำมิสซำ 
ขอบพระคุณ ในพิธีกรรมนี้ จะประกอบด้วย 
สงิ่ของหรือสถำนที่ต่ำง ๆ เช่น สถำนที่ 
ศักดิ์สิทธิ์ สถำนที่ประกอบพระวำจำ สถำนที่ 
สำำหรับนักขับ พระแท่น ตู้ศีล กำำยำน นำ้ำเสก 
นำ้ำมัน รูปภำพ – รูปปนั้ ฯลฯ แต่ละอย่ำงใน 
พิธีกรรมนั้น มีควำมเป็นมำและควำมหมำย 
แตกต่ำงกันไป ดังนี้
• 1. สถำนที่ศักดิ์สิทธิ์ ตำมกฎหมำยของพระ 
ศำสนจักร กำำหนดว่ำ สถำนทศีั่กดิ์สิทธิ์ คือ สถำนที่ 
ออกแบบไว้เพอื่นมสักำรพระเจ้ำ หรือสำำหรับ 
พิธีกรรมต่ำง ๆ สถำนทศีั่กดิ์สิทธิ์เหล่ำนตี้้องมกีำร 
เสกหรือทำำใหศั้กดสิ์ิทธิ์ สถำนทศีั่กดิ์สิทธิ์ คือ 
สว่นทเี่ป็นพระสงฆ์ คือตั้งแต่พระแทน่เป็นต้นไป เป็น 
สถำนที่สำำหรับพระสงฆ์ที่ถูกแยกออกจำกสัตบุรุษ 
• 2. สถำนที่ประกอบพระวำจำ เป็นสถำนที่ 
สำำหรับกำรอ่ำนบทอ่ำนจึงควรคำำนึงว่ำทุกคน 
สำมำรถเหน็ และเป็นทสี่นใจของทกุคน เพรำะ 
ต้องกำรเน้นว่ำ ทกุคนจะได้ลิ้มชิมรสพระธรรมของ 
พระ และเป็นที่สำำหรับอธิบำยควำมเชื่อ
• 3. สถำนที่สำำหรับนักขับ ในอดีตจะแยกสถำนที่สำำหรับ 
นักขับออกไปต่ำงหำก แต่ปัจจุบันนี้ถือว่ำนักขับกเ็ป็นส่วน 
หนึ่งของสัตบุรุษ จึงมีที่นั่งรวมกับสัตบุรษุ 
• 4. พระแท่น ควำมหมำยของพระแท่น ก่อนอื่นหมดเป็น 
โต๊ะอำหำร พระสงฆ์ในฐำนะผู้แทนองค์พระเยซูเจ้ำกระทำำสิ่ง 
ซึ่งพระคริสตเจ้ำทรงกระทำำในวันพฤหัสศกัดิ์สิทธิ์ และทรงสั่ง 
ให้พวกท่ำนกระทำำดังนั้นต่อ ๆ กันมำเพื่อเป็นที่ระลึกถึง 
พระองค์ พระแทนของคริสตชนในสมัยแรกเป็นโต๊ะไม้ 
เคลื่อนทไี่ด้ ต่อมำเป็นแบบตั้งอยู่กับที่ และในจำรีตลำตินให้ 
เป็นแบบทำำศลิำหรือหิน ซึ่งแท่นหรือหินเป็นรปูแบบที่ชำว 
อิสรำเอลใช้เป็นที่ถวำยเครื่องบูชำแต่พระเจ้ำ 
• 5. ตู้ศีล ในปัจจุบันของเรำเปรียบเสมือนเต็นท์นัดพบของ 
อิสรำเอล เป็นกำรจำำลองพลับพลำมำจำกชำวยิว ซึ่งเป็น 
เครื่องหมำยของกำรประทับอยู่ของพระเป็น เป็นที่เก็บพระ 
กำยของพระเยซูเจ้ำ
• 6. เทียนหรือแสงสว่ำง เป็นเครื่องหมำยแห่งควำมปิติ 
ยินดี เตือนให้ระลึกกำรประทับอยู่ของพระเจ้ำ เป็น 
เครื่องหมำยแห่งคำำภำวนำหรือกำรเป็นพยำนถึงพระคริสต 
เจ้ำ พวกคริสตชนจึงจุดไว้ที่พระแท่น หน้ำรูปศักดิ์สทิธติ์่อ 
หน้ำศลีมหำสนิท ควำมหมำยอีกประกำรหนงึ่คือ พระคริสต 
เจ้ำทรงเป็นแสงสว่ำง พระศำสนจักรได้ใช้พิธีเสกไฟหรือ 
เทียนปัสกำในคืนวันเสำร์ศักดิ์สิทธิ์ เพอื่หมำยถึงกำรเริ่มต้น 
ชีวิตใหม่จำกควำมมืดมำสู่ควำมสว่ำงหรือชีวิตใหม่ ดังนั้นใน 
พิธีกรรมต่ำง ๆ ของเรำ กำรใช้สัญลักษณห์รอืควำมหมำย 
ของแสงสว่ำง เป็นกำรช่วยให้เรำเข้ำใจถึงแสงสว่ำงของพระ 
คริสตเจ้ำ เป็นเครื่องหมำยถึงกำรประทับอยู่ของพระคริสต 
เจ้ำท่ำมกลำงเรำ 
• 7. กำำยำน พระศำสนจักรใช้กำำยำนในเวลำประกอบ 
พิธีกำรต่ำง ๆ เป็นเครื่องหอมที่ถวำยแด่พระเป็นเจ้ำ เป็น 
เครื่องหมำยแทนคำำภำวนำทลี่อยขนึ้ไปสวรรค์ หรือหมำยถึง
• 8. นำ้ำเสก มีกำำเนิด และกำรใช้ทั่ว ๆ ไปนับตั้งแต่ 
โบรำณกำลมำจนกระทงั่ทกุวันนี้ เพอื่กำรชำำระล้ำง 
สงิ่โสโครก หรือบำปมลทนิให้สะอำดบริสุทธิ์ เช่น 
เดียวกันกับที่ชนต่ำงศำสนำได้ใช้มำก่อน นำ้ำเสกที่ 
พรมหรือซดัในสถำนทศีั่กดิ์สิทธิ์หรือโบสถ์นนั้ “ถกู 
ทำำให้ศักดิ์สทิธิ์” ด้วยคำำภำวนำของพระศำสนจักร 
เพอื่ขับไล่จิตชั่ว และทำำให้นำ้ำสะอำดบริสทุธิ์ มกีำร 
ใส่เกลือผสมลงไปในนำ้ำที่จะเสกด้วยอย่ำงน้อยก็ 
ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 อำจเป็นกำรกระทำำตำมอย่ำง 
ประกำศกเอลีชำก็เป็นได้ นำ้ำเสก มจีุดประสงค์ส่วน 
ใหญ่ใช้ประพรมหรือซดัในสถำนทตี่่ำง ๆ อำทเิช่น 
บ้ำนเรือน โบสถ์ ทอ้งทุ่ง แมแ้ต่กำรพรมหรือซัดนำ้ำ 
เสกให้แก่สัตบุรุษในวันอำทิตย์ ก็ดูจะเหมอืนว่ำมี 
กำำเนิดมำจำกกำรต้องกระทำำให้สถำนที่ศักดิ์สิทธิ์ 
กอ่น ตำมกฎพระวินัยของนักพรต ซงึ่วิธีกำรยังคงมี
• 9. นำ้ำมัน ในกำรฉลองธรรมลำ้ำลึกแห่งควำมรอดในทำง 
พิธีกรรมนั้น บ่อยครั้งพระศำสนจักรได้นำำสิ่งหรือกำรกระทำำ 
ต่ำง ๆ ที่เป็นพื้นฐำนในกำรดำำเนินชีวิตมำใช้ เช่น รับ 
ประทำน ( ปัง ) ดื่ม ( เหล้ำองุ่นในโต๊ะอำหำร ) อำบนำ้ำ รวม 
ทั้งกำรใช้นำ้ำมันด้วย สื่อภำษำเหล่ำนี้สำมำรถแสดงออกในแง่ 
มุมต่ำง ๆ ถึงกำรกระทำำที่นำำควำมรอดมำให้จำกพระผู้เป็น 
เจ้ำ เมื่อพูดถึงนำ้ำมัน มนุษย์นำำมำใช้ประโยชน์หลำยรูปแบบ 
เช่น ใชประกอบอำหำร โดยเฉพำะในแถบเมดิเตอร์เรเนียน 
ใช้ในกำรให้แสงสว่ำง เช่น นำ้ำมันตะเกียง ใช้เป็นยำทำ 
ผิวหนัง เช่นนำ้ำร้อนลวก ฟกชำ้ำ ใช้ผสมนำ้ำหอม ชโลมให้ 
สดชื่นและบำำรุงผิวให้งำม ดังนั้นจึงเป็นกำรแปลกที่นำ้ำมัน 
กลำยเป็นเครื่องหมำยของควำมสดชื่น มีสุขภำพดี มีสันติสุข 
และในกำรประกอบพิธศีักดิ์สิทธิ์ ได้นำำนำ้ำมันมำใช้เพื่อหมำย 
ถึงเครื่องมือแห่งพระคุณพระจิตเจ้ำในตัวผู้รับศลีล้ำงบำป ศลี 
กำำลัง ศีลเจิมคนไข้ และศีลบวช
นำ้ำมันศักดิ์สิทธิ์ 
• นำ้ำมันสำำหรับผู้เตรียมรับศีลล้ำงบำป = 
O.S. / O.C. 
• นำ้ำมันคริสมำ(ศีลล้ำงบำป/ศีลกำำลัง/ศีลบวช) 
= S.C. 
• นำ้ำมันเจิมผปู้่วย = O.I.
• 10. รูปปั้น – รูปภำพ คริสตชนได้ใช้รูปปั้นรูปต่ำง ๆ 
แม้แต่ในสถำนที่ประกอบพิธกีรรม ทั้งนี้เพอื่เป็นสื่อช่วยให้ 
เข้ำถึงธรรมลำ้ำลึกต่ำง ๆ ของคริสตชน และช่วยกระตุ้นจิตใจ 
ให้ตอบสนองควำมเชื่อควำมศรัทธำ รูปปั้นหรือรูปภำพต่ำง ๆ 
นั้นเป็นรูปพระเยซูเจ้ำถูกตรึงบนไม้กำงเขนบ้ำง เป็นรูปพระ 
จิตในสัญลักษณข์องนกพิรำบบ้ำง ตลอดจนรูปพระนำงมำรีย์ 
และนักบุญต่ำง ๆ รวมทั้งรูปกระจกสีที่ประดับตำมประตู 
หน้ำต่ำงของโบสถว์ิหำร เป็นภำพเล่ำประวัติทำงพระวรสำร 
หรือภำพเดี่ยว ๆ ปัจจุบันเรำอยู่ในศตวรรษแห่งภำพต่ำง ๆ 
ก็ได้ อันเนื่องมำจำกควำมเจริญทำงสื่อมวลชนต่ำง ๆ โดย 
เฉพำะอย่ำงยิ่งทำงโทรทัศน์ วีดีโอ และภำพยนตร์ จึงน่ำให้ 
ควำมสำำคัญและสนใจในเรื่องนี้ว่ำเรำจะสำมำรถนำำสื่อต่ำง ๆ 
เหล่ำนี้มำใช้เป็นประโยชน์ นอกจำกกำรสอนพระธรรมคำำ 
สอนแล้ว ยังเป็นกำรดีที่จะใช้เพื่อเป็น “ภำษำ” แห่งกำร 
ประกอบพิธีกรรมของคริสตชนด้วย
พิธีบูชำมิสซำขอบพระคุณ 
• บูชำมิสซำ คือ กิจกรรมของพระเยซูเจ้ำใน 
ฐำนะพระสงฆ์ และเป็นกิจกรรมที่ศักดิ์สทิธิ์ 
เหนือกิจกรรมทั้งปวงไม่มีอะไรเทียบเทียมใน 
ด้ำนประสิทธิภำพเพียงแต่เอยชอื่ “ บูชำ ” ก็ 
บ่งบอกถึงควำมเหนือชั้นของกิจกรรมแล้ว 
ฉะนนั้บูชำมสิซำจึงเป็นสัญลักษณ์ และนิมิต 
หมำยศักดิ์สิทธิ์ได้ด้วยประสำททั้งห้ำ
ประวัติกำรเฉลิมฉลอง 
• แต่ละประเทศก็ย่อมมีวันฉลองสำำคัญ ๆ ประจำำประเทศนั้น ๆ 
เพ่อเป็นกำรระลึกถงึเหตุกำรณ์ สำำคัญต่ำง ๆ ในอดีตเช่น 
เดียวกัน ชำวยิวจะทำำกำรฉลองปัสกำทุกปี เพอื่ระลึกถงึวัน 
หลุดพ้นจำกำรเป็นทำสของอียิปต์ ในสมัยฟำโรห์ เขำถือว่ำ 
เป็นวันคล้ำยวันชำติ เพรำะพวกเขำเชื่อว่ำกำรได้รับอิสระ 
ครั้งนั้น ก็เนื่องมำจำกควำมช่วยเหลือของพระเป็นเจ้ำ แต่ใน 
ปัจจุบันนี้พิธีปัสกำของชำวยิวก็คือกำรระลึกถึงอำหำรคำ่ำมื้อ 
สุดท้ำยเท่ำนั้นเอง 
• แต่ในระหว่ำง กำรเลี้ยงอำหำรคำ่ำมื้อสุดท้ำยนี้ พระเยซูคริสต 
เจ้ำได้ทรงมอบควำมหมำยใหม่ให้แก่ปัสกำของชำวยิว เรำ 
คือลูกแกะปัสกำ ผู้ซึ่งถกูเป็นยัญบูชำ เพื่อช่วยพวกท่ำน ให้ 
รอดพ้นจำกกำรเป็นทำส 
• จำกแนวควำมคิดอันนี้เอง ทำำให้เรำเข้ำใจคำำสอนของนักบุญ 
เปำโลที่กล่ำวว่ำ “ พระคริสตเจ้ำ ” ลูกแกะปัสกำของเรำได้ 
ถูกถวำยเป็นยัญบูชำศีลมหำสนิทที่รับอยู่ทุกวันนี้
ควำมหมำยของกำรถวำยบูชำ 
มิสซำ 
• ศีลมหำสนิทเป็นของขวัญที่ยงิ่ใหญ่ ทพี่ระเยซูเจ้ำได้ 
ประทำนแก่ประชำกรของพระเป็นเจ้ำ เพรำะควำม 
รักอันเปี่ยมล้นของพระองค์ มแีต่พระองค์เทำ่นั้น 
ผู้ทรงเป็นพระเจ้ำแทแ้ละมนุษย์แท้ ทที่รงมีพระ 
ประสงค์และอำำนำจที่จะกระทำำกำรมหัสจรรย์เช่นนี้ 
ได้ เพื่อทจี่ะประทบัอยู่กบัเรำ เป็นควำมบรรเทำ พละ 
กำำลัง ควำมสุข และสันติของเรำ 
• คำำว่ำ ศีลมหำสนิท = กำรขอบพระคุณ 
ประกอบด้วย 
• กำรถวำยบูชำ หรือมสิซำ 
• กำรรับศีลมหำสนิท 
• กำรประทบัอยอู่ย่ำงแทจ้ริง ทงั้ทำงกำรและพระธำตุ 
แท้ของพระเยซูเจ้ำในศีลมหำสนิท
กำรถวำยบูชำมิสซำ คือ 
• กำรถวำยบูชำยัญของพระเยซูเจ้ำบนไมก้ำงเขน ซึ่ง 
ได้รับกำรรื้อฟนื้ทกุวันบนพระแทน่บูชำ ตำมพระ 
ประสงค์ของพระองค์ 
• เป็นเครื่องหมำยแห่งกำรเป็นหนึ่งเดียว และเป็นสำย 
สมัพันธ์แห่งควำมรักของประชำกรของพระเป็นเจ้ำ 
(ซึ่งมนุษย์ทกุคน ทกุเชื้อชำติ ได้รับกำรเรียกให้มำ 
เป็นหนึ่งเดียวกัน 
• เป็นกำรเลี้ยงปัสกำ ซึ่ง (ในในกำรรับศีลมหำสนิท ) 
พระเยซูคริสตเจำ้เอง ผู้ทรงเจริญชีวิตอย่ำงแทจ้ริง 
ได้เข้ำมำประทบั และทรงทำำให้วิญำณของเรำเต็ม 
ไปด้วยพระหรรษทำน สันติ ควำมเชื่อ ควำมหวัง
• มิสซำ จริง ๆ แล้ว เป็นรูปแบบของกำร 
ถวำยบูชำยัญบนภูเขำกัลวำรีโอ เครื่อง 
บูชำก็คือ องค์พระคริสตเจ้ำ ซึ่งเป็นเครื่อง 
บูชำเดียวกับบูชำมิสซำ เพียงแต่รูปแบบของ 
กำรถวำยบูชำเท่ำนั้นที่เปลี่ยนไป บูชำบนภู 
เขำกัลวำรีโอ พระเยซูเจ้ำได้ทรงหลั่งพระ 
โลหิตอันแท้จริง ในบูชำมิสซำพระองค์ได้ 
ทรงถวำยพระองค์เองแด่พระบิดำเจ้ำสวรรค์ 
ของพระองค์ในรูปแบบที่ไม่มีโลหิต แต่เป็น 
ธรรมลำ้ำลึกที่ไม่อำจเข้ำใจได้
• ดังนั้น พระศำสนจักร จึงปรำรถนำอย่ำงแรง 
กล้ำ ให้บรรดำคริสตังที่ร่วมถวำยบูชำมิสซำ 
อันลึกลำ้ำยิ่งนี้อย่ำได้มำร่วมกันแบบคนต่ำง 
ศำสนำ ที่มำดูมิสซำกันอย่ำงเงียบ ๆ ตั้งแต่ต้น 
จนจบ มันไม่ใช่บรรยำกำศของพี่น้อง คริสต 
ชนตรงกันข้ำม ถ้ำสัตบุรุษเข้ำใจควำมหมำย 
และคุณค่ำของพิธีกรรมและกำรสวดภำวนำ 
เป็นอย่ำงดีแล้ว เขำยิ่งจะมีสว่นร่วมถวำยบูชำ 
อย่ำงเต็มที่ โดยตอบรับ ขับร้องด้วยควำม 
สำำนึกในควำมศักดิ์สิทธิ์
ภำคต่ำง ๆ ของบูชำมิสซำ 
พธิีกำรตำ่ง ๆ ของบชูำมิสซำนั้น 
ประกอบด้วยภำคตำ่ง ๆ ดังนี้ คอื
• ภำคนำำ ตั้งแต่เริ่มพิธไีปจนถึง บทภำวนำ 
แรกของประธำนคือ เพลงแห่เข้ำ, กำร 
คำำนับพระแทนและกำรทักทำยที่ประชุม, 
กำรสำรภำพควำมผิด, ข้ำแต่พระเจ้ำ ขอ 
ทรงประกรุณำเทอญ, พระสิริรุ่งโรจน์, บท 
ภำวนำแรกของประธำน 
• ภำคแรก วจนพิธีกรรม ( บทอ่ำนในพระ 
คัมภีร์บทแรก ถึง บทภำวนำเพื่อมวลชน ) 
บทอ่ำนจำกพระคัมภีร์, เพลงคั่นระหว่ำงบท 
อ่ำน ( เพลงสดุดี, เพลงถวำยสรรเสริญ ),
• ภำคสอง พิธมีหำสนิท ( ตั้งแต่กำรเตรียม 
เครื่องบูชำ ถึง บทภำวนำหลังรับศีล )กำรเตรี 
ยมถวำยเครื่องบูชำ กำรแห่เครื่องบูชำ, กำร 
ถวำยกำำยำน, กำรล้ำงมือ, พี่น้องจงภำวนำ 
ขอให้กำรถวำยบูชำ .... ,บทภำวนำเตรียม 
เครื่องบูชำ, คำำภำวนำแห่งศีลมหำสนิท หรือ 
บทขอบพระคุณ, ตอนรับศีลมหำสนิท 
• ภำคปิดพิธี คือ กำรประกำศต่ำง ๆ , คำำอำำลำ 
อวยพร และปิดพิธี
สัตบุรุษจะมีส่วนร่วมในกำร 
ถวำยบูชำได้อย่ำงไร 
• มิสซำที่ถวำยกันอยู่ทุกวันนี้ไม่ใช่กิจกำรของ 
พระเยซูเจ้ำเพียงพระองค์เดียวเท่ำนั้น แต่เป็น 
กิจกำรของพระศำสนจักรทั้งครบ ถึงแม้ว่ำใน 
ขณะที่พระสงฆ์ถวำยพิธีมิสซำ โดยไม่มี 
สัตบุรุษร่วมด้วยคุณค่ำและควำมสมบูรณ์ของ 
มิสซำก็มิได้ลดน้อยลงเลย เพรำะว่ำพระสงฆ์ 
ได้ถวำยพิธีมิสซำในนำมของพระศำสนจักร 
ถึงกระนั้นก็ดี พระศำสนจักรเองก็ยังต้องกำร 
ให้สัตบุรุษทุกคนร่วมถวำยมิสซำและรับศีล 
มหำสนิท
• ควำมสำำคัญของกำรสวดภำวนำและกำรตอบ 
รับพร้อมกันนนั้ มิได้อยู่ที่กำรแสดงออก 
ภำยนอกเท่ำนั้น แต่เป็นสญัลักษณ์ที่ศักดิ์สิทธิ์ 
ของพระคริสตเจ้ำ แสดงออกถึงควำมเป็น 
หนงึ่เดียวกันกับผู้นำำกำรถวำยบูชำมิสซำ คือ 
พระสงฆ์ บทภำวนำที่สำำคัญที่สัตบุรุษควำม 
สวดพร้อมกัน คือ บทข้ำพเจ้ำเชอื่ บทแสดง 
ควำมเชื่อ บทภำวนำเพื่อมวลชน และบทข้ำ 
แต่พระบิดำ ฯลฯ กำรร่วมพิธบีูชำมิสซำของ 
เรำจะมีผลสมบูรณ์ขึ้น ถ้ำเรำร่วมด้วยจิตใจ
. อิริยาบถ และกิริยาอาการ 
ที่ใช้ในพิธีกรรม 
• พิธีกรรม ไม่ใช่คำาภาวนาในใจ แต่เป็นการแสดงออกทาง 
ถ้อยคำา และทางอิริยาบถ กิริยา และอาการต่าง ๆ ที่มีกฎ 
เกณฑ์ กำาหนดไว้ ทั้งนี้ก็เพราะว่าเราจะต้องไม่แยกร่างกาย 
ออกจากวิญญาณ เพราะฉะนั้นการที่จะถวายคารวะกิจเพียง 
ทางความคิดหรือจิตใจเท่านั้น จึงไม่ใช่เพียงแต่เป็นแบบ 
มนุษย์เท่านั้น แต่ยังเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้อีกด้วย 
• ดังนั้นการกระทำาต่าง ๆ ของคนเราก็รวมเข้าอยู่ในตัว 
ตนทั้งหมดในการแสดงออก หรือแม้แต่ทำาให้สภาพภายใน 
ตัวของเราเกิดขึ้น อิริยาบถ และกิริยาต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นสิ่ง 
จำาเป็นเพื่อการมีส่วนร่วมในพิธีกรรม 
• เพื่อเป็นการช่วยสัตบุรุษให้มีส่วนร่วมอย่างแข็ง 
ขันขึ้น กระตุ้นพวกเขาให้มีส่วนร่วม โดยการโห่ร้อง 
ตอบรับ ร้องเพลงสดุดี บทรับสั้น และบทเพลงต่าง ๆ 
รวมทั้งการกระทำาต่าง ๆ กิริยาอาการ และอิริยาบถ 
ต่าง ๆ (สังฆธรรมนูญว่าด้วยพิธีกรรม 30 ) 
• ยิ่งกว่านั้น ภาษาของคำาพูด โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษา 
ของผู้ประกอบพิธีกรรม จะเป็นที่เข้าใจได้มากขึ้นโดยใช้
1.1 อิริยาบถที่ใช้ใน 
พิธีกรรม 
• พิธีกรรมไมใ่ช่การกระทำาส่วนตัว แต่เป็นการ 
แสดงออกหรือภารกิจทางการของพระศาสนจักร 
ดังนั้นอิริยาบถต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการยืน การนงั่ 
การคุกเข่า ฯลฯ จะต้องไมเ่ป็นแบบตามสบาย แต่ 
จะต้องแสดงออกด้วยความเคารพ ความเป็นนำ้า 
หนึ่งใจเดียวกัน และเข้าใจถึงความหมายซึ่งแตก 
ต่างกันไปในแต่ละวัฒนธรรม 
• ดังนั้น จึงจำาเป็น และสำาคัญทจี่ะต้องให้ทกุคน 
เข้าใจว่า บางครั้งเรา ยืน นั่ง คุกเข่า ทำาไม ? มี 
เหตุผลหรือความหมายอย่างไร เขาจะได้รับรู้ว่า 
อิริยาบถต่าง ๆ มคีวามจำาเป็นในการส่งเสริมการ 
ภาวนาในรูปแบบต่าง ๆ กัน
การยืน 
• การยืนเป็นอิริยาบถที่เหมาะอย่างหนึ่งสำาหรับศาสนบริกรที่พระแท่นบูชา 
โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เป็นประธาน การยืนยังเป็นอิริยาบถเบื้องต้นของ 
พิธีกรรมสำาหรับสัตบุรุษด้วย ในลักษณะการเช่นนี้เป็นเครื่องหมายบ่ง 
บอกความเคารพ เราจะลุกขึ้นยืน ให้เกียรติแก่บุคคลที่เราประสงค์จะ 
ให้เกยีรติแก่เขา ดังนั้น ในพิธีกรรมเราจึงยืนในภาคเริ่มพิธี และใน 
ภาคปิดพิธี เมื่อขบวนประธาน และศาสนบริกรเดินเข้ามา และออกไป 
ประชาสัตบุรุษยืน เมื่อรับการทักทายจากประธาน ยืน ขณะอ่านพระว 
รสาร ดังที่ชาวอิสราเอลยืนขณะพระเยซูเจ้าตรัสกบัพวกเขา การยืนยัง 
เป็นอิริยาบถทั่วไปของชาวอิสราเอลขณะภาวนา พวกคริสตชนรุ่นแรกก็ 
ภาวนาในอิริยาบถนี้ ดังที่เห็นจากภาพวาดในกาตาก็อมบ์ ฯลฯ ดังนั้น 
ในพิธีกรรม ประชาสัตบุรุษจึงยืนขึ้น เพื่อร่วมใจภาวนาพร้อมกับผู้เป็น 
ประธานในคำาภาวนาเอก หรือสำาคัญ ๆ นอกนั้น ในธรรมเนียม และ 
ความคิดของคริสตชนโบราณ การยืนเป็นอิริยาบถแสดงถงึการมีส่วนใน 
การกลับคืนชีพอย่างรุ่งเรือง หรือปัสกาของพระคริสตเจ้า การยืน ยัง 
เป็นอิริยาบถที่เหมาะสมกับผู้ที่กำาลังรอคอยการเสด็จมาครั้งที่สองของ 
พระคริสตเจ้า ( Parausia ) เฉพาะพระพักตร์พระบุตรแห่งพระเจ้า 
พวกเขาคงยืนอยู่ เพราะไม่หวั่นกลัวการตัดสิน ที่เต็มไปด้วยพระ 
ยุติธรรมของพระองค์ 
• ( มลค. 3:2 ) ความหมายสุดท้ายของการยืน คือ ผู้ได้รับเลือกสรร 
จากพระเจ้าบนสวรรค์ต่างยืนขอบพระคุณพระเป็นเจ้า ( วว 7 : 9 ;
การคุกเข่า 
• แม้ว่าการยืนจะมีความสำาคัญในอิริยาบถของคริสต 
ชน แต่การคุกเข่าก็มคีวามสำาคัญเหมือนกัน ตั้งแต่ 
โบราณแล้วเพราะก่อนจะมีการคืนชีพอย่างรุ่งเรือง 
หรือปัสกา กม็ีการใข้โทษบาป การคุกเข่าภาวนา 
เป็นเครื่องหมายแสดงถึงการกลับใจ เป็นระยะเวลา 
ของการจำาศีล ไว้ทกุข์ ถ่อมตน ใช้โทษบาป การ 
คุกเข่าภาวนายังเป็นอิริยาบถของการภาวนาสว่นตัว 
แบบฤาษีนักพรตอียิปต์โบราณคุกเข่าอ่านหนังสือ 
เพอื่รำาพึงภาวนา นักบุญเปาโลยังยอกว่า “ ข้าพเจ้า 
คุกเข่าเฉพาะพระบิดา “ ( อฟ 3 : 14 ) ในสมยั 
หนึ่งการคุกเข่า เป็นอิริยาบถของทางยุโรป เพอื่ 
นมสัการศีลมหาสนิท และรับศีลมหาสนิท ซึ่งบ่ง
การนั่ง 
• การนงั่เป็นอิริยาบถของอาจารย์สอนศิษย์ และ 
ประธาน หรือหวัหน้าในทปี่ระชุม ด้วยเหตุนพี้ระ 
สงัฆราชจึงมเีก้าอี้ประจำาตำาแหน่ง หรืออาสน์ 
( Cathedra ) ที่ท่านนั่งขณะเป็นประธาน 
ปราศรัย โดยมพีระสงฆ์นงั่รอบ ๆ ท่านบนมา้นั่ง 
สัตบุรุษเองได้รับการเชื้อเชิญให้นั่งลงหลายครั้งใน 
พิธีกรรม การนงั่ขณะรับฟังพระวาจาของพระเจ้า 
เป็นการแสดงออกถึงการรับฟังอย่างตั้งใจเป็น 
เหมือนกับพวกศิษย์ของพระเยซูเจ้าที่นั่งรอบ 
พระองค์เพื่อฟังพระองค์ตรัสสั่งสอน ฉะนนั้โดยปกติ 
สตับุรุษจึงนั่งขณะมกีารอ่านพระวาจา ( ยกเว้นพ 
ระวรสาร ) ขณะขับร้องบทคั่น และขณะฟังเทศนา
การก้มศีรษะ 
• มกีารเชื้อเชญิให้สตับุรุษก้มศีรษะ ก่อนจะรับพร 
แบบสง่าจากประธานในพิธี “ โปรดก้มศีรษะรับพร “ 
ในมสิซาสมยัโบราณ วันธรรมดาในเทศกาลมหา 
พรต มบีทภาวนาทเี่รียกว่า Super Populum 
(คำาภาวนาให้แก่สัตบุรุษ ) ซึ่งสังฆานุกรจะประกาศ 
ว่า “Humiliate capita vestra Deo “ (จง 
กม้ศีรษะเฉพาะพระพักตร์พระเจ้า ) อย่างไรกต็าม 
อิริยาบถนี้มกัจะแทนทดี่้วยการคุกเจ่า ขณะพระ 
สงฆ์อวยพร การภาวนา ของพวกนักพรตก็มบีาง 
ช่วงทพี่วกทา่นก้มศีรษะอย่างลึก ในบทประจำา 
มสิซากม็บีอกใหพ้ระสงฆ์ก้มศีรษะ พร้อมกล่าวคำา 
ภาวนาส่วนตัว การคำานับพระแทน่ และคำานับพระ
การหมอบกราบกับพื้น 
• อิริยาบถนี้ปัจจุบันใช้น้อยมากในพิธีกรรม 
โรมันของเรา จะใช้เพียงในพิธีของผู้ที่ถวาย 
ตัวอย่างเด็ดขาดต่อหน้าพระสังฆราช ซึ่ง 
ได้แก่ผู้ที่จะบวชเป็นสงัฆานุกร พระสงฆ์ 
และพระสังฆราชสตรีผถู้วายตัวแด่พระเจ้า 
นักพรตชาย – หญิง โดยหมอบกราบกับพื้น 
ขณะร้องเพลงรำ่าวิงวอนนักบุญทั้งหลาย ใน 
พระคัมภีร์การหมอบกราบเป็นอิริยาบถที่ใช้ 
ในการภาวนาบ่อยที่สดุ เรายังเห็นการถือ 
ปฏิบัติที่สะท้อนให้เห็นในเวลานี้ คือ ในตอน 
เริ่มแรกของพิธีในวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ การ 
หมอบกราบกับพื้นนี้ถือเป็นการวอนขอที่ลึก
กิริยาอาการที่ใช้ในพิธีกรรม 
• กริิยาอาการที่ใช้ในพิธีกรรม บางอย่างกเ็ป็นเพียงเพื่อใช้ประโยชน์ 
เช่น การล้างมือหลังพิธีการบางอย่าง หรือหลังการเจิมนำ้ามันศักดิ์สิทธิ์ 
หลังการโรยเถ้าบนศีรษะ บางอย่างก็เป็นการทำาประกอบคำาพูด เพื่อ 
เน้นความหมาย เช่น การยกมือขวา( ของผู้ร่วมในพิธี ฯ ) ชี้ไปที่ปัง 
และเหล้าองุ่นเวลาเสกศีล การยกพระกาย และพระโลหิตชูขึ้น พร้อม 
กบักล่าวคำาว่า “ อาศัยพระคริสตเจ้า พร้อมกับพระคริสตเจ้า และ 
ในพระคริสตเจ้า 
• ข้าแต่พระบิดาผู้ทรงสรรพานุภาพพระองค์ทรงพระสิริรุ่งโรจน์ 
ร่วมกับพระบิดาและพระจิตตลอดนิรันดร ” นอกนั้นยังมีกริิยา 
อาการที่แสดงถึงความเคารพ หรือเทิดทูน ต่อบุคคล หรือสิ่งของที่ 
ถอืว่าศักดิ์สิทธิ์ กิริยาอาการเหล่านี้ บางอย่างอาจได้มาจากสังคมที่ 
แวดล้อมในสมัยนั้น เช่น การซ่อนมือไว้ใต้เสื้อหรือผืนผา้ขณะอัญเชิญ 
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น อัญเชิญผอบบรรจุศีลมหาสนิท ตลอดจนถึงหมวกสูง 
ไม้เท้าพระสังฆราช เหล่านี้มาจากพิธีการในราชสำานักในสมัยจักรวรรดิ 
ไปซันตินยุคหลัง การพนมมือเป็นพิธีการของพวกขุนนาง หรือผู้เช่า 
ครอบครองที่ดิน ที่คารวะเจ้านายของตน 
• กริิยาอาการบางอย่างก็เป็นสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคริสตชนเอง 
เช่น เครื่องหมายกางเขนที่กระทำาบนหน้าผาก อก และไหล่ทั้งสองข้าง 
ในที่นี้เราจะพิจารณาถึงความหมายของกิริยาอาการบางประการ
การทำาเครื่องหมายกางเขน 
(ทำาสำาคัญมหากางเขน) 
• ตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 3 ในพิธีรบัศลีล้างบาป และศีลกำาลัง 
ของคริสตชนในอัฟริกา และที่กรงุโรม มีการทำาเครื่องหมาย 
ไม้กางเขนที่หน้าผากของผู้รับศลี เป็นเครื่องหมายว่าบุคคล 
ผู้นั้นได้กลายเป็นของ 
• พระคริสตเจ้า และประหนึ่งถูกประทับตราหมายไว้แล้ว ค 
ริสตชนทำาเครื่องหมายไม้กางเขนให้กับตนเองบ่อย ๆ 
นอกจากทำาเครื่องหมายบนหน้าผากแล้ว คริสจชนยังทำา 
เครื่องหมายที่ส่วนอื่น ๆ ของร่างกายด้วย กลายเป็น 
เครื่องหมายขับไล่ปิศาจอีกอย่างหนึ่ง การทำาเครื่องหมาย 
กางเขนอีกรูปแบบหนึ่ง คือ การยกมืออวยพรวิธีการอวยพร 
จะแตกต่างกนับ้าง สุแล้วแต่ท้องที่ และกาลสมัย พวกตะวัน 
ออกมักจะอวยพรโดยมือถือไม้กางเขนไปด้วย ส่วนการทำา 
เครื่องหมายไม้กางเขนแบบ “มิติกว้าง” คือ ที่หน้าผากไปที่ 
อก และไปที่บ่าซ้าย – ขวา ซึ่งนิยมทำากนัมากในปัจจุบันนี้ 
เข้าใจกันว่ามีภายหลังวิธแีรกซึ่งเป็นแบบ “มิติสั้น” คือ ทำา 
รูปกางเขนที่จุด ๆ เดียว ตรงส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย 
วิธีนี้นำามาใช้เป็นต้นว่า กอ่นอ่านพระวรสาร โดยผู้อ่าน
การข้อนอก หรือทุบอก 
ระหว่างการสวดบท “ ข้าพเจ้าขอสาร 
ภาพฯ ” เมื่อถึงตอน “ โอ้บาปข้าพเจ้า 
“ มีการ “ ทุบอก “ เป็นเครื่องหมายของ 
ความสำานึกผิด และความถ่อมตน กิริยา 
อาการนี้เราพบได้ในพระวรสารนักบุญ 
ลูกา “ ฝ่ายคนเก็บภาษีนนั้ยืนอยแู่ต่ไกล 
ไม่แหงนดูฟ้า แต่ทุบอกตนเองว่า ข้า 
แต่พระเจ้าขอโปรดพระเมตตาแก่ 
ข้าพเจ้าผเู้ป็นคนบาปเถิด ( ลก 18 : 
13 ) “
การเงยหน้าขึ้นเบื้องบน 
( สวรรค์ ) 
• พระสงฆ์ทำากิริยาอาการนี้เพื่อบรรยายถึง 
การกระทำาของพระเยซูเจ้าในบท 
ขอบพระคุณที่ 1 ในพิธีว่าดังนี้ “ พระองค์ 
ท่านทรงหยิบปังไว้ในพระหัตถ์อันศักดิ์สิทธิ์ 
น่าเคารพ ยกพระเนตรขึ้นหาพระบิดาผู้ทรง 
สรรพานุภาพ ขอบพระคุณอวยพร บิออก 
แล้วยื่นให้สานุศิษย์ ….. “ ความจริงพระว 
รสารทั้งสี่ไม่ได้กล่าวถึงกิริยาอาการนี้ของ 
พระเยซูเจ้าในเวลารับประทานอาหารคำ่ามื้อ 
สดุท้ายเลย อย่างไรก็ดี พระวรสารได้เล่าถึง
การกางมือภาวนา 
• การกางมือภาวนานี้ใช้ในกรณีที่พระสงฆ์ผู้เป็นประธานกล่าว 
คำาภาวนาในมิสซา หรือในการอภิเษกในภาคตอนที่สำาคัญ 
( สำาหรับประเทศไทย อนุโลมให้พนมมือภาวนาตาม 
ธรรมเนียมไทย ) กิริยาอาการนี้ สืบทอดมาจากการถอื 
ปฏิบัติของพวกยิว แต่คริสตชนได้ให้ความหมายใหม่ ตาม 
ที่แตร์ตุลเลียนเขียนไว้ว่า “ เราไม่เพียงแต่ยกมือขึ้น แต่ยัง 
กางแขนออกไปยังพระเจ้าและขณะที่เราทำาตามแบบการทน 
ทุกข์ทรมานของพระเยซูคริสตเจ้า เราก็ยอมรับพระองค์ใน 
ขณะภาวนา ยิ่งกว่านั้น เมื่อเรานมัสการพระเป็นเจ้าด้วย 
ความสำารวม และสุภาพถ่อมตน เราก็ทำาให้ความภาวนานั้น 
เป็นที่สบพระทัยพระองค์ ถ้าแลว่าเราจะไม่ยกแขนแบบเลย 
เถิด แต่ในระดับกลาง และเหมาะสม และถ้าแลว่าเราไม่ 
เงยหน้าขึ้นในลักษณะหยิ่งยะโส “ ในพันธสัญญาเดิมมี 
หลายตอนที่เอ่ยถึงลักษณะเช่นนี้ เช่น โมเลสยกและ 
กางเขน เพื่อให้ความมั่นใจในชัยชนะของประชากรของ 
ท่าน ( อพย 17 : 9 – 14 ) พระคริสตเจ้าก็ทรงทำากิริยา 
อาการเช่นเดียวกัน โดยทรงกางพระกรบนไม้กางเขน ค

More Related Content

What's hot

โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันพัน พัน
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่พัน พัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบLorpiyanon Krittaya
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-1page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-1pageใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-1page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีkingkarn somchit
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningSudkamon Play
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นอนุชา โคยะทา
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าภคพงษ์ ภุมรินทร์
 

What's hot (20)

โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝัน
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-1page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-1pageใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-1page
ใบความรู้+เสียงสูง เสียงต่ำขึ้นอยู่กับอะไร+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f33-1page
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
ทวีป Europe
ทวีป Europeทวีป Europe
ทวีป Europe
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
 

Viewers also liked

บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณบทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณThe Vatican
 
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณThe Vatican
 
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรมสถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรมThe Vatican
 
ภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรมภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรมThe Vatican
 
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณThe Vatican
 
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯThe Vatican
 
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯรายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯThe Vatican
 
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลThe Vatican
 
พิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกาพิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกาThe Vatican
 

Viewers also liked (9)

บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณบทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
บทเพลงพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรมสถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
สถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในพิธีกรรม
 
ภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรมภาพประกอบพิธีกรรม
ภาพประกอบพิธีกรรม
 
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
ธรรมล้ำลึกในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
ประชุมคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
 
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯรายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
รายงานของคณะกรรมการพิธีกรรมฯ
 
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
 
พิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกาพิธีตรีวารปัสกา
พิธีตรีวารปัสกา
 

ความหมายของอาภรณ์ และสีของอาภรณ์

  • 1. ความหมายของ อาภรณ์ และสี ของอาภรณ์ที่ ใช้ในพิธี
  • 2. เสื้อกาสุลา • เสอื้กาสุลา เป็นสัญลักษณ์แห่งความรักเมตตา ซึ่งครองคลุมคุณธรรมทุกอย่าง มีศักดิ์ศรี มีเกียรติ เหนือสงิ่อื่นใด เพราะเสื้อนี้คลุมทับเสอืและ เครื่องหมายอื่น ๆ ทุกชิ้นไว้ • เสื้อกาสุลา ไม่เพียงแต่หมายถึงความรักเมตตา เท่านั้น ต่อมายังหมายถึงคุณธรรมอื่น ๆ ด้วย เป็นต้นว่า ความยุติธรรม ความศักดิ์สทิธิ์ของพระ สงฆ์ ความเป็นผู้มใีจซื่อบริสทุธิ์ พระคุณของพระ จิต ความกล้าหาญในการป้องกันความเชื่อ โดย เฉพาะอย่างยิ่งการแบกแอก ( แอก = ภาระ ) อัน “อ่อนนุ่น และเบา” ของพระคริสตเจ้า เพื่อติดตาม
  • 3. เชือกคาดเอว • เชือกคาดเอว คือการระแวดระวังตนเอง โดย เฉพาะจากราคะตัณหา รวมทงั้ความทะนงตนเอง ด้วย นักพิธีกรรมอื่น ๆ มคีวามเหน็ว่า เชือก หรือผ้า คาดเอว หมายถึง การควบคุมตนเอง และการ บำาเพ็ญตบะ อดออมอาหารการกิน • ความหมายที่เป็นแม่บททางรูปคำาสอนนั้นหมายถึง ความชอบธรรมของพระคริสตเจ้า • เป็นสญัลักษณ์ หมายถึงเชือกทผีู่กมดัองค์พระเยซู เจ้าขณะถกูจับ และรับทรมาน และยังหมายถึงแส้ที่ โบยพระวรกายของพระองค์ด้วย
  • 4. สตอลา • สตอลา หมายถึง “แอก” หรือภาวะหม่าที่ของพระค ริสตเจ้าทพี่วกทา่นจะแบกไว้ จากเครื่องหมายพนื้ ฐานนมี้คีวามหมายอื่น ๆ ทตี่ามมาคือ หมายถึง คุณธรรมอันจำาเป็นที่สังฆานุกรหรือพระสงฆ์จะต้องมี เพอื่ประกอบภาวะหน้าทขี่องทา่น ได้แก่ ความ สภุาพถ่อมตน ความนบนอบเชื่อฟัง ความบริสุทธิ์ ความปรีชาฉลาด และความอดทน ความเข้มแข็ง • ในความหมายแคบ หมายถึง ภาวะหน้าทกี่าร ประกาศเทศนา และกล่าวว่า ผ้าสตอลา ทำาให้ระลึก ถงึผู้ประกาศพระวาจาของพระเจ้าที่เหมาะสม หมายความว่า ในการเทศนาจะต้องมีการเตรียม และความรู้สึกว่ากำาลังทำาอะไร
  • 5. เสื้ออัลบา หรือ อัลบ์ • เสอื้อัลบา หรือ อัลบ์ เป็นเสื้อตัวยาวจรดข้อ เท้า แขนยาว ตัดเย็บด้วยผ้าลินินสขีาว อัลบา มีที่มาจากเสื้อที่กษัตริย์เฮโรดบังคับให้พระ เยซูเจ้าทรงสวมเพื่อล้อเลียนพระองค์ อัลบา จึงกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งพรมจรรย์ ความ บริสุทธิ์ และความสขุ ชวั่นิรันดร์ของผู้ที่ได้รับ การถ่บาปด้วยพระโลหิตของพระผู้ไถ่ในยุค กลางมีการปักลวดลายบนแขนเสื้อทั้งสองข้าง ที่หน้าอก และชายเสอื้อัลบาเป็นสัญลักษณ์ ของบาดแผลห้าแห้งที่พระคริสตเจ้าทรงได้รับ
  • 6. โค้ป • โค้ป ในบรรดาเสื้อผ้าที่ใช้ในศาสนพิธี โค้ ปมีความวิจิตรงดงามที่สุด โค้ปมีลักษณะเป็น เสื้อคลุมตัวโคร่ง มีแขนแบบปีกค้างคาว ชาย เสื้อแผ่ออกได้เป็นครึ่งวงกลม คอปกขนาด ใหญ่ตกแต่งสวยงามห้อยลงมาจากบ่าทั้งสอง ข้าง สขีองเสอื้โค้ปขึ้นอยู่กับเทศกาลทาง ศาสนา เสื้อโค้ปใช้สวมในขบวนแห่ และ ศาสนพิธีที่ศักดิ์สิทธิ์มาก ๆ เสื้อโค้ปเป็น สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์ความไร้เดียงสา และเกียรติภูมิ
  • 7. เสื้อดัลมาติกา หรือดัลมาติก • เสื้อดัลมาติกา หรือดัลมาติก เป็นเสื้อที่ สงัฆานุกรสวมทับเสอื้อัลบา มีลักษณะเป็นเสื้อ ไม่เข้ารูปตัวยาว แขนยาว รูปทรงของเสอื้ดัล มาดิกาเหมอืนไม้กางเขน จึงสื่อความหมาย ถึงพระมหาทรมาน นอกจากนยีั้งใช้เป็น สญัลักษณ์ของความสุข การไถ่บาป และ ความยุติธรรม ดัลมาติกาเป็นเครื่องหมายของ นักบุญสตีเฟน และนักบุญลอเรนซ์
  • 8. เสื้อซูพลีส์ หรือเซอร์พลิส • เสอื้ซูพลีส์ หรือเซอร์พลิส เป็นเสื้อคลุมตัว ยาวถึงเข่าทำาด้วยผ้าลินินสีขาวแขนกว้าง ชายเสื้อมักติดลูกไม้ใช้สวมทับแคสซอก ระหว่างประกอบพิธีศีล และศาสนพิธีอื่น ๆ เสื้อซูพลีส์เป็นสัญลักษณ์ของการที่มนุษย์ได้ รับความยุติธรรม และสจัธรรมอันศักดิ์สทิธิ์คืน ม
  • 10. • สีแดง สีทหี่มายถึงไฟ เลือด ชีวิต และการ ยอมตายเป็นมรณสักขี ซงึ่ก็ทำาให้ความหมาย ตามมาว่าเป็นความรัก พระคริสตเจ้าทรง สวมเสื้อคลุมสีแดง เป็นเครื่องหมายถึงความ รักของพระเจ้าทบีั่งเกิดเป็นมนุษย์ และหมาย ถึงการเป็นมนุษย์ของพระองค์โดยเฉพาะ เจาะจงหลังจากการกลับคืนชีพแล้ว ซงึ่ก็ เหมือนกับครั้งทที่รงจำาแลงพระวรกาย ฉลอง พระองค์ก็เปลี่ยนเป็นสีขาว เครื่องหมายของ การได้รับความรุ่งโรจน์สีแดงและสีขาว เป็นสี ที่ยกถวายแด่พระเจ้าในฐานะที่ทรงเป็นองค์ ความรัก และปรีชาญาณ = ฉลองมรณะ
  • 11. • สีขาว เป็นสีทบี่่งบอกถึงการผ่านพ้นจากบาป หรือความตายไปสู่ชีวิตใหม่เพราะฉะนนั้ จึงเป็นสีที่ ใช้ในการล้างบาป และศีลกำาลัง เป็นสทีี่แสดงถึง ความสะอาดบริสุทธิ์จากการได้รับศีลล้างบาป และ เป็นสทีแี่สดงถงึความบริสุทธิ์แหง่พรหมจรรย์ด้วย นอกนั้น สีขาวยังใช้ในโอกาสที่มพีิธีศพด้วย จาก ความคิดในแง่ที่ว่าความตายเป็นการเปิดประตูสู่ชีวิต ใหมท่แี่ทจ้ริง เพราะฉะนนั้ในสมยัโบราณผ้าแพร คลุมหบีศพ และแถบผ้าต่าง ๆ จงึใช้สขีาว * นอกจากสีขาวธรรมดาแล้วพระศาสนจักรยังใช้สี ขาวเจิดจ้า ( แบบแสงตะวัน ) หรือทเี่รียกว่าสีเปลว เพลิงได้ด้วย ซงึ่มกัจะออกไปทางสทีอง * สีขาวก็ ยังคงรักษาความหมายของการกลับคืน๙พ หรือปัส
  • 12. • ฉลองนักบุญ, อาทิตย์ปัสกา, เทศกาลปัสกา, • สมโภชพระเยซเูจา้เสด็จขึ้นสวรรค์(อาทติย์ที่ 7 เท ศกาลปัสกา), • สมโภชพระตรีเอกภาพ, • สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า, • สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริย์แห่งสากล จักรวาล(อาทติย์ที่ 34 เทศกาลธรรมดา อาทติย์ สุดท้ายก่อนเข้าเทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ), • คริสตมาส, • ฉลองครอบครัวศักดิ์สิทธิ์(อาทติย์ที่ 5 เทศกาล เตรียมรับเสด็จฯ)
  • 13. • สีเขียว เป็นสีผสมของสีเหลืองกับสีฟ้า สเีหลือง หรือทอง หมายถึง นิรันดรภาพ และความเขื่อ ปรีชา ญาณ และความรุ่งโรจน์ สว่นสีฟ้าเป็นสีของพระ เป็นเจ้า พระบิดา หมายถึงความสัตย์จริงทแี่สดงออก ทางลมปราณของพระเจา้ หรือพระจติเจ้า สแีห่ง ความไมรู่้ตาย และความกระหายของมนุษย์ทจี่ะได้ ชีวิตเหนือธรรมชาติ และเป็นอมตะ สีเขียวทผี่สม จาก 2 สีนี้จึงมคีวามหมายถึงการสร้างโลกทเี่กิด จากพระปรีชาญาณ โดยการให้ลมปราณของพระ จิตเจ้าเป็นสีทแี่สดงถึงนำ้า และการฟนื้ฟูชีวิต หญา่ เขียวขจี * โดยปกติแล้ว สีเขียว หมายถึง คุณธรรมแหง่ความหวัง นอกนั้น สีเขียว ยังหมายถึง ชีวิตแหง่พระหรรษทาน และการได้รับพระคุณแหง่ ความรอดจากการกอบกู้มนุษย์ของพระองค์ • = เทศกาลธรรมดา
  • 14. • สีดำำ เป็นสีที่ให้ควำมหมำยตรงข้ำมกับสี ขำว เป็นควำมมืดมนซึ่งตรงข้ำมกับแสงสว่ำง ควำมชั่วซึ่งตรงข้ำมกับควำมดี ควำมตำยซึ่ง ตรงข้ำมกับกำรมีชีวิต มีควำมหมำยไปถึงกำร ปฏิเสธ หรือกำรขำดแคลน อำทิเช่น ควำม ศักดิ์สิทธิ์ ยังหมำยถึงกำรสละโลก นอกนั้นยัง มีควำมหมำยถึงควำมหมำยถึงกำรถูกลงโทษ ( สมัยโบรำณใช้ หมำยถึง กำรใช้โทษบำป ใช้ในพิธีกรรมผู้ล่วงลับ
  • 15. • สีม่วง สผีสมเทำ่ ๆ กันระหว่ำงฟ้ำ กับแดง จึง หมำยควำมถงึ ควำมรัก ( แดง ) ในควำมสัตย์จริง ( ฟ้ำ ) และควำมสัตย์จริงในควำมรัก ( แดง ) ซึ่งมำ จำกพระเป็นเจ้ำ ( ฟ้ำ ) และเพื่อจะเป็นพยำนของ ควำมรัก และควำมสัตย์จริงนี้ พระบุตรผู้เสด็จมำ บังเกิดเป็นมนุษย์ ยอมรับทนทรมำนจนถงึ สิ้นพระชนม์บนไม้กำงเขนเหตุกำรณ์นี้ทำำให้เกิด ควำมทกุข์ปั่นป่วนในจิตใจ จึงเป็นควำมทุกข์ ทรมำน และกำรใช้โทษบำป ในพิธีระลึกถึงผู้ล่วงลับ ในปัจจบุันทใี่ห้ใช้สีมว่งแทนสีดำำได้นนั้ ก็เพอื่จะให้ เรำระลึกถึงควำมเชื่อนี้ว่ำเขำผู้ล่วงลับได้ผ่ำนจำก ควำมมดืมน หรือควำมเจบ็ปวด ไปสคู่วำมสว่ำง หรือ ควำมรักของพระเจ้ำแล้ง ใช้ในเทศกำลมหำพรต,
  • 16. • สีชมพู สีกุหลำบ อำทิตย์ที่ 4 เทศกำลมหำ พรต ( ควำมชื่นบำน ), อำทิตย์ที่ 3 เทศกำล เตรียมรับเสด็จฯ ( ควำมยินดี ) เรียกว่ำ อำทิตย์แห่งควำมยินดี ควำมชนื่บำน เพื่อ แสดงว่ำ แม้จะอยู่ในเทศกำลแห่งควำมทุกข์ โศก และใช้โทษบำป ก็ยังมีควำมยินดีอยู่บ้ำง เพรำะวันแห่งกำรฉลองพระคริสตสมภพ หรือ ปัสกำใกล้เข้ำมำแล้ว สกีุหลำบ หรือ ชมพู ก็ เป็นสีที่สดกว่ำสีม่วงจึงแสดงถึงควำมหมำยนี้ ได้ดี อย่ำงไรก็ตำมสีนี้ไม่ได้บังคับให้ใช้
  • 18. • ถ้วยเหล้ำองุ่น – กำลิกส์ ถ้วยกำลิกส์ เป็น ถ้วยที่ใช้ใส่เหล้ำองุ่น และนำ้ำในพิธมีิสซำ ฯ เพื่อรำำลึกถึงอำหำรคำ่ำมื้อสดุท้ำย และกำรที่ พระคริสต์ทรงสละพระชนม์ชีพเป็นเครื่อง บูชำบนไม้กำงเขน • แผ่นศีล – กอสตีอำ เป็นขนมปังไม่ใส่เชื้อ มีลักษณะเป็นแผ่นกลม ๆ แบน ๆ ใช้ในพิธมีิส ซำฯ เป็นแผ่นศีล มีที่มำจำกคำำว่ำ “ออสเตีย” ในภำษำลำติน มีควำมหมำยว่ำ “เหยื่อ” หรือ “เครื่องสักกำระพลี” เมื่อแผ่นศีลอยู่คู่กับถ้วย
  • 19. • แผ่นแข็ง – ปันลำ แผ่นที่ใช้สำำหรับปิด เหล้ำองุ่น และขนมปังเป็นครั้งครำว • ผ้ำปูแท่น – คอโปรำเร เป็นผ้ำลินินสีขำว ใช้ปูบนแท่น เพื่อวำงแผ่นศีลกับเหล้ำองุ่น ระหว่ำงพิธีเสกโดยระหว่ำงนั้น • ผ้ำเช็ดกำลิกส์ – ปูลีฟีกำตอ เป็นผ้ำลินินสี ขำวใช้ทำำควำมสะอำดถ้วยกำลิกส์หลังเสร็จ พิธีศีลมหำสนิท
  • 20. • จำนศีล – ปำเตนำ เป็นจำนก้นตื้นสำำหรับ ใส่แผ่นศีลในพิธีมิสซำเป็นสัญลักษณ์ของ จำนที่ใช้ระหว่ำงอำหำรคำ่ำครั้งสุดท้ำยของ พระเยซูเจ้ำ • ผ้ำอบศีล – ชีบอลีอุม หมำยถึงภำชนะที่มี ฝำปิดที่ใช้ใส่แผ่นศีลศักดิ์สิทธิ์ในพิธีมิสซำ ควำมหมำยหลังนี้ทำำให้ผ้ำอบศีลกลำยเป็น สญัลักษณ์ของศีลมหำสนิท และอำหำรคำ่ำมอื้ สุดท้ำย
  • 21. สิ่งของที่ใช้ใน พิธีกรรม • สงิ่ของที่ใช้ในพิธีกรรม ในพิธีกรรมของ ทำงศำสนำคริสต์นิกำยโรมันคำทอลิกนั้น มี พิธีกรรมที่สำำคัญอย่ำงหนึ่งคือ พิธบีูชำมิสซำ ขอบพระคุณ ในพิธีกรรมนี้ จะประกอบด้วย สงิ่ของหรือสถำนที่ต่ำง ๆ เช่น สถำนที่ ศักดิ์สิทธิ์ สถำนที่ประกอบพระวำจำ สถำนที่ สำำหรับนักขับ พระแท่น ตู้ศีล กำำยำน นำ้ำเสก นำ้ำมัน รูปภำพ – รูปปนั้ ฯลฯ แต่ละอย่ำงใน พิธีกรรมนั้น มีควำมเป็นมำและควำมหมำย แตกต่ำงกันไป ดังนี้
  • 22. • 1. สถำนที่ศักดิ์สิทธิ์ ตำมกฎหมำยของพระ ศำสนจักร กำำหนดว่ำ สถำนทศีั่กดิ์สิทธิ์ คือ สถำนที่ ออกแบบไว้เพอื่นมสักำรพระเจ้ำ หรือสำำหรับ พิธีกรรมต่ำง ๆ สถำนทศีั่กดิ์สิทธิ์เหล่ำนตี้้องมกีำร เสกหรือทำำใหศั้กดสิ์ิทธิ์ สถำนทศีั่กดิ์สิทธิ์ คือ สว่นทเี่ป็นพระสงฆ์ คือตั้งแต่พระแทน่เป็นต้นไป เป็น สถำนที่สำำหรับพระสงฆ์ที่ถูกแยกออกจำกสัตบุรุษ • 2. สถำนที่ประกอบพระวำจำ เป็นสถำนที่ สำำหรับกำรอ่ำนบทอ่ำนจึงควรคำำนึงว่ำทุกคน สำมำรถเหน็ และเป็นทสี่นใจของทกุคน เพรำะ ต้องกำรเน้นว่ำ ทกุคนจะได้ลิ้มชิมรสพระธรรมของ พระ และเป็นที่สำำหรับอธิบำยควำมเชื่อ
  • 23. • 3. สถำนที่สำำหรับนักขับ ในอดีตจะแยกสถำนที่สำำหรับ นักขับออกไปต่ำงหำก แต่ปัจจุบันนี้ถือว่ำนักขับกเ็ป็นส่วน หนึ่งของสัตบุรุษ จึงมีที่นั่งรวมกับสัตบุรษุ • 4. พระแท่น ควำมหมำยของพระแท่น ก่อนอื่นหมดเป็น โต๊ะอำหำร พระสงฆ์ในฐำนะผู้แทนองค์พระเยซูเจ้ำกระทำำสิ่ง ซึ่งพระคริสตเจ้ำทรงกระทำำในวันพฤหัสศกัดิ์สิทธิ์ และทรงสั่ง ให้พวกท่ำนกระทำำดังนั้นต่อ ๆ กันมำเพื่อเป็นที่ระลึกถึง พระองค์ พระแทนของคริสตชนในสมัยแรกเป็นโต๊ะไม้ เคลื่อนทไี่ด้ ต่อมำเป็นแบบตั้งอยู่กับที่ และในจำรีตลำตินให้ เป็นแบบทำำศลิำหรือหิน ซึ่งแท่นหรือหินเป็นรปูแบบที่ชำว อิสรำเอลใช้เป็นที่ถวำยเครื่องบูชำแต่พระเจ้ำ • 5. ตู้ศีล ในปัจจุบันของเรำเปรียบเสมือนเต็นท์นัดพบของ อิสรำเอล เป็นกำรจำำลองพลับพลำมำจำกชำวยิว ซึ่งเป็น เครื่องหมำยของกำรประทับอยู่ของพระเป็น เป็นที่เก็บพระ กำยของพระเยซูเจ้ำ
  • 24. • 6. เทียนหรือแสงสว่ำง เป็นเครื่องหมำยแห่งควำมปิติ ยินดี เตือนให้ระลึกกำรประทับอยู่ของพระเจ้ำ เป็น เครื่องหมำยแห่งคำำภำวนำหรือกำรเป็นพยำนถึงพระคริสต เจ้ำ พวกคริสตชนจึงจุดไว้ที่พระแท่น หน้ำรูปศักดิ์สทิธติ์่อ หน้ำศลีมหำสนิท ควำมหมำยอีกประกำรหนงึ่คือ พระคริสต เจ้ำทรงเป็นแสงสว่ำง พระศำสนจักรได้ใช้พิธีเสกไฟหรือ เทียนปัสกำในคืนวันเสำร์ศักดิ์สิทธิ์ เพอื่หมำยถึงกำรเริ่มต้น ชีวิตใหม่จำกควำมมืดมำสู่ควำมสว่ำงหรือชีวิตใหม่ ดังนั้นใน พิธีกรรมต่ำง ๆ ของเรำ กำรใช้สัญลักษณห์รอืควำมหมำย ของแสงสว่ำง เป็นกำรช่วยให้เรำเข้ำใจถึงแสงสว่ำงของพระ คริสตเจ้ำ เป็นเครื่องหมำยถึงกำรประทับอยู่ของพระคริสต เจ้ำท่ำมกลำงเรำ • 7. กำำยำน พระศำสนจักรใช้กำำยำนในเวลำประกอบ พิธีกำรต่ำง ๆ เป็นเครื่องหอมที่ถวำยแด่พระเป็นเจ้ำ เป็น เครื่องหมำยแทนคำำภำวนำทลี่อยขนึ้ไปสวรรค์ หรือหมำยถึง
  • 25. • 8. นำ้ำเสก มีกำำเนิด และกำรใช้ทั่ว ๆ ไปนับตั้งแต่ โบรำณกำลมำจนกระทงั่ทกุวันนี้ เพอื่กำรชำำระล้ำง สงิ่โสโครก หรือบำปมลทนิให้สะอำดบริสุทธิ์ เช่น เดียวกันกับที่ชนต่ำงศำสนำได้ใช้มำก่อน นำ้ำเสกที่ พรมหรือซดัในสถำนทศีั่กดิ์สิทธิ์หรือโบสถ์นนั้ “ถกู ทำำให้ศักดิ์สทิธิ์” ด้วยคำำภำวนำของพระศำสนจักร เพอื่ขับไล่จิตชั่ว และทำำให้นำ้ำสะอำดบริสทุธิ์ มกีำร ใส่เกลือผสมลงไปในนำ้ำที่จะเสกด้วยอย่ำงน้อยก็ ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 อำจเป็นกำรกระทำำตำมอย่ำง ประกำศกเอลีชำก็เป็นได้ นำ้ำเสก มจีุดประสงค์ส่วน ใหญ่ใช้ประพรมหรือซดัในสถำนทตี่่ำง ๆ อำทเิช่น บ้ำนเรือน โบสถ์ ทอ้งทุ่ง แมแ้ต่กำรพรมหรือซัดนำ้ำ เสกให้แก่สัตบุรุษในวันอำทิตย์ ก็ดูจะเหมอืนว่ำมี กำำเนิดมำจำกกำรต้องกระทำำให้สถำนที่ศักดิ์สิทธิ์ กอ่น ตำมกฎพระวินัยของนักพรต ซงึ่วิธีกำรยังคงมี
  • 26. • 9. นำ้ำมัน ในกำรฉลองธรรมลำ้ำลึกแห่งควำมรอดในทำง พิธีกรรมนั้น บ่อยครั้งพระศำสนจักรได้นำำสิ่งหรือกำรกระทำำ ต่ำง ๆ ที่เป็นพื้นฐำนในกำรดำำเนินชีวิตมำใช้ เช่น รับ ประทำน ( ปัง ) ดื่ม ( เหล้ำองุ่นในโต๊ะอำหำร ) อำบนำ้ำ รวม ทั้งกำรใช้นำ้ำมันด้วย สื่อภำษำเหล่ำนี้สำมำรถแสดงออกในแง่ มุมต่ำง ๆ ถึงกำรกระทำำที่นำำควำมรอดมำให้จำกพระผู้เป็น เจ้ำ เมื่อพูดถึงนำ้ำมัน มนุษย์นำำมำใช้ประโยชน์หลำยรูปแบบ เช่น ใชประกอบอำหำร โดยเฉพำะในแถบเมดิเตอร์เรเนียน ใช้ในกำรให้แสงสว่ำง เช่น นำ้ำมันตะเกียง ใช้เป็นยำทำ ผิวหนัง เช่นนำ้ำร้อนลวก ฟกชำ้ำ ใช้ผสมนำ้ำหอม ชโลมให้ สดชื่นและบำำรุงผิวให้งำม ดังนั้นจึงเป็นกำรแปลกที่นำ้ำมัน กลำยเป็นเครื่องหมำยของควำมสดชื่น มีสุขภำพดี มีสันติสุข และในกำรประกอบพิธศีักดิ์สิทธิ์ ได้นำำนำ้ำมันมำใช้เพื่อหมำย ถึงเครื่องมือแห่งพระคุณพระจิตเจ้ำในตัวผู้รับศลีล้ำงบำป ศลี กำำลัง ศีลเจิมคนไข้ และศีลบวช
  • 27. นำ้ำมันศักดิ์สิทธิ์ • นำ้ำมันสำำหรับผู้เตรียมรับศีลล้ำงบำป = O.S. / O.C. • นำ้ำมันคริสมำ(ศีลล้ำงบำป/ศีลกำำลัง/ศีลบวช) = S.C. • นำ้ำมันเจิมผปู้่วย = O.I.
  • 28. • 10. รูปปั้น – รูปภำพ คริสตชนได้ใช้รูปปั้นรูปต่ำง ๆ แม้แต่ในสถำนที่ประกอบพิธกีรรม ทั้งนี้เพอื่เป็นสื่อช่วยให้ เข้ำถึงธรรมลำ้ำลึกต่ำง ๆ ของคริสตชน และช่วยกระตุ้นจิตใจ ให้ตอบสนองควำมเชื่อควำมศรัทธำ รูปปั้นหรือรูปภำพต่ำง ๆ นั้นเป็นรูปพระเยซูเจ้ำถูกตรึงบนไม้กำงเขนบ้ำง เป็นรูปพระ จิตในสัญลักษณข์องนกพิรำบบ้ำง ตลอดจนรูปพระนำงมำรีย์ และนักบุญต่ำง ๆ รวมทั้งรูปกระจกสีที่ประดับตำมประตู หน้ำต่ำงของโบสถว์ิหำร เป็นภำพเล่ำประวัติทำงพระวรสำร หรือภำพเดี่ยว ๆ ปัจจุบันเรำอยู่ในศตวรรษแห่งภำพต่ำง ๆ ก็ได้ อันเนื่องมำจำกควำมเจริญทำงสื่อมวลชนต่ำง ๆ โดย เฉพำะอย่ำงยิ่งทำงโทรทัศน์ วีดีโอ และภำพยนตร์ จึงน่ำให้ ควำมสำำคัญและสนใจในเรื่องนี้ว่ำเรำจะสำมำรถนำำสื่อต่ำง ๆ เหล่ำนี้มำใช้เป็นประโยชน์ นอกจำกกำรสอนพระธรรมคำำ สอนแล้ว ยังเป็นกำรดีที่จะใช้เพื่อเป็น “ภำษำ” แห่งกำร ประกอบพิธีกรรมของคริสตชนด้วย
  • 29. พิธีบูชำมิสซำขอบพระคุณ • บูชำมิสซำ คือ กิจกรรมของพระเยซูเจ้ำใน ฐำนะพระสงฆ์ และเป็นกิจกรรมที่ศักดิ์สทิธิ์ เหนือกิจกรรมทั้งปวงไม่มีอะไรเทียบเทียมใน ด้ำนประสิทธิภำพเพียงแต่เอยชอื่ “ บูชำ ” ก็ บ่งบอกถึงควำมเหนือชั้นของกิจกรรมแล้ว ฉะนนั้บูชำมสิซำจึงเป็นสัญลักษณ์ และนิมิต หมำยศักดิ์สิทธิ์ได้ด้วยประสำททั้งห้ำ
  • 30. ประวัติกำรเฉลิมฉลอง • แต่ละประเทศก็ย่อมมีวันฉลองสำำคัญ ๆ ประจำำประเทศนั้น ๆ เพ่อเป็นกำรระลึกถงึเหตุกำรณ์ สำำคัญต่ำง ๆ ในอดีตเช่น เดียวกัน ชำวยิวจะทำำกำรฉลองปัสกำทุกปี เพอื่ระลึกถงึวัน หลุดพ้นจำกำรเป็นทำสของอียิปต์ ในสมัยฟำโรห์ เขำถือว่ำ เป็นวันคล้ำยวันชำติ เพรำะพวกเขำเชื่อว่ำกำรได้รับอิสระ ครั้งนั้น ก็เนื่องมำจำกควำมช่วยเหลือของพระเป็นเจ้ำ แต่ใน ปัจจุบันนี้พิธีปัสกำของชำวยิวก็คือกำรระลึกถึงอำหำรคำ่ำมื้อ สุดท้ำยเท่ำนั้นเอง • แต่ในระหว่ำง กำรเลี้ยงอำหำรคำ่ำมื้อสุดท้ำยนี้ พระเยซูคริสต เจ้ำได้ทรงมอบควำมหมำยใหม่ให้แก่ปัสกำของชำวยิว เรำ คือลูกแกะปัสกำ ผู้ซึ่งถกูเป็นยัญบูชำ เพื่อช่วยพวกท่ำน ให้ รอดพ้นจำกกำรเป็นทำส • จำกแนวควำมคิดอันนี้เอง ทำำให้เรำเข้ำใจคำำสอนของนักบุญ เปำโลที่กล่ำวว่ำ “ พระคริสตเจ้ำ ” ลูกแกะปัสกำของเรำได้ ถูกถวำยเป็นยัญบูชำศีลมหำสนิทที่รับอยู่ทุกวันนี้
  • 31. ควำมหมำยของกำรถวำยบูชำ มิสซำ • ศีลมหำสนิทเป็นของขวัญที่ยงิ่ใหญ่ ทพี่ระเยซูเจ้ำได้ ประทำนแก่ประชำกรของพระเป็นเจ้ำ เพรำะควำม รักอันเปี่ยมล้นของพระองค์ มแีต่พระองค์เทำ่นั้น ผู้ทรงเป็นพระเจ้ำแทแ้ละมนุษย์แท้ ทที่รงมีพระ ประสงค์และอำำนำจที่จะกระทำำกำรมหัสจรรย์เช่นนี้ ได้ เพื่อทจี่ะประทบัอยู่กบัเรำ เป็นควำมบรรเทำ พละ กำำลัง ควำมสุข และสันติของเรำ • คำำว่ำ ศีลมหำสนิท = กำรขอบพระคุณ ประกอบด้วย • กำรถวำยบูชำ หรือมสิซำ • กำรรับศีลมหำสนิท • กำรประทบัอยอู่ย่ำงแทจ้ริง ทงั้ทำงกำรและพระธำตุ แท้ของพระเยซูเจ้ำในศีลมหำสนิท
  • 32. กำรถวำยบูชำมิสซำ คือ • กำรถวำยบูชำยัญของพระเยซูเจ้ำบนไมก้ำงเขน ซึ่ง ได้รับกำรรื้อฟนื้ทกุวันบนพระแทน่บูชำ ตำมพระ ประสงค์ของพระองค์ • เป็นเครื่องหมำยแห่งกำรเป็นหนึ่งเดียว และเป็นสำย สมัพันธ์แห่งควำมรักของประชำกรของพระเป็นเจ้ำ (ซึ่งมนุษย์ทกุคน ทกุเชื้อชำติ ได้รับกำรเรียกให้มำ เป็นหนึ่งเดียวกัน • เป็นกำรเลี้ยงปัสกำ ซึ่ง (ในในกำรรับศีลมหำสนิท ) พระเยซูคริสตเจำ้เอง ผู้ทรงเจริญชีวิตอย่ำงแทจ้ริง ได้เข้ำมำประทบั และทรงทำำให้วิญำณของเรำเต็ม ไปด้วยพระหรรษทำน สันติ ควำมเชื่อ ควำมหวัง
  • 33. • มิสซำ จริง ๆ แล้ว เป็นรูปแบบของกำร ถวำยบูชำยัญบนภูเขำกัลวำรีโอ เครื่อง บูชำก็คือ องค์พระคริสตเจ้ำ ซึ่งเป็นเครื่อง บูชำเดียวกับบูชำมิสซำ เพียงแต่รูปแบบของ กำรถวำยบูชำเท่ำนั้นที่เปลี่ยนไป บูชำบนภู เขำกัลวำรีโอ พระเยซูเจ้ำได้ทรงหลั่งพระ โลหิตอันแท้จริง ในบูชำมิสซำพระองค์ได้ ทรงถวำยพระองค์เองแด่พระบิดำเจ้ำสวรรค์ ของพระองค์ในรูปแบบที่ไม่มีโลหิต แต่เป็น ธรรมลำ้ำลึกที่ไม่อำจเข้ำใจได้
  • 34. • ดังนั้น พระศำสนจักร จึงปรำรถนำอย่ำงแรง กล้ำ ให้บรรดำคริสตังที่ร่วมถวำยบูชำมิสซำ อันลึกลำ้ำยิ่งนี้อย่ำได้มำร่วมกันแบบคนต่ำง ศำสนำ ที่มำดูมิสซำกันอย่ำงเงียบ ๆ ตั้งแต่ต้น จนจบ มันไม่ใช่บรรยำกำศของพี่น้อง คริสต ชนตรงกันข้ำม ถ้ำสัตบุรุษเข้ำใจควำมหมำย และคุณค่ำของพิธีกรรมและกำรสวดภำวนำ เป็นอย่ำงดีแล้ว เขำยิ่งจะมีสว่นร่วมถวำยบูชำ อย่ำงเต็มที่ โดยตอบรับ ขับร้องด้วยควำม สำำนึกในควำมศักดิ์สิทธิ์
  • 35. ภำคต่ำง ๆ ของบูชำมิสซำ พธิีกำรตำ่ง ๆ ของบชูำมิสซำนั้น ประกอบด้วยภำคตำ่ง ๆ ดังนี้ คอื
  • 36. • ภำคนำำ ตั้งแต่เริ่มพิธไีปจนถึง บทภำวนำ แรกของประธำนคือ เพลงแห่เข้ำ, กำร คำำนับพระแทนและกำรทักทำยที่ประชุม, กำรสำรภำพควำมผิด, ข้ำแต่พระเจ้ำ ขอ ทรงประกรุณำเทอญ, พระสิริรุ่งโรจน์, บท ภำวนำแรกของประธำน • ภำคแรก วจนพิธีกรรม ( บทอ่ำนในพระ คัมภีร์บทแรก ถึง บทภำวนำเพื่อมวลชน ) บทอ่ำนจำกพระคัมภีร์, เพลงคั่นระหว่ำงบท อ่ำน ( เพลงสดุดี, เพลงถวำยสรรเสริญ ),
  • 37. • ภำคสอง พิธมีหำสนิท ( ตั้งแต่กำรเตรียม เครื่องบูชำ ถึง บทภำวนำหลังรับศีล )กำรเตรี ยมถวำยเครื่องบูชำ กำรแห่เครื่องบูชำ, กำร ถวำยกำำยำน, กำรล้ำงมือ, พี่น้องจงภำวนำ ขอให้กำรถวำยบูชำ .... ,บทภำวนำเตรียม เครื่องบูชำ, คำำภำวนำแห่งศีลมหำสนิท หรือ บทขอบพระคุณ, ตอนรับศีลมหำสนิท • ภำคปิดพิธี คือ กำรประกำศต่ำง ๆ , คำำอำำลำ อวยพร และปิดพิธี
  • 38. สัตบุรุษจะมีส่วนร่วมในกำร ถวำยบูชำได้อย่ำงไร • มิสซำที่ถวำยกันอยู่ทุกวันนี้ไม่ใช่กิจกำรของ พระเยซูเจ้ำเพียงพระองค์เดียวเท่ำนั้น แต่เป็น กิจกำรของพระศำสนจักรทั้งครบ ถึงแม้ว่ำใน ขณะที่พระสงฆ์ถวำยพิธีมิสซำ โดยไม่มี สัตบุรุษร่วมด้วยคุณค่ำและควำมสมบูรณ์ของ มิสซำก็มิได้ลดน้อยลงเลย เพรำะว่ำพระสงฆ์ ได้ถวำยพิธีมิสซำในนำมของพระศำสนจักร ถึงกระนั้นก็ดี พระศำสนจักรเองก็ยังต้องกำร ให้สัตบุรุษทุกคนร่วมถวำยมิสซำและรับศีล มหำสนิท
  • 39. • ควำมสำำคัญของกำรสวดภำวนำและกำรตอบ รับพร้อมกันนนั้ มิได้อยู่ที่กำรแสดงออก ภำยนอกเท่ำนั้น แต่เป็นสญัลักษณ์ที่ศักดิ์สิทธิ์ ของพระคริสตเจ้ำ แสดงออกถึงควำมเป็น หนงึ่เดียวกันกับผู้นำำกำรถวำยบูชำมิสซำ คือ พระสงฆ์ บทภำวนำที่สำำคัญที่สัตบุรุษควำม สวดพร้อมกัน คือ บทข้ำพเจ้ำเชอื่ บทแสดง ควำมเชื่อ บทภำวนำเพื่อมวลชน และบทข้ำ แต่พระบิดำ ฯลฯ กำรร่วมพิธบีูชำมิสซำของ เรำจะมีผลสมบูรณ์ขึ้น ถ้ำเรำร่วมด้วยจิตใจ
  • 40. . อิริยาบถ และกิริยาอาการ ที่ใช้ในพิธีกรรม • พิธีกรรม ไม่ใช่คำาภาวนาในใจ แต่เป็นการแสดงออกทาง ถ้อยคำา และทางอิริยาบถ กิริยา และอาการต่าง ๆ ที่มีกฎ เกณฑ์ กำาหนดไว้ ทั้งนี้ก็เพราะว่าเราจะต้องไม่แยกร่างกาย ออกจากวิญญาณ เพราะฉะนั้นการที่จะถวายคารวะกิจเพียง ทางความคิดหรือจิตใจเท่านั้น จึงไม่ใช่เพียงแต่เป็นแบบ มนุษย์เท่านั้น แต่ยังเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้อีกด้วย • ดังนั้นการกระทำาต่าง ๆ ของคนเราก็รวมเข้าอยู่ในตัว ตนทั้งหมดในการแสดงออก หรือแม้แต่ทำาให้สภาพภายใน ตัวของเราเกิดขึ้น อิริยาบถ และกิริยาต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นสิ่ง จำาเป็นเพื่อการมีส่วนร่วมในพิธีกรรม • เพื่อเป็นการช่วยสัตบุรุษให้มีส่วนร่วมอย่างแข็ง ขันขึ้น กระตุ้นพวกเขาให้มีส่วนร่วม โดยการโห่ร้อง ตอบรับ ร้องเพลงสดุดี บทรับสั้น และบทเพลงต่าง ๆ รวมทั้งการกระทำาต่าง ๆ กิริยาอาการ และอิริยาบถ ต่าง ๆ (สังฆธรรมนูญว่าด้วยพิธีกรรม 30 ) • ยิ่งกว่านั้น ภาษาของคำาพูด โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษา ของผู้ประกอบพิธีกรรม จะเป็นที่เข้าใจได้มากขึ้นโดยใช้
  • 41. 1.1 อิริยาบถที่ใช้ใน พิธีกรรม • พิธีกรรมไมใ่ช่การกระทำาส่วนตัว แต่เป็นการ แสดงออกหรือภารกิจทางการของพระศาสนจักร ดังนั้นอิริยาบถต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการยืน การนงั่ การคุกเข่า ฯลฯ จะต้องไมเ่ป็นแบบตามสบาย แต่ จะต้องแสดงออกด้วยความเคารพ ความเป็นนำ้า หนึ่งใจเดียวกัน และเข้าใจถึงความหมายซึ่งแตก ต่างกันไปในแต่ละวัฒนธรรม • ดังนั้น จึงจำาเป็น และสำาคัญทจี่ะต้องให้ทกุคน เข้าใจว่า บางครั้งเรา ยืน นั่ง คุกเข่า ทำาไม ? มี เหตุผลหรือความหมายอย่างไร เขาจะได้รับรู้ว่า อิริยาบถต่าง ๆ มคีวามจำาเป็นในการส่งเสริมการ ภาวนาในรูปแบบต่าง ๆ กัน
  • 42. การยืน • การยืนเป็นอิริยาบถที่เหมาะอย่างหนึ่งสำาหรับศาสนบริกรที่พระแท่นบูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เป็นประธาน การยืนยังเป็นอิริยาบถเบื้องต้นของ พิธีกรรมสำาหรับสัตบุรุษด้วย ในลักษณะการเช่นนี้เป็นเครื่องหมายบ่ง บอกความเคารพ เราจะลุกขึ้นยืน ให้เกียรติแก่บุคคลที่เราประสงค์จะ ให้เกยีรติแก่เขา ดังนั้น ในพิธีกรรมเราจึงยืนในภาคเริ่มพิธี และใน ภาคปิดพิธี เมื่อขบวนประธาน และศาสนบริกรเดินเข้ามา และออกไป ประชาสัตบุรุษยืน เมื่อรับการทักทายจากประธาน ยืน ขณะอ่านพระว รสาร ดังที่ชาวอิสราเอลยืนขณะพระเยซูเจ้าตรัสกบัพวกเขา การยืนยัง เป็นอิริยาบถทั่วไปของชาวอิสราเอลขณะภาวนา พวกคริสตชนรุ่นแรกก็ ภาวนาในอิริยาบถนี้ ดังที่เห็นจากภาพวาดในกาตาก็อมบ์ ฯลฯ ดังนั้น ในพิธีกรรม ประชาสัตบุรุษจึงยืนขึ้น เพื่อร่วมใจภาวนาพร้อมกับผู้เป็น ประธานในคำาภาวนาเอก หรือสำาคัญ ๆ นอกนั้น ในธรรมเนียม และ ความคิดของคริสตชนโบราณ การยืนเป็นอิริยาบถแสดงถงึการมีส่วนใน การกลับคืนชีพอย่างรุ่งเรือง หรือปัสกาของพระคริสตเจ้า การยืน ยัง เป็นอิริยาบถที่เหมาะสมกับผู้ที่กำาลังรอคอยการเสด็จมาครั้งที่สองของ พระคริสตเจ้า ( Parausia ) เฉพาะพระพักตร์พระบุตรแห่งพระเจ้า พวกเขาคงยืนอยู่ เพราะไม่หวั่นกลัวการตัดสิน ที่เต็มไปด้วยพระ ยุติธรรมของพระองค์ • ( มลค. 3:2 ) ความหมายสุดท้ายของการยืน คือ ผู้ได้รับเลือกสรร จากพระเจ้าบนสวรรค์ต่างยืนขอบพระคุณพระเป็นเจ้า ( วว 7 : 9 ;
  • 43. การคุกเข่า • แม้ว่าการยืนจะมีความสำาคัญในอิริยาบถของคริสต ชน แต่การคุกเข่าก็มคีวามสำาคัญเหมือนกัน ตั้งแต่ โบราณแล้วเพราะก่อนจะมีการคืนชีพอย่างรุ่งเรือง หรือปัสกา กม็ีการใข้โทษบาป การคุกเข่าภาวนา เป็นเครื่องหมายแสดงถึงการกลับใจ เป็นระยะเวลา ของการจำาศีล ไว้ทกุข์ ถ่อมตน ใช้โทษบาป การ คุกเข่าภาวนายังเป็นอิริยาบถของการภาวนาสว่นตัว แบบฤาษีนักพรตอียิปต์โบราณคุกเข่าอ่านหนังสือ เพอื่รำาพึงภาวนา นักบุญเปาโลยังยอกว่า “ ข้าพเจ้า คุกเข่าเฉพาะพระบิดา “ ( อฟ 3 : 14 ) ในสมยั หนึ่งการคุกเข่า เป็นอิริยาบถของทางยุโรป เพอื่ นมสัการศีลมหาสนิท และรับศีลมหาสนิท ซึ่งบ่ง
  • 44. การนั่ง • การนงั่เป็นอิริยาบถของอาจารย์สอนศิษย์ และ ประธาน หรือหวัหน้าในทปี่ระชุม ด้วยเหตุนพี้ระ สงัฆราชจึงมเีก้าอี้ประจำาตำาแหน่ง หรืออาสน์ ( Cathedra ) ที่ท่านนั่งขณะเป็นประธาน ปราศรัย โดยมพีระสงฆ์นงั่รอบ ๆ ท่านบนมา้นั่ง สัตบุรุษเองได้รับการเชื้อเชิญให้นั่งลงหลายครั้งใน พิธีกรรม การนงั่ขณะรับฟังพระวาจาของพระเจ้า เป็นการแสดงออกถึงการรับฟังอย่างตั้งใจเป็น เหมือนกับพวกศิษย์ของพระเยซูเจ้าที่นั่งรอบ พระองค์เพื่อฟังพระองค์ตรัสสั่งสอน ฉะนนั้โดยปกติ สตับุรุษจึงนั่งขณะมกีารอ่านพระวาจา ( ยกเว้นพ ระวรสาร ) ขณะขับร้องบทคั่น และขณะฟังเทศนา
  • 45. การก้มศีรษะ • มกีารเชื้อเชญิให้สตับุรุษก้มศีรษะ ก่อนจะรับพร แบบสง่าจากประธานในพิธี “ โปรดก้มศีรษะรับพร “ ในมสิซาสมยัโบราณ วันธรรมดาในเทศกาลมหา พรต มบีทภาวนาทเี่รียกว่า Super Populum (คำาภาวนาให้แก่สัตบุรุษ ) ซึ่งสังฆานุกรจะประกาศ ว่า “Humiliate capita vestra Deo “ (จง กม้ศีรษะเฉพาะพระพักตร์พระเจ้า ) อย่างไรกต็าม อิริยาบถนี้มกัจะแทนทดี่้วยการคุกเจ่า ขณะพระ สงฆ์อวยพร การภาวนา ของพวกนักพรตก็มบีาง ช่วงทพี่วกทา่นก้มศีรษะอย่างลึก ในบทประจำา มสิซากม็บีอกใหพ้ระสงฆ์ก้มศีรษะ พร้อมกล่าวคำา ภาวนาส่วนตัว การคำานับพระแทน่ และคำานับพระ
  • 46. การหมอบกราบกับพื้น • อิริยาบถนี้ปัจจุบันใช้น้อยมากในพิธีกรรม โรมันของเรา จะใช้เพียงในพิธีของผู้ที่ถวาย ตัวอย่างเด็ดขาดต่อหน้าพระสังฆราช ซึ่ง ได้แก่ผู้ที่จะบวชเป็นสงัฆานุกร พระสงฆ์ และพระสังฆราชสตรีผถู้วายตัวแด่พระเจ้า นักพรตชาย – หญิง โดยหมอบกราบกับพื้น ขณะร้องเพลงรำ่าวิงวอนนักบุญทั้งหลาย ใน พระคัมภีร์การหมอบกราบเป็นอิริยาบถที่ใช้ ในการภาวนาบ่อยที่สดุ เรายังเห็นการถือ ปฏิบัติที่สะท้อนให้เห็นในเวลานี้ คือ ในตอน เริ่มแรกของพิธีในวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ การ หมอบกราบกับพื้นนี้ถือเป็นการวอนขอที่ลึก
  • 47. กิริยาอาการที่ใช้ในพิธีกรรม • กริิยาอาการที่ใช้ในพิธีกรรม บางอย่างกเ็ป็นเพียงเพื่อใช้ประโยชน์ เช่น การล้างมือหลังพิธีการบางอย่าง หรือหลังการเจิมนำ้ามันศักดิ์สิทธิ์ หลังการโรยเถ้าบนศีรษะ บางอย่างก็เป็นการทำาประกอบคำาพูด เพื่อ เน้นความหมาย เช่น การยกมือขวา( ของผู้ร่วมในพิธี ฯ ) ชี้ไปที่ปัง และเหล้าองุ่นเวลาเสกศีล การยกพระกาย และพระโลหิตชูขึ้น พร้อม กบักล่าวคำาว่า “ อาศัยพระคริสตเจ้า พร้อมกับพระคริสตเจ้า และ ในพระคริสตเจ้า • ข้าแต่พระบิดาผู้ทรงสรรพานุภาพพระองค์ทรงพระสิริรุ่งโรจน์ ร่วมกับพระบิดาและพระจิตตลอดนิรันดร ” นอกนั้นยังมีกริิยา อาการที่แสดงถึงความเคารพ หรือเทิดทูน ต่อบุคคล หรือสิ่งของที่ ถอืว่าศักดิ์สิทธิ์ กิริยาอาการเหล่านี้ บางอย่างอาจได้มาจากสังคมที่ แวดล้อมในสมัยนั้น เช่น การซ่อนมือไว้ใต้เสื้อหรือผืนผา้ขณะอัญเชิญ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น อัญเชิญผอบบรรจุศีลมหาสนิท ตลอดจนถึงหมวกสูง ไม้เท้าพระสังฆราช เหล่านี้มาจากพิธีการในราชสำานักในสมัยจักรวรรดิ ไปซันตินยุคหลัง การพนมมือเป็นพิธีการของพวกขุนนาง หรือผู้เช่า ครอบครองที่ดิน ที่คารวะเจ้านายของตน • กริิยาอาการบางอย่างก็เป็นสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคริสตชนเอง เช่น เครื่องหมายกางเขนที่กระทำาบนหน้าผาก อก และไหล่ทั้งสองข้าง ในที่นี้เราจะพิจารณาถึงความหมายของกิริยาอาการบางประการ
  • 48. การทำาเครื่องหมายกางเขน (ทำาสำาคัญมหากางเขน) • ตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 3 ในพิธีรบัศลีล้างบาป และศีลกำาลัง ของคริสตชนในอัฟริกา และที่กรงุโรม มีการทำาเครื่องหมาย ไม้กางเขนที่หน้าผากของผู้รับศลี เป็นเครื่องหมายว่าบุคคล ผู้นั้นได้กลายเป็นของ • พระคริสตเจ้า และประหนึ่งถูกประทับตราหมายไว้แล้ว ค ริสตชนทำาเครื่องหมายไม้กางเขนให้กับตนเองบ่อย ๆ นอกจากทำาเครื่องหมายบนหน้าผากแล้ว คริสจชนยังทำา เครื่องหมายที่ส่วนอื่น ๆ ของร่างกายด้วย กลายเป็น เครื่องหมายขับไล่ปิศาจอีกอย่างหนึ่ง การทำาเครื่องหมาย กางเขนอีกรูปแบบหนึ่ง คือ การยกมืออวยพรวิธีการอวยพร จะแตกต่างกนับ้าง สุแล้วแต่ท้องที่ และกาลสมัย พวกตะวัน ออกมักจะอวยพรโดยมือถือไม้กางเขนไปด้วย ส่วนการทำา เครื่องหมายไม้กางเขนแบบ “มิติกว้าง” คือ ที่หน้าผากไปที่ อก และไปที่บ่าซ้าย – ขวา ซึ่งนิยมทำากนัมากในปัจจุบันนี้ เข้าใจกันว่ามีภายหลังวิธแีรกซึ่งเป็นแบบ “มิติสั้น” คือ ทำา รูปกางเขนที่จุด ๆ เดียว ตรงส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย วิธีนี้นำามาใช้เป็นต้นว่า กอ่นอ่านพระวรสาร โดยผู้อ่าน
  • 49. การข้อนอก หรือทุบอก ระหว่างการสวดบท “ ข้าพเจ้าขอสาร ภาพฯ ” เมื่อถึงตอน “ โอ้บาปข้าพเจ้า “ มีการ “ ทุบอก “ เป็นเครื่องหมายของ ความสำานึกผิด และความถ่อมตน กิริยา อาการนี้เราพบได้ในพระวรสารนักบุญ ลูกา “ ฝ่ายคนเก็บภาษีนนั้ยืนอยแู่ต่ไกล ไม่แหงนดูฟ้า แต่ทุบอกตนเองว่า ข้า แต่พระเจ้าขอโปรดพระเมตตาแก่ ข้าพเจ้าผเู้ป็นคนบาปเถิด ( ลก 18 : 13 ) “
  • 50. การเงยหน้าขึ้นเบื้องบน ( สวรรค์ ) • พระสงฆ์ทำากิริยาอาการนี้เพื่อบรรยายถึง การกระทำาของพระเยซูเจ้าในบท ขอบพระคุณที่ 1 ในพิธีว่าดังนี้ “ พระองค์ ท่านทรงหยิบปังไว้ในพระหัตถ์อันศักดิ์สิทธิ์ น่าเคารพ ยกพระเนตรขึ้นหาพระบิดาผู้ทรง สรรพานุภาพ ขอบพระคุณอวยพร บิออก แล้วยื่นให้สานุศิษย์ ….. “ ความจริงพระว รสารทั้งสี่ไม่ได้กล่าวถึงกิริยาอาการนี้ของ พระเยซูเจ้าในเวลารับประทานอาหารคำ่ามื้อ สดุท้ายเลย อย่างไรก็ดี พระวรสารได้เล่าถึง
  • 51. การกางมือภาวนา • การกางมือภาวนานี้ใช้ในกรณีที่พระสงฆ์ผู้เป็นประธานกล่าว คำาภาวนาในมิสซา หรือในการอภิเษกในภาคตอนที่สำาคัญ ( สำาหรับประเทศไทย อนุโลมให้พนมมือภาวนาตาม ธรรมเนียมไทย ) กิริยาอาการนี้ สืบทอดมาจากการถอื ปฏิบัติของพวกยิว แต่คริสตชนได้ให้ความหมายใหม่ ตาม ที่แตร์ตุลเลียนเขียนไว้ว่า “ เราไม่เพียงแต่ยกมือขึ้น แต่ยัง กางแขนออกไปยังพระเจ้าและขณะที่เราทำาตามแบบการทน ทุกข์ทรมานของพระเยซูคริสตเจ้า เราก็ยอมรับพระองค์ใน ขณะภาวนา ยิ่งกว่านั้น เมื่อเรานมัสการพระเป็นเจ้าด้วย ความสำารวม และสุภาพถ่อมตน เราก็ทำาให้ความภาวนานั้น เป็นที่สบพระทัยพระองค์ ถ้าแลว่าเราจะไม่ยกแขนแบบเลย เถิด แต่ในระดับกลาง และเหมาะสม และถ้าแลว่าเราไม่ เงยหน้าขึ้นในลักษณะหยิ่งยะโส “ ในพันธสัญญาเดิมมี หลายตอนที่เอ่ยถึงลักษณะเช่นนี้ เช่น โมเลสยกและ กางเขน เพื่อให้ความมั่นใจในชัยชนะของประชากรของ ท่าน ( อพย 17 : 9 – 14 ) พระคริสตเจ้าก็ทรงทำากิริยา อาการเช่นเดียวกัน โดยทรงกางพระกรบนไม้กางเขน ค