SlideShare a Scribd company logo
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายวิชา 201 705
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า2
นางสาวนฤนาท คุณธรรม รหัสนักศึกษา 575050186-7
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา โครงการพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คานา
รายงาน เล่มนี้เป็น ส่วน ห นึ่งข องร ายวิชา 201 705
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์สาหรับองค์การแห่ง
ก าร เรียน รู้ โด ยมีเนื้ อห าเพื่อ ให้ ค วามรู้ใน ด้าน ก าร บ ริห าร
อ ง ค์ ก า ร แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้
แล ะ ก าร จั ด อ งค์ ก าร โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ก าร ก าร จั ด ก าร ค วา ม รู้
โด ย มี วัต ถุ ป ร ะ ส งค์ เพื่ อ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ าไ ด้ ศึ ก ษ าด้ วย ต น เอ ง
แ ล ะ น า ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้
แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น อ น า ค ต ไ ด้
ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน
ห รื อ นั ก เ รี ย น นั ก ศึ ก ษ า ที่ ก า ลั ง
หาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด
ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
นางสาวนฤนาท
คุณธรรม
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า3
ผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)
4
1. กระบวนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
5
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า4
2. องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้
6
3. อุปสรรคการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้
7
4. บรรยากาศที่ดีของการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้
7
5. องค์กรที่พึงปรารถนา 8
6. รูปแบบการขยายผลของความรู้ในองค์กร
8
การจัดการความรู้ในองค์กร 9
1. กระบวนการจัดการความรู้ 9
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับองค์กรแห่งการเรียนรู้
10
ตัวอย่างขององค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ประสบความสาเร็จ
และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 12
เป็นเครื่องมือในการจัดการความรู้
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า5
ทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การ
โดยใช้หลักการการจัดการความรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)
อง ค์ ก ร แ ห่ งก า ร เรี ย น รู้ ห รื อ อ งค์ ก ร ที่ มี ก า ร เรี ย น รู้
เป็นองค์กรที่มีการสร้างช่องทางให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและ
กันภายในองค์กรระหว่างบุคลากรควบคู่ไปกับการรับความรู้จากภาย
น อ ก โ ด ย มี เ ป้ า ห ม า ย ส า คั ญ
คือเพื่อให้มีโอกาสไ ด้ใช้ค วามรู้เป็น ฐาน ใน การพัฒ นาต่อไ ป
โดยมีนักวิชาการได้ให้คานิยามขององค์กรแห่งการเรียนรู้ไว้ดังต่อไป
นี้
Peter Senge (1990) :
องค์กรที่ผู้คนในองค์กรสามารถขยายศักยภาพในการที่จะสร้างสรรค์
ผลสาเร็จที่ต้องการได้อย่างต่อเนื่อง เป็นที่ซึ่งรูปแบบของการคิดใหม่ๆ
แ ล ะ ก ว้ า ง ข ว า ง ไ ด้ ถู ก บ่ ม เ พ า ะ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น
และเป็นที่ซึ่งความปรารถนาร่วมกันของผู้คนในองค์กรได้เกิดขึ้นอย่าง
เ ส รี
และคนในองค์กรได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่องในวิธีการเรียนรู้ร่วมกับคนอื่น
Marquardt and Reynolds (1994) : องค์กรแห่งการเรียน รู้
เป็นองค์กรที่มีบรรยากาศที่กระตุ้นการเรียนรู้ของบุคคลและกลุ่มให้เกิ
ด อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
และสอนให้พนักงานมีกระบวนการคิดวิพากษ์วิจารณ์เพื่อความเข้าใจ
ใ น สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ
เหล่านี้ที่มีในแต่ละบุคคลช่วยให้องค์กรเรียนรู้ในสิ่งที่ผิดพลาด
เช่นเดียวกับเรียนรู้ในความสาเร็จ
พ นิ ด า วิ เ ชี ย ร ปั ญ ญ า ( 2547) :
เป็นองค์กรที่มีความรู้เป็นฐานและมีการพัฒนาการทางความรู้อย่างต่อ
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า6
เนื่อง ทั้งนี้เพื่อขยายขีดความสามารถที่ไม่เพียงแค่การเรียนรู้เท่านั้น
การพัฒนาความรู้ใหม่และความเข้าใจที่ถ่องแท้ถึงพฤติกรรมองค์กร
โ ด ย มี ค ว า ม จ า เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ( organizational memory)
เป็ น ปั จ จั ย ส า คั ญ ต่ อ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ใ น ก า ร เรี ย น รู้
ซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการเรียนรู้ของอ
งค์กร โดยมีฝ่ายบริหารเป็นผู้ให้การสนับสนุน
จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า เ อ ก ส า ร พ บ ว่ า Chris Argyris
เป็นผู้บุกเบิกแนวคิดเกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้เป็นคนแรก
โดยเริ่มขึ้นประมาณปี ค.ศ.1978 จากงานเขียน ชื่อ Organization
Learning แ ต่ ยั ง ไ ม่ เ ป็ น ที่ แ พ ร่ ห ล า ย นั ก
เพราะมีเนื้อหาเชิงวิชาการที่เข้าใจยาก ต่อมาปี ค.ศ.1990 Peter M.
Senge ศาสตราจ ารย์แห่ง MIT Sloan School of Management
ไ ด้ เขี ย น “The Fifth Discipline : The Art and The Learning
Organization “ ห รื อ “ วิ นั ย 5 ป ร ะ ก า ร “
แนวคิดเพื่อนาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning
Organization: LO)
และได้รับความนิยมปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา จนกระทั่ง
American Society for Training Development-ASTD
สมาคมเพื่อการฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเม
ริกา ได้ประกาศเกียรติคุณให้เขาเป็นนักวิชาการเกียรติคุณดีเด่น
ประจา ปี ค.ศ.2000 โดยทรรศนะของ Peter M. Senge กล่าวว่า
“Learning in organization means the continuous testing of
experience, and the transformation of that experience into
knowledge—accessible to the whole organization, and
relevant to its core purpose.”
ซึ่ ง มี นั ก วิ ช า ก า ร ไ ท ย ใ ห้ ค า จ า กั ด ค ว า ม ไ ว้ ว่ า
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า7
“องค์กรที่บุคลากรภายในองค์กรได้ขยายความสามารถของตนอย่างต่
อเนื่องทั้งใ น ระดับ บุค คล ร ะดับ กลุ่มบุค ค ลและระดับ องค์ก ร
เพื่อสร้างผลลัพ ธ์ที่บุคคลใน ระดับต่างๆ ต้องการอย่างแท้จ ริง
เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ที่ บุ ค ล า ก ร มี ค ว า ม คิ ด ใ ห ม่ ๆ
และก าร แต ก แข น งข องค วามคิด ไ ด้รับ ก ารยอมรับ เอาใจ ใ ส่
เป็นองค์กรที่บุคลากรในองค์กรมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องด้วยวิธีการที่
จะเรียนรู้ไปด้วยกันทั้งองค์กร”
การสนับสนุนให้บุคลากรในองค์กรไปฝึกอบรมเพียงอย่างเดียวอ
า จ จ ะ ไ ม่ เ พี ย ง พ อ แ ล้ ว ส า ห รั บ ยุ ค นี้
เนื่องจากพบว่าบุคลากรมีการนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์หลังจา
ก ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม เพี ย ง แ ค่ 10% เมื่ อ ทิ้ ง ห่ า ง ไ ป 2 สั ป ด า ห์
ห า ก ไ ม่ ไ ด้ น า ก ลั บ ม า ใ ช้ อี ก ทั ก ษ ะ ห รื อ ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ
จ ะ เลื อน ห ายไ ป ป ร ะม าณ 87% อี ก ทั้ งอง ค์ ก ร รู ป แ บ บ เดิ ม ๆ
มัก จะ มีงาน ยุ่งๆ จน ไม่มีเวลาท บ ท วน อ่าน ศึก ษ า ป รับ ป รุง
น อ ก จ า ก นี้ ก า ร สั่ ง ส ม ค ว า ม รู้ อ ยู่ ที่ ผู้ ใ ด ผู้ ห นึ่ ง ม า ก ๆ
ก็ อ า จ จ ะ ก ล า ย เป็ น จุ ด อ่ อ น ข อ ง อ ง ค์ ก ร ไ ด้ เช่ น กั น
เพ ราะเมื่อบุคคลนั้น มีการโยกย้าย เป ลี่ยนแปลงสถานที่ทางาน
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ เ ห ล่ า นั้ น ก็ พ ล อ ย สู ญ ส ล า ย ไ ป ด้ ว ย
หรือในกรณีของหน่วยงานราชการที่มักจะมีผลงานทางวิชาการออกม
าทุกปี แต่ห ลายชิ้น เป็น ไป เพียงเพื่อปรับร ะดับห รือต าแห น่ง
หลังจากนั้นก็จะถูกเก็บขึ้นหิ้ง ไม่เคยมีการนามาแบ่งปัน ถ่ายโอน
ห รื อ ต่ อ ย อ ด ร ะ ห ว่าง บุ ค ล า ก ร ใ ห้ เกิ ด ก า ร เรี ย น รู้ ร่ วม กั น
ส่ ว น สิ่ ง ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด ข อ ง ก า ร พั ฒ น า อ ง ค์ ก ร
คือก ารเอื้อให้เกิด โอก าสใน การห าแนวป ฏิบัติที่ดีที่สุด (Best
Practices) เพื่อให้ทัน ต่อความเปลี่ยน แปลงที่เกิดขึ้น อยู่เสมอ
จนสามารถนาองค์ความรู้ไปสร้างเป็นฐานความรู้ที่เข้มแข็ง (Core
competence) เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ไ ม่ จ า กั ด
รวมไปถึงอาจมีการเรียนรู้ข้ามสายงานกันได้
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า8
1. กระบวนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
การทาให้องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ
ทั้งภาครัฐและเอกชนกลายเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้นั้น
จาเป็นต้องมีกระบวนการเหล่านี้ คือ
1.1 สารวจสภาพปัจจุบัน วิเคราะห์
ศึกษาว่าองค์กรของเรามีอะไรดี ประเมินศักยภาพขององค์กร
บุคลากร ค่านิยม ปัญหาข้อบกพร่องต่างๆ
รวมทั้งประเมินการมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ในปัจจุบัน
1.2 นาข้อมูลที่ได้มากาหนดเป้าหมาย กลยุทธ์
หรือแนวทางที่จะใช้เป็นรูปแบบ
และกิจกรรมที่จะทาให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (Mutual
learning) เช่น บางหน่วยงานจัดให้มี Knowledge Center
ของตนเองรวบรวมทรัพยากรแห่งการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้ง่ายและสะดว
กต่อการใช้เป็นสถานที่แลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู้ระหว่างกัน
1.3 ต้องมีการดาเนินงานตามแผน
มีการแต่งตั้งคณะทางานส่งเสริมการดาเนินงาน ติดตาม
และประเมินผลตามระยะเวลา
หรืออาจมีการตั้งหน่วยวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ในองค์กร
ซึ่งมีตัวแทนจากบุคลากรทุกฝ่าย รวมทั้งผู้บริหาร
1.4
จัดเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลในขั้นท้ายสุดหลังจากที่ดาเนินการ
ไปแล้วระยะหนึ่ง
เพื่อให้ทราบว่าองค์กรของเรามีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้มาก
น้อยเพียงใด
จากการศึกษาพบข้อสังเกตเกี่ยวกับการประเมินผลอยู่บางประกา
ร คือเนื่องจากความรู้ เป็นสิ่งที่จับต้องยากมีลักษณะเป็นนามธรรม
เมื่ อ เร า น า ม าค ว าม รู้ ม าใ ช้ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ งาน ใ ด ๆ ก็ ต า ม
จึงยากต่อการวัดผลหรือนับออกมาเป็นค่าทางสถิติให้เห็นชัดเจนได้
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า9
ด้ ว ย เห ตุ นี้ จึ ง ท า ใ ห้ ก า ร วั ด ผ ล มี ข้ อ จ า กั ด ต า ม ไ ป ด้ ว ย
การประเมินว่าองค์กรของเรามีลักษณะของเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
มาก น้อยเพียงใด ผลที่ได้จากก าร เรียน รู้นั้น สัมฤ ท ธิ์ห รือไ ม่
จึงเป็นเรื่องที่ต้องอาศัยเวลาในการพิจารณาดูผลความเปลี่ยนแปลงที่เ
กิ ด ขึ้ น ก่ อ น
จึงสามารถสรุปได้ว่าโดยทั่วไปการวัดผลที่พอกระทาได้จึงมักจะเน้นไ
ปที่กระบวนการในการจัดการว่าได้ดาเนินการไปแล้วมากน้อยเพียงใ
ด ห รือวัด ใน เชิงป ริมาณ ข ององค์ความรู้ที่ไ ด้มีก ารถ่ายท อด
ขณ ะที่ป ริมาณ ดังกล่าวก็ไม่ได้เป็น เครื่องยืนยันได้เสมอไป ว่า
บุ ค ล า ก ร มี ลั ก ษ ณ ะ ข อ งก าร เรี ย น รู้ อ ย่ า งแ ท้ จ ริ งห รื อ ไ ม่
เ รื่ อ ง ที่ วั ด ผ ล ย า ก อี ก ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง คื อ
ส่วน ที่เกี่ยวกับ ก ารเงิน ห รือก ารวัดผลสัมฤ ท ธิ์ท างก าร ลงทุ น
กล่าวคือเมื่อลงทุนไปแล้ว สิ่งเหล่านี้จะให้ผลตอบแทนกลับมาเท่าไหร่
เป็นต้น
2. องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้
ลักษณะขององค์การแห่งการเรียนรู้ตามแนวคิดของปีเตอร์
เซงเก้ (Peter M. Senge) ระบุว่า การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้
โดยเน้นการสร้างวินัยของบุคลากรในองค์การ ประกอบด้วย วินัย 5
ประการ สามารถอธิบายได้ดังนี้ (Senge, 2000 : 7 - 8)
1. ก า ร เป็ น บุ ค ค ล ที่ ร อ บ รู้ ( Personal mastery)
บุคลากรขององค์การเป็น รากฐานขององค์การแห่งการเรียน รู้
โ ด ย มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ เ รี ย ก ว่ า Human mastery
คื อ เ ป็ น บุ ค ค ล ที่ มี ค ว า ม ก ร ะ ตื อ รื อ ร้ น
ส น ใ จ แ ล ะ ใ ฝ่ ห า ที่ จ ะ เ รี ย น รู้ อ ยู่ เ ส ม อ ต่ อ เ นื่ อ ง
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า10
มี ค ว า ม ป ร าร ถ น า ที่ จ ะ เรีย น รู้ เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ต น
มุ่งสู่จุดหมายและความสาเร็จที่กาหนดไว้
2. ก า ร มี แ บ บ แ ผ น ค ว า ม คิ ด ( Mental models)
คือการที่บุคลากรในองค์การรับรู้และเข้าใจงานที่ทาแบบองค์รวม
สามาร ถ เชื่อมโยงต าแห น่ งที่ ต น อยู่กั บ ภาพ ร วมทั้ งห มด ไ ด้
เข้ า ใ จ ชั ด เจ น ใ น แ บ บ แ ผ น ค ว า ม คิ ด ค ว า ม เชื่ อ ที่ ดี
ส่งผลต่อการตัดสินใจและการกระทาของตนเพื่อพัฒนาความคิดความ
เชื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส ภ า พ ก า ร ณ์ ที่ เป ลี่ ย น แ ป ล ง
โดยองค์การจะต้องสนับสนุนและสร้างให้คนในองค์การมีการฝึกตนเอ
งให้เป็นคนที่ใฝ่เรียนรู้
3. ก า ร มี วิ สั ย ทั ศ น์ ร่ ว ม กั น ( Shared vision)
เป็นการสร้างทัศนะของความร่วมมือกันอย่างยึดมั่นของบุคลากรในอง
ค์ ก า ร
สร้างความตระหนักและความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของ
อ ง ค์ ก า ร ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ย อ ม รั บ
ยินยอมพร้อมใจและให้ข้อผูกพันต่อจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานภา
ย ใ ต้ จุ ด ห ม า ย เ ดี ย ว กั น
เป็นการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันและมีการสื่อสารให้รับรู้ในทุกระดับเพื่อ
ให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
4. ก า ร เ รี ย น รู้ เ ป็ น ที ม ( Team learning)
เ ป็ น ก า ร เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น ข อ ง ส ม า ชิ ก
โดยอาศัยความรู้และความคิดของสมาชิกในกลุ่มมาแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น เพื่อพัฒนาความรู้และค วามสามารถของทีมให้เกิดขึ้น
จ น เ กิ ด เ ป็ น ค ว า ม คิ ด ร่ ว ม กั น ข อ ง ก ลุ่ ม
และกลุ่มควรลดสิ่งที่ก่อให้เกิดอิทธิพลครอบงาแนวความคิดของสมาชิ
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า11
ก
พร้อมทั้งกระตุ้นให้กลุ่มมีการสนทนาและอภิปรายอย่างกว้างขวางเพื่อ
ไปสู่เป้าหมายขององค์การ
5. ก า ร คิ ด อ ย่ า ง เป็ น ร ะ บ บ ( System thinking)
เป็นส่วนสาคัญต่อการสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้และนามาซึ่งการพัฒ
น า แ บ บ ยั่ ง ยื น ข อ ง อ ง ค์ ก า ร
เป็นการมองเห็นความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในรูปแบบที่ไม่หยุดนิ่งและ
ไ ม่ ม อ ง แ บ บ แ ย ก ส่ ว น
จุ ด ส าคั ญ ข อ ง ค ว า ม คิ ด เชิ งร ะ บ บ ก็ คื อ ข้ อ มู ล ย้ อ น ก ลั บ
ก า ร เ รี ย น รู้ จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ล ะ จ า ก ค น อื่ น ๆ
ซึ่งการปฏิสัมพันธ์ที่ว่านี้จะเกิดขึ้นทุกส่วนที่ประกอบกันเป็นระบบของอ
งค์การ
ต่ อ ม า เ ซ ง เ ก้ ( Senge, 2006)
ได้ปรับปรุงองค์ประกอบใหม่ที่ส่งผลให้องค์การเป็นองค์การแห่งการเรี
ยนรู้ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก คือ ความรอบรู้ของบุคคล
( Personal Mastery) แ บ บ แ ผ น ก า ร คิ ด ( Mental Model)
การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) และก ารเรียนรู้กัน เป็นทีม
(Team Learning) ส่วนการคิดอย่างเป็นระบบ (Systems Thinking)
ถือเป็น พื้ น ฐาน ที่ สาคัญ ใ น ก าร มององค์ป ร ะก อบ ต่างๆทั้ ง 4
องค์ประกอบอย่างเป็นองค์รวม (wholes)
3. อุปสรรคการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้
1. เน้นที่การควบคุม
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า12
2. คิดเพียงผลในระยะสั้น
3. เน้นที่เป้าหมายใหญ่เพียงอย่างเดียว
4. กดดันให้ทามากขึ้นจากสิ่งที่เหลือน้อย (
งบประมาณน้อยจานวนคนมีจากัด )
5. ผู้บริหารคิดว่าความคิดสร้างสรรค์มีได้ในบางคนเท่านั้น
4. บรรยากาศที่ดีของการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้
1. ยอมรับความเสี่ยง
2. มีอิสระ
3. มีการให้รางวัลที่ชัดเจนตามผลงาน
4. มีความอดทนต่อความแตกต่าง
5. ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง
6. ส่งเสริมและริเริ่มให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
5. องค์กรที่พึงปรารถนา
1. มีความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของทีม
บางครั้งเหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน
2.
ส่งเสริมระบบการติดต่อสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทางานของบุคลากร
3. ลดช่องว่างระหว่างผู้บริหารกับพนักงาน
4. ให้ความสาคัญกับการจัดสภาพแวดล้อมที่ทางาน
5. ส่งเสริมการพัฒนาทักษะและการเรียนรู้ของบุคลากร
6. รูปแบบการขยายผลของความรู้ในองค์กร
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า13
Professor Ikujiro Nonaka แ ล ะ Hirotaka Takeuchi
ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ แ ล ะ นั ก วิ ช า ก า ร ที่ มี ชื่ อ เ สี ย ง
มี ผ ล งา น ท า งด้ าน ก าร บ ริ ห าร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ใ น อ งค์ ก ร
ได้เขียนหนังสือชื่อ The Knowledge Creating Company (1995)
นาเสนอรูปแบบการขยายผลของความรู้ในองค์กร เรียกว่า SECI-
Knowledge Conversion Process หรือ SECI Model 8 ซึ่งมีการนา
ไปใช้กันอย่างแพร่หลายจนประสบความสาเร็จในองค์กรชั้นนาต่างๆ
โดยรูปแบบการขยายผลของความรู้ในองค์กรประกอบด้วย
6.1 Socialization
แสดงถึงการถ่ายโอนความรู้กันโดยตรงระหว่างกลุ่ม หรือบุคคล
ที่ มี ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น ค ว า ม ส น ใ จ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั น
หรือมีคลื่นความถี่ที่สื่อสารทา ความเข้าใจกันได้โดยง่าย สามารถทา
ให้เกิดขึ้นได้ทั้งแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
6.2 Externalization แสดงให้เห็นการเรียนรู้ แสวงหาสิ่งใหม่ๆ
จากภายน อกเพิ่มเข้ามาเพื่อให้ทัน ต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง
รวมทั้งป ระสบ การ ณ์ ตรงที่สัมผัสกับ ลูก ค้า ผู้ใช้บริการ ผู้ท า
ธุ ร กิ จ กั บ อ ง ค์ ก ร
เป็นความรู้ที่สาคัญต่อความสามารถในการแข่งขันและดารงอยู่ขององ
ค์กร
6.3 Combination เชื่อมโยงความรู้ภายในกับความรู้ภายนอก
แ ล้ ว ห า แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ ดี ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ เ ร า
ใ น ส่ วน นี้ ผู้ ที่ มี ค ว าม ส าม าร ถ ใ ช้ ภ าษ าใ น ก าร สื่ อ ส าร ที่ ดี
จะช่วยสรุปองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้กับองค์กรได้
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า14
6.4 Internalization
เป็นผลของการเชื่อมโยงแล้วนาเอาความรู้มาปฏิบัติเกิดเป็นความรู้ปร
ะสบการณ์และปัญญาฝังอยู่ในตัวคน จนกลายเป็น Tacit Knowledge
เพื่อนา ไปถ่ายทอดหมุนเวียนในองค์กรต่อไป
การจัดการความรู้ในองค์กร
การจัดการความรู้เป็นกิจกรรมที่มีความซับซ้อนและใช้กันอย่าง
ก ว้ า ง ข ว า ง
การให้ความหมายการจัดการความรู้จึงคลอบคลุมความหมายหลายด้า
น กล่าวคือ การจัดการความรู้มีความหมายรวมถึง การรวบรวม
ก า ร จั ด ร ะ บ บ ก า ร จั ด เ ก็ บ
และการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้ การจัดการความรู้จะเกี่ยวข้
อ ง กั บ ก า ร แ บ่ ง ปั น ค ว า ม รู้ ( Knowledge Sharing)
การจัดการความรู้ต้องการผู้ทรงความรู้ความสามารถในการตีความแ
ละประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรม และเป็นผู้นาในองค์กร
การจัด การค วามรู้เป็น เรื่องก ารเพิ่มปร ะสิท ธิผลข ององค์ก ร
ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ เกิ ด ขึ้ น เพ ร า ะ มี ค ว า ม เชื่ อ ว่ า
จะช่วยสร้างความมีชีวิตชีวาและความสาเร็จให้แก่องค์กร การประเมิน
“ต้ น ทุ น ท า ง ปั ญ ญ า ” (Intellectual Capital)
และผลสาเร็จของการประยุกต์ใช้การจัดการความรู้เป็นดัชนีบอกว่า
องค์กรมีการจัดการความรู้อย่างได้ผล
ก ล่าวโด ยสรุป ก ารจัด ก ารค วามรู้ใน องค์ก ร ห มายถึ ง
การจัดการที่มีกระบวนการและเป็นระบบตั้งแต่การประมวลผลข้อมูล
( Data) ส า ร ส น เ ท ศ ( Information) ค ว า ม คิ ด ( Idea)
ตลอดจนประสบการณ์ของบุคคล เพื่อสร้างความรู้ (Knowledge)
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า15
และจะต้องมีก าร จัด เก็บ ใน ลักษณ ะที่ผู้ใ ช้สามารถ เข้าถึงไ ด้
โด ยอาศัยช่องทางที่สะด วก เพื่อนาความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน
ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร โ อ น ถ่ า ย ค ว า ม รู้
และมีการแพร่กระจายไหลเวียนไปทั้งองค์กร
1. กระบวนการจัดการความรู้
กระบวนการจัดการความรู้เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เกิดพัฒน
าการของความรู้ หรือการจัดการความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร
มี ทั้ ง ห ม ด 7 ขั้ น ต อ น ( ส า นั ก ง า น
ก.พ.ร.และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2549) ดังนี้
1.1 การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์
พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
เราจาเป็นต้องใช้อะไร ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด
อยู่ที่ใคร
1.2 การสร้างและแสวงหาความรู้ เช่น การสร้างความรู้ใหม่
แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ จ า ก ภ า ย น อ ก รั ก ษ า ค ว า ม รู้ เก่ า
กาจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
1.3 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้
เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต
1.4 ก า ร ป ร ะ ม ว ล แ ล ะ ก ลั่ น ก ร อ ง ค ว า ม รู้ เช่ น
ปรับป รุงรูป แบบ เอก สารให้เป็น มาต รฐาน ใ ช้ภาษ าเดียวกัน
ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์
1.5
การเข้าถึงความรู้ เป็นการทาให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการไ
ด้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Web board
บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า16
1.6 ก าร แบ่งปัน แลก เป ลี่ยน ค วามรู้ ทาได้หลายวิธีการ
โ ด ย ก ร ณี ที่ เป็ น ค ว า ม รู้ ชั ด แ จ้ ง ( Explicit Knowledge)
อาจ จัด ท าเป็น เอก สาร ฐาน ค วามรู้ เท ค โน โลยีสาร สน เท ศ
ห รื อ ก ร ณี ที่ เ ป็ น ค ว า ม รู้ ฝั ง ลึ ก ( Tacit Knowledge)
จัดทาเป็นระบบทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว
เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
1.7 การเรียนรู้ ควรทาให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น
เกิดระบบการเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การนาความรู้ในไปใช้
เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ ห ม่
และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า17
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับองค์กรแห่งการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือไอซีที (Information
and communication Technology) ห ม า ย ถึ ง
เท ค โ น โ ล ยี ที่ เกี่ ย ว กั บ ก า ร น า ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เต อ ร์
ร ะ บ บ สื่อ ส าร โท ร ค ม น า ค ม แ ล ะ ค ว าม รู้ อื่น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง
มาผน วก เข้าด้วยกัน เพื่ อใ ช้ใ น ก ร ะบ วน ก าร จัด ห า จัด เก็ บ
ส ร้ า ง แ ล ะ เ ผ ย แ พ ร่ ส า ร ส น เ ท ศ ใ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นอาจกล่าวได้ว่าประกอบขึ้นจากเทคโน
โ ล ยี ส อ ง ส า ข า ห ลั ก คื อ เ ท ค โ น โ ล ยี ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
ก ล่ าว ไ ด้ ว่ า เท ค โ น โ ล ยี ส าร ส น เท ศ แ ล ะ ก าร สื่ อ ส า ร
เป็นปัจจัยสาคัญตัวหนึ่งที่เอื้อให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จ
(ส ถ า บั น เ พิ่ ม ผ ล ผ ลิ ต แ ห่ ง ช า ติ , 2547)
ความก้าวห น้าทางด้าน เทค โนโลยีสารสน เท ศและการสื่อสาร
โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตเป็นแรงผลักดันสาคัญที่ช่วยให้
การแลกเปลี่ยนความรู้สามารถทาได้ง่ายขึ้นนอกจากนี้ระบบฐานข้อมู
ลที่ทันสมัยก็มีส่วนช่วยให้การจัดการความรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ส ม ช า ย น า ป ร ะ เ ส ริ ฐ ชั ย (2549)
ได้จาแนกเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เกี่ยวของและมีบทบ
าทในการจัดการความรูออกเป็น 3 รูปแบบ คือ
เท ค โน โลยีการสื่อสาร (Communication Technology)
ช่วยให้บุคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ต่างๆ ได้ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น
รวมทั้งสามาร ถ ติด ต่อสื่อสาร กับ ผู้เชี่ยวช าญ ใน สาข าต่างๆ
ค้ น ห า ข้ อ มู ล
สารสนเทศและความรู้ที่ต้องการได้ผ่านทางเครือข่ายอินทราเน็ต
เอ็กซ์ตราเน็ตหรืออินเทอร์เน็ต
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า18
เท คโนโลยีสนับสนุนการ ทางาน ร่วมกัน (Collaboration
Technology)
ช่วยให้สามารถ ป ร ะสาน ก ารท างาน ได้อย่างมีป ระสิท ธิภาพ
ลดอุปสรรคในเรื่องของระยะทาง ตัวอย่างเช่น โปรแกรมกลุ่ม
groupware ต่างๆ หรือระบบ Screen Sharing เป็นต้น
เท ค โ น โ ล ยี ใ น ก า ร จั ด เ ก็ บ (Storage technology)
ช่วยในการจัดเก็บและจัดการความรู้ต่างๆ
จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีที่นามาใช้ในการจัดการความรู้ขององค์กรนั้น
ประกอบด้วยเทคโนโลยีที่สามารถครอบคลุมกระบวนการต่างๆ
ในการจัดการความรู้ได้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
ดังนั้นไอซีทีจึงมีบทบาทสาคัญในเรื่องของการจัดการความรู้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งอินเทอร์เน็ตที่เป็นเทคโนโลยีที่เชื่อมคนทั่วโลกเข้า
ด้วยกันทาให้กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ (knowledge Transfer)
ทาได้ดียิ่งขึ้น
อีกทั้งไอซีทียังช่วยให้การนาเสนอสามารถเลือกได้หลายรูปแบบเช่นตั
วอักษร รูปภาพ แอนนิเมชั่น เสียง วิดีโอ ซึ่งช่วยให้การเรียนรู้
ทาได้ง่ายยิ่งขึ้น นอกจากนี้
ไอซีทียังช่วยในการจัดเก็บและดูแลปรับปรุงความรู้และสารสนเทศต่า
งๆ (knowledge storage and maintenance)
อีกทั้งช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินการในกระบวนการจัดการความ
รู้ด้วย จึงนับได้ว่าไอซีทีเป็น
เครื่องมือสนับสนุนและเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการจัดการความ
รู้
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า19
ตัวอย่างขององค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ประสบความสาเร็จ
และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็นเครื่องมือในการจัดการความรู้
ยัมแบรนด์อิงค์Pizza Hut and KFC
ยัมแบรนด์ อิงค์ เป็นบริษัทอาหารฟาสต์ฟู๊ดที่ใหญ่ที่สุดในโลกในปี ค.ศ.
2004 บริษัทมีร้าน เคเอฟซี (KFC) พิซซ่า ฮัท (Pizza Hut) ทาโก้ เบล
(Taco Bell) ล อ ง จ อ ห์ น ซิ ล เว อ ร์ (Long John Silver’s) แ ล ะ
ภัตตาคารเอแอนด์ดับบลิว (A&W restaurants) รวมกันมากกว่า
33,000 แ ห่ ง ทั่ ว โ ล ก
ยัมแบนด์เป็นผู้นาตลาดฟาสต์ฟู๊ดของอเมริกาในส่วนของอาหารประเภ
ท ไ ก่ พิ ซ ซ่ า อ า ห า ร เม็ ก ซิ กั น แ ล ะ อ า ห า ร ท ะ เ ล
บริษัทยังมีภัตตาคารมากกว่า 12,000 แห่งนอกประเทศสหรัฐอเมริกา
เค เ อ ฟ ซี แ ล ะ พิ ซ ซ่ า ฮั ท มี สั ด ส่ ว น ถึ ง ร้ อ ย ล ะ 96
ของฐานด้านภัตตาคารต่างประเทศใน 116 ประเทศ ในช่วงยุค 1950
แ ล ะ 1960 เ ค เ อ ฟ ซี แ ล ะ พิ ซ ซ่ า ฮั ท
เป็นตราสินค้าที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในบรรดาสาขาฟาสต์ฟู๊ดในต่างปร
ะ เ ท ศ ใ น ช่ ว ง ยุ ค 1990
ทั้งสองแบรนด์ยังคงขยายตัวต่อเนื่องและเติบโตผ่านการไปเปิดสาขาใ
น ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ ม า ก ที่ สุ ด แ ต่ ยั ม แ บ ร น ด์
อิงค์ตระหนักว่าประเทศแต่ละประเทศที่ไปเปิดสาขาสามารถสร้างผล
กาไรให้แก่องค์กรในอัตราที่แตกต่างกันไป
ดั ง นั้ น ใ น ปี ค .ศ . 2004
บริษัทจึงเริ่มให้ความสาคัญมากขึ้นกับบริหารพอร์ตในแต่ละประเทศ
บริษัทเริ่มเน้นกลยุทธ์ธุรกิจระหว่างประเทศโดยเน้นการพัฒนาและเพิ่
ม ส่ ว น แ บ่ ง ท า ง ก า ร ต ล า ด เ พี ย ง บ า ง ป ร ะ เ ท ศ
โดยเลือกเน้นเฉพาะประเทศที่มีอัตราการเติบโตของตลาดที่สูง อาทิ
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า20
ญี่ปุ่น แค นาด า อังกฤ ษ จีน ออสเต รเลีย เกาหลี และเม็กซิโก
บริษัทยังต้องการมีตาแหน่งในตลาดที่มั่นคงในกลุ่มประเทศยุโรป
บ ร า ซิ ล แ ล ะ อิ น เ ดี ย
ซึ่งในกลุ่มประเทศเหล่านี้ผู้บริโภคยังรู้จักแบรนด์ของบริษัทไม่มากนัก
แ ล ะ ทั้ ง เ ค เ อ ฟ ซี แ ล ะ พิ ซ ซ่ า ฮั ท
ยังมีสถานการณ์ดาเนิน งานที่ไม่แข็งแรงนักใน ประเทศเหล่านี้
บริษัทมองว่าจีนและอินเดียเป็นตลาดที่น่าสนใจเนื่องจากเป็นประเทศ
ที่ มี จ า น ว น ป ร ะ ช า ก ร สู ง
ส่วนประเทศกลุ่มลาตินอเมริกาก็เป็นอีกกลุ่มประเทศที่น่าสนใจเนื่องจา
กกลุ่มประเทศนี้มีความคล้ายคลึงกับประเทศอเมริกาค่อนข้างมากทั้งใ
น ด้ า น ภ า ษ า วั ฒ น ธ ร ร ม
รวมถึงการผลกระทบที่เกิดจากเขตการค้าเสรีซึ่งทาให้กาแพงการค้าร
ะหว่างอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้หมดไปก็จะส่งผลดีต่อบริษัท
ความท้าทายที่เป็นโจทย์ระยะยาวสาหรับบริษัทคือการสร้างควา
มแข็งแกร่งให้กับตาแหน่งของตนเองในตลาดต่างประเทศที่เป็นประเท
ศ ห ลั ก ๆ ดั ง ที่ ก ล่ า ว ม า แ ล้ ว
แ ต่ ใ น ข ณ ะ เดี ย วกั น ก็ ต้ อ ง พ ย าย า ม พั ฒ น า ต ล า ด ใ ห ม่ ๆ
ที่ผู้บริโภคยังไม่ค่อยรู้จักแบรนด์ของบริษัทหรือในตลาดที่บริษัทยังมีจุ
ดอ่อนในการดาเนินงานอยู่
ประวัติที่น่าสนใจ
เคนตั๊กกี้ ฟรายด์ ชิกเก้น (Kentucky Fried Chicken
Corp.)
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า21
ใ น ช่ ว ง ปี ค .ศ . 1952
แฟรนไชส์อาหารฟาสต์ฟู๊ดยังอยู่ในยุคบุกเบิกและเริ่มต้น ฮาร์แลนด์
แ ซ น เ ด อ ร์ (Harland Sanders)
เริ่มเดินทางทั่วสหรัฐอเมริกาเพื่อพูดคุยกับกลุ่มลูกค้าที่ศักยภาพจะเป็น
ผู้ซื้อแฟรนไชส์ของ “ไก่เค เอฟ ซีสูตรผู้พันแซนเดอร์” ในปี ค.ศ.
1960 ผู้ พั น แ ซ น เด อ ร์ ข า ย แ ฟ ร น ไ ช ส์ ข อ ง เ ค เ อ ฟ
ซี ป ร ะ เภ ท ร้า น ค้ าป ลี ก ข าย แบ บ น าก ลั บ บ้ าน (take-home)
รวมถึงประเภทที่เป็นภัตตาคารได้มากกว่า 200 แห่งทั่วสหรัฐอเมริกา
ในอีก 4 ปีต่อมาเมื่อผู้พันแซนเดอร์มีอายุ 74 ปีเขาได้ขาย เค เอฟ ซี
ให้กับนัก ธุรกิจ 2 ค นจากหลุยส์วิล (Louisville) ไปเป็น มูลค่า 2
ล้ า น เ ห รี ย ญ ส ห รั ฐ ใ น ปี ค .ศ . 1966 เ ค เ อ ฟ ซี
เปลี่ยนเป็นบริษัทมหาชนและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งนิวย
อร์ค (New York Stock Exchange)
ต่อ ม าใ น ปี ค .ศ . 1971 บ ริษั ท ฮิ วเบ ร น (Heublein, Inc.)
ผู้จัดจาหน่ายไวน์และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ติดต่อเจรจากับ เค เอฟ ซี
ได้สาฎเร็จในการรวมเค เอฟ ซี เข้าเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของบริษัท
อี ก 11 ปี ต่ อ ม า อ า ร์ . เจ . เร ย์ โ น ล ด์ อิ น ดั ส ต รี (RJR –
บ ริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต แ ล ะ จ า ห น่ า ย บุ ห รี่ )
เข้าซื้อหุ้น บริษัท ฮิวเบ รนและรวมเข้าเป็น ส่วนห นึ่งข องบริษัท
การรวมบริษัท ฮิวเบรนนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ของอาร์ เจ อาร์
ในการขยายกิจการเข้าสู่ธุรกิจที่หลากหลาย เช่น พลังงาน การขนส่ง
อาหารและภัตตาคาร ทั้งนี้เพื่อกระจายความเสี่ยงจากธุรกิจยาสูบ
นอกจากนี้ในปี ค.ศ. 1985 อาร์ เจ อาร์ ยังได้ซื้อหุ้นบริษัท นาบิสโก
(Nabisco Corporation)
โดยมีเป้าหมายที่จะต้องการนากลุ่มบริษัทขึ้นสู่ความเป็นผู้นาโลกในอุ
ตสาหกรรมอาหาร ผลสืบเนื่องจากกลยุทธ์ดังกล่าวทาให้กลุ่มบริษัท
อ า ร์ เ จ อ า ร์
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า22
ปรับกลยุทธ์ใหม่โดยไปมุ่งเน้นด้านอาหารแปรรูปและตัดสินใจที่จะออ
กจากธุรกิจด้านภัตตาคารไป กลุ่มบริษัทนี้จึงขาย เค เอฟ ซี ให้กับ
บริษัท เป๊ปซี่โค (PepsiCo, Inc.) ในปีต่อมา
พิซซ่า ฮัท (Pizza Hut)
ในปี ค.ศ. 1958 นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวิชิตา (Wichita
State University) 2 ท่าน คือ แฟ ร งก์ และ ค าร์นีย์ (Frank and
Carney)
ตัดสินใจเปิดร้านพิซซ่าภายในอาคารเก่าในย่านธุรกิจของตัวเมืองวิชิ
ต า โ ด ย ทั้ ง ส อ ง ท่ า น กู้ ยื ม เ งิ น จ า น ว น 500
เหรียญสหรัฐจากมารดาของตนมาเพื่อเปิดร้านและตั้งชื่อว่า “พิซซ่า
ฮัท ” อีก 2 ปีต่อมาทั้งสองเปิด สาข าข องร้าน เพิ่มอีก 4 สาข า
แ น ว คิ ด ข อ ง พิ ซ ซ่ า ฮั ท
ได้รับการตอบรับอย่างดีจากผู้บริโภคทาให้ทั้งสองเริ่มมีการขายแฟรน
ไชส์ของภัตตาคาร จนถึงปี ค.ศ. 1972 พิซซ่า ฮัท มีภัตตาคารรวมถึง
1,000 แ ห่ ง
และบริษัทได้ทาการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งนิวยอร์ก
พิ ซ ซ่ า ฮั ท ใ ช้ เ ว ล า ไ ม่ ถึ ง 15 ปี
ในการขึ้นมาเป็นผู้นาทั้งด้านยอดขายและปริมาณการขายในธุรกิจร้า
น พิ ซ ซ่ า ใ น แ ง่ ข อ ง ธุ ร กิ จ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เท ศ พิ ซ ซ่ า ฮั ท
ไ ด้ เปิ ด ร้ า น พิ ซ ซ่ า ใ น ป ร ะ เท ศ แ ค น า ด า ใ น ปี ค .ศ . 1968
และในไม่ช้าก็มีการขายแฟรนไชส์ไปสู่ประเทศเม็กซิโก เยอรมัน
อ อ ส เต ร เลี ย ค อ ส ต าริ ก้ า ญี่ ปุ่ น แ ล ะ อั ง ก ฤ ษ ใ น ปี 1977
บ ริ ษั ท ข า ย กิ จ ก า ร ใ ห้ กั บ บ ริ ษั ท เ ป๊ ป ซี่ โ ค
แต่สานักงานใหญ่ยังคงตั้งอยู่ในเมืองวิชิตาเช่นเดิม โดยแฟรงก์ และ
คาร์นีย์ดารงตาแหน่งประธานบริษัทต่อมาจนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1980
รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า23
(สิ่ ง ที่ น่ า ส น ใ จ เ พิ่ ม เ ติ ม คื อ ใ น ปี ค .ศ . 1984
แฟรงก์ได้เป็นผู้ก่อตั้งแฟรนไชส์ร้านพิซซ่าใหม่ ในชื่อ “ปาป้า จอห์น
พิ ซ ซ่ า (Papa John’s Pizza)
และจนทุกวันนี้แฟรงก์ยังคงเป็นหนึ่งในเจ้าของร้านพิซซ่าแฟรนไชส์ส
าขาใหญ่ที่สุดของยี่ห้อนี้อยู่)
บรรณานุกรมและแหล่งอ้างอิง
พนม เพชรจตุพร, ดร. ทวิกา ตั้งประภา.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร. [ออนไลน์].
www.msit2005.mut.ac.th/.../20120227232618Yr.pdf.
วีรพงษ์ ไชยหงษ์. องค์การแห่งการเรียนรู้ [ออนไลน์]. (10 กันยายน
2556). www.weerapong.net ›
Article.
องค์กรแห่งการเรียนรู้. [ออนไลน์].
www.slideshare.net/looktao/ss-presentation-563398
องค์กรแห่งการเรียนรู้. ระบบจัดการฐานความรู้ [ออนไลน์]. [อ้างถึง
19 ธันวาคม 2556] เข้าถึงได้จาก
อินเตอร์เน็ตเข้าถึงได้จากอินเตอร์เน็ต:
http://www.wasant.org/knowledge/tutor/km7.php

More Related Content

Similar to รายงานเพื่อการเรียนรู้

การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
Nona Khet
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
Weerachat Martluplao
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
wanitchaya001
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Theerayut Ponman
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
nattawad147
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
teerayut123
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
fernfielook
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
poppai041507094142
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
nattapong147
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanichaya kingchaikerd
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
kanwan0429
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 

Similar to รายงานเพื่อการเรียนรู้ (20)

การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 

More from นะนาท นะคะ

นักศึกษาปัจจุบัน
นักศึกษาปัจจุบันนักศึกษาปัจจุบัน
นักศึกษาปัจจุบัน
นะนาท นะคะ
 
ข้อมูลกราฟ จน.นศ.ปัจจุบัน-ปีการศึกษา-2559
ข้อมูลกราฟ จน.นศ.ปัจจุบัน-ปีการศึกษา-2559ข้อมูลกราฟ จน.นศ.ปัจจุบัน-ปีการศึกษา-2559
ข้อมูลกราฟ จน.นศ.ปัจจุบัน-ปีการศึกษา-2559
นะนาท นะคะ
 
ข้อมูลวิธีการรับเข้า 2559
ข้อมูลวิธีการรับเข้า 2559ข้อมูลวิธีการรับเข้า 2559
ข้อมูลวิธีการรับเข้า 2559
นะนาท นะคะ
 
Present ภาวะการมีงานทำ-ปีการศึกษา-2558
Present ภาวะการมีงานทำ-ปีการศึกษา-2558Present ภาวะการมีงานทำ-ปีการศึกษา-2558
Present ภาวะการมีงานทำ-ปีการศึกษา-2558
นะนาท นะคะ
 
สรุปข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา
สรุปข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาสรุปข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา
สรุปข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา
นะนาท นะคะ
 
บว ป โท จำนวน นศ 2559
บว ป โท จำนวน นศ 2559บว ป โท จำนวน นศ 2559
บว ป โท จำนวน นศ 2559
นะนาท นะคะ
 
Present scholarship14-6-60
Present scholarship14-6-60Present scholarship14-6-60
Present scholarship14-6-60
นะนาท นะคะ
 
ข้อมูลจำนวนนักศึกษา ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2559
ข้อมูลจำนวนนักศึกษา ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2559ข้อมูลจำนวนนักศึกษา ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2559
ข้อมูลจำนวนนักศึกษา ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2559
นะนาท นะคะ
 
สรุปจำนวนนักศึกษาปัจจุบัน ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2559
สรุปจำนวนนักศึกษาปัจจุบัน ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2559สรุปจำนวนนักศึกษาปัจจุบัน ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2559
สรุปจำนวนนักศึกษาปัจจุบัน ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2559
นะนาท นะคะ
 
การบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน
การบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนการบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน
การบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน
นะนาท นะคะ
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
นะนาท นะคะ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
นะนาท นะคะ
 
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
นะนาท นะคะ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นะนาท นะคะ
 
Creating a culture of community mission 2
Creating a culture of community  mission 2Creating a culture of community  mission 2
Creating a culture of community mission 2
นะนาท นะคะ
 
07 chapter7 201700-foundation of educational technology
07 chapter7 201700-foundation of educational technology07 chapter7 201700-foundation of educational technology
07 chapter7 201700-foundation of educational technology
นะนาท นะคะ
 
Learning media 3 10-57v2
Learning media 3 10-57v2Learning media 3 10-57v2
Learning media 3 10-57v2
นะนาท นะคะ
 
Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014
นะนาท นะคะ
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
นะนาท นะคะ
 
Emerging Technologies in Teaching and Learning
Emerging Technologies in Teaching and LearningEmerging Technologies in Teaching and Learning
Emerging Technologies in Teaching and Learning
นะนาท นะคะ
 

More from นะนาท นะคะ (20)

นักศึกษาปัจจุบัน
นักศึกษาปัจจุบันนักศึกษาปัจจุบัน
นักศึกษาปัจจุบัน
 
ข้อมูลกราฟ จน.นศ.ปัจจุบัน-ปีการศึกษา-2559
ข้อมูลกราฟ จน.นศ.ปัจจุบัน-ปีการศึกษา-2559ข้อมูลกราฟ จน.นศ.ปัจจุบัน-ปีการศึกษา-2559
ข้อมูลกราฟ จน.นศ.ปัจจุบัน-ปีการศึกษา-2559
 
ข้อมูลวิธีการรับเข้า 2559
ข้อมูลวิธีการรับเข้า 2559ข้อมูลวิธีการรับเข้า 2559
ข้อมูลวิธีการรับเข้า 2559
 
Present ภาวะการมีงานทำ-ปีการศึกษา-2558
Present ภาวะการมีงานทำ-ปีการศึกษา-2558Present ภาวะการมีงานทำ-ปีการศึกษา-2558
Present ภาวะการมีงานทำ-ปีการศึกษา-2558
 
สรุปข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา
สรุปข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาสรุปข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา
สรุปข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา
 
บว ป โท จำนวน นศ 2559
บว ป โท จำนวน นศ 2559บว ป โท จำนวน นศ 2559
บว ป โท จำนวน นศ 2559
 
Present scholarship14-6-60
Present scholarship14-6-60Present scholarship14-6-60
Present scholarship14-6-60
 
ข้อมูลจำนวนนักศึกษา ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2559
ข้อมูลจำนวนนักศึกษา ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2559ข้อมูลจำนวนนักศึกษา ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2559
ข้อมูลจำนวนนักศึกษา ระดับปริญญาเอก ปีการศึกษา 2559
 
สรุปจำนวนนักศึกษาปัจจุบัน ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2559
สรุปจำนวนนักศึกษาปัจจุบัน ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2559สรุปจำนวนนักศึกษาปัจจุบัน ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2559
สรุปจำนวนนักศึกษาปัจจุบัน ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2559
 
การบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน
การบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนการบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน
การบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Creating a culture of community mission 2
Creating a culture of community  mission 2Creating a culture of community  mission 2
Creating a culture of community mission 2
 
07 chapter7 201700-foundation of educational technology
07 chapter7 201700-foundation of educational technology07 chapter7 201700-foundation of educational technology
07 chapter7 201700-foundation of educational technology
 
Learning media 3 10-57v2
Learning media 3 10-57v2Learning media 3 10-57v2
Learning media 3 10-57v2
 
Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments:Theoretical and Implemen...
 
Emerging Technologies in Teaching and Learning
Emerging Technologies in Teaching and LearningEmerging Technologies in Teaching and Learning
Emerging Technologies in Teaching and Learning
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 

Recently uploaded (11)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 

รายงานเพื่อการเรียนรู้

  • 2. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า2 นางสาวนฤนาท คุณธรรม รหัสนักศึกษา 575050186-7 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา โครงการพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คานา รายงาน เล่มนี้เป็น ส่วน ห นึ่งข องร ายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์สาหรับองค์การแห่ง ก าร เรียน รู้ โด ยมีเนื้ อห าเพื่อ ให้ ค วามรู้ใน ด้าน ก าร บ ริห าร อ ง ค์ ก า ร แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ แล ะ ก าร จั ด อ งค์ ก าร โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ก าร ก าร จั ด ก าร ค วา ม รู้ โด ย มี วัต ถุ ป ร ะ ส งค์ เพื่ อ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ าไ ด้ ศึ ก ษ าด้ วย ต น เอ ง แ ล ะ น า ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น อ น า ค ต ไ ด้ ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน ห รื อ นั ก เ รี ย น นั ก ศึ ก ษ า ที่ ก า ลั ง หาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย นางสาวนฤนาท คุณธรรม
  • 3. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า3 ผู้จัดทา สารบัญ เรื่อง หน้า องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) 4 1. กระบวนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ 5
  • 4. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า4 2. องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ 6 3. อุปสรรคการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ 7 4. บรรยากาศที่ดีของการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ 7 5. องค์กรที่พึงปรารถนา 8 6. รูปแบบการขยายผลของความรู้ในองค์กร 8 การจัดการความรู้ในองค์กร 9 1. กระบวนการจัดการความรู้ 9 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับองค์กรแห่งการเรียนรู้ 10 ตัวอย่างขององค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ประสบความสาเร็จ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 12 เป็นเครื่องมือในการจัดการความรู้
  • 5. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า5 ทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การ โดยใช้หลักการการจัดการความรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) อง ค์ ก ร แ ห่ งก า ร เรี ย น รู้ ห รื อ อ งค์ ก ร ที่ มี ก า ร เรี ย น รู้ เป็นองค์กรที่มีการสร้างช่องทางให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและ กันภายในองค์กรระหว่างบุคลากรควบคู่ไปกับการรับความรู้จากภาย น อ ก โ ด ย มี เ ป้ า ห ม า ย ส า คั ญ คือเพื่อให้มีโอกาสไ ด้ใช้ค วามรู้เป็น ฐาน ใน การพัฒ นาต่อไ ป โดยมีนักวิชาการได้ให้คานิยามขององค์กรแห่งการเรียนรู้ไว้ดังต่อไป นี้ Peter Senge (1990) : องค์กรที่ผู้คนในองค์กรสามารถขยายศักยภาพในการที่จะสร้างสรรค์ ผลสาเร็จที่ต้องการได้อย่างต่อเนื่อง เป็นที่ซึ่งรูปแบบของการคิดใหม่ๆ แ ล ะ ก ว้ า ง ข ว า ง ไ ด้ ถู ก บ่ ม เ พ า ะ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น และเป็นที่ซึ่งความปรารถนาร่วมกันของผู้คนในองค์กรได้เกิดขึ้นอย่าง เ ส รี และคนในองค์กรได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่องในวิธีการเรียนรู้ร่วมกับคนอื่น Marquardt and Reynolds (1994) : องค์กรแห่งการเรียน รู้ เป็นองค์กรที่มีบรรยากาศที่กระตุ้นการเรียนรู้ของบุคคลและกลุ่มให้เกิ ด อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว และสอนให้พนักงานมีกระบวนการคิดวิพากษ์วิจารณ์เพื่อความเข้าใจ ใ น สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ เหล่านี้ที่มีในแต่ละบุคคลช่วยให้องค์กรเรียนรู้ในสิ่งที่ผิดพลาด เช่นเดียวกับเรียนรู้ในความสาเร็จ พ นิ ด า วิ เ ชี ย ร ปั ญ ญ า ( 2547) : เป็นองค์กรที่มีความรู้เป็นฐานและมีการพัฒนาการทางความรู้อย่างต่อ
  • 6. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า6 เนื่อง ทั้งนี้เพื่อขยายขีดความสามารถที่ไม่เพียงแค่การเรียนรู้เท่านั้น การพัฒนาความรู้ใหม่และความเข้าใจที่ถ่องแท้ถึงพฤติกรรมองค์กร โ ด ย มี ค ว า ม จ า เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ( organizational memory) เป็ น ปั จ จั ย ส า คั ญ ต่ อ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ใ น ก า ร เรี ย น รู้ ซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการเรียนรู้ของอ งค์กร โดยมีฝ่ายบริหารเป็นผู้ให้การสนับสนุน จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า เ อ ก ส า ร พ บ ว่ า Chris Argyris เป็นผู้บุกเบิกแนวคิดเกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้เป็นคนแรก โดยเริ่มขึ้นประมาณปี ค.ศ.1978 จากงานเขียน ชื่อ Organization Learning แ ต่ ยั ง ไ ม่ เ ป็ น ที่ แ พ ร่ ห ล า ย นั ก เพราะมีเนื้อหาเชิงวิชาการที่เข้าใจยาก ต่อมาปี ค.ศ.1990 Peter M. Senge ศาสตราจ ารย์แห่ง MIT Sloan School of Management ไ ด้ เขี ย น “The Fifth Discipline : The Art and The Learning Organization “ ห รื อ “ วิ นั ย 5 ป ร ะ ก า ร “ แนวคิดเพื่อนาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization: LO) และได้รับความนิยมปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา จนกระทั่ง American Society for Training Development-ASTD สมาคมเพื่อการฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเม ริกา ได้ประกาศเกียรติคุณให้เขาเป็นนักวิชาการเกียรติคุณดีเด่น ประจา ปี ค.ศ.2000 โดยทรรศนะของ Peter M. Senge กล่าวว่า “Learning in organization means the continuous testing of experience, and the transformation of that experience into knowledge—accessible to the whole organization, and relevant to its core purpose.” ซึ่ ง มี นั ก วิ ช า ก า ร ไ ท ย ใ ห้ ค า จ า กั ด ค ว า ม ไ ว้ ว่ า
  • 7. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า7 “องค์กรที่บุคลากรภายในองค์กรได้ขยายความสามารถของตนอย่างต่ อเนื่องทั้งใ น ระดับ บุค คล ร ะดับ กลุ่มบุค ค ลและระดับ องค์ก ร เพื่อสร้างผลลัพ ธ์ที่บุคคลใน ระดับต่างๆ ต้องการอย่างแท้จ ริง เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ที่ บุ ค ล า ก ร มี ค ว า ม คิ ด ใ ห ม่ ๆ และก าร แต ก แข น งข องค วามคิด ไ ด้รับ ก ารยอมรับ เอาใจ ใ ส่ เป็นองค์กรที่บุคลากรในองค์กรมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องด้วยวิธีการที่ จะเรียนรู้ไปด้วยกันทั้งองค์กร” การสนับสนุนให้บุคลากรในองค์กรไปฝึกอบรมเพียงอย่างเดียวอ า จ จ ะ ไ ม่ เ พี ย ง พ อ แ ล้ ว ส า ห รั บ ยุ ค นี้ เนื่องจากพบว่าบุคลากรมีการนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์หลังจา ก ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม เพี ย ง แ ค่ 10% เมื่ อ ทิ้ ง ห่ า ง ไ ป 2 สั ป ด า ห์ ห า ก ไ ม่ ไ ด้ น า ก ลั บ ม า ใ ช้ อี ก ทั ก ษ ะ ห รื อ ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ จ ะ เลื อน ห ายไ ป ป ร ะม าณ 87% อี ก ทั้ งอง ค์ ก ร รู ป แ บ บ เดิ ม ๆ มัก จะ มีงาน ยุ่งๆ จน ไม่มีเวลาท บ ท วน อ่าน ศึก ษ า ป รับ ป รุง น อ ก จ า ก นี้ ก า ร สั่ ง ส ม ค ว า ม รู้ อ ยู่ ที่ ผู้ ใ ด ผู้ ห นึ่ ง ม า ก ๆ ก็ อ า จ จ ะ ก ล า ย เป็ น จุ ด อ่ อ น ข อ ง อ ง ค์ ก ร ไ ด้ เช่ น กั น เพ ราะเมื่อบุคคลนั้น มีการโยกย้าย เป ลี่ยนแปลงสถานที่ทางาน อ ง ค์ ค ว า ม รู้ เ ห ล่ า นั้ น ก็ พ ล อ ย สู ญ ส ล า ย ไ ป ด้ ว ย หรือในกรณีของหน่วยงานราชการที่มักจะมีผลงานทางวิชาการออกม าทุกปี แต่ห ลายชิ้น เป็น ไป เพียงเพื่อปรับร ะดับห รือต าแห น่ง หลังจากนั้นก็จะถูกเก็บขึ้นหิ้ง ไม่เคยมีการนามาแบ่งปัน ถ่ายโอน ห รื อ ต่ อ ย อ ด ร ะ ห ว่าง บุ ค ล า ก ร ใ ห้ เกิ ด ก า ร เรี ย น รู้ ร่ วม กั น ส่ ว น สิ่ ง ที่ ส า คั ญ ที่ สุ ด ข อ ง ก า ร พั ฒ น า อ ง ค์ ก ร คือก ารเอื้อให้เกิด โอก าสใน การห าแนวป ฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practices) เพื่อให้ทัน ต่อความเปลี่ยน แปลงที่เกิดขึ้น อยู่เสมอ จนสามารถนาองค์ความรู้ไปสร้างเป็นฐานความรู้ที่เข้มแข็ง (Core competence) เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ไ ม่ จ า กั ด รวมไปถึงอาจมีการเรียนรู้ข้ามสายงานกันได้
  • 8. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า8 1. กระบวนการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ การทาให้องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนกลายเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้นั้น จาเป็นต้องมีกระบวนการเหล่านี้ คือ 1.1 สารวจสภาพปัจจุบัน วิเคราะห์ ศึกษาว่าองค์กรของเรามีอะไรดี ประเมินศักยภาพขององค์กร บุคลากร ค่านิยม ปัญหาข้อบกพร่องต่างๆ รวมทั้งประเมินการมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ในปัจจุบัน 1.2 นาข้อมูลที่ได้มากาหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ หรือแนวทางที่จะใช้เป็นรูปแบบ และกิจกรรมที่จะทาให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (Mutual learning) เช่น บางหน่วยงานจัดให้มี Knowledge Center ของตนเองรวบรวมทรัพยากรแห่งการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้ง่ายและสะดว กต่อการใช้เป็นสถานที่แลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู้ระหว่างกัน 1.3 ต้องมีการดาเนินงานตามแผน มีการแต่งตั้งคณะทางานส่งเสริมการดาเนินงาน ติดตาม และประเมินผลตามระยะเวลา หรืออาจมีการตั้งหน่วยวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ในองค์กร ซึ่งมีตัวแทนจากบุคลากรทุกฝ่าย รวมทั้งผู้บริหาร 1.4 จัดเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลในขั้นท้ายสุดหลังจากที่ดาเนินการ ไปแล้วระยะหนึ่ง เพื่อให้ทราบว่าองค์กรของเรามีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้มาก น้อยเพียงใด จากการศึกษาพบข้อสังเกตเกี่ยวกับการประเมินผลอยู่บางประกา ร คือเนื่องจากความรู้ เป็นสิ่งที่จับต้องยากมีลักษณะเป็นนามธรรม เมื่ อ เร า น า ม าค ว าม รู้ ม าใ ช้ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ งาน ใ ด ๆ ก็ ต า ม จึงยากต่อการวัดผลหรือนับออกมาเป็นค่าทางสถิติให้เห็นชัดเจนได้
  • 9. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า9 ด้ ว ย เห ตุ นี้ จึ ง ท า ใ ห้ ก า ร วั ด ผ ล มี ข้ อ จ า กั ด ต า ม ไ ป ด้ ว ย การประเมินว่าองค์กรของเรามีลักษณะของเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มาก น้อยเพียงใด ผลที่ได้จากก าร เรียน รู้นั้น สัมฤ ท ธิ์ห รือไ ม่ จึงเป็นเรื่องที่ต้องอาศัยเวลาในการพิจารณาดูผลความเปลี่ยนแปลงที่เ กิ ด ขึ้ น ก่ อ น จึงสามารถสรุปได้ว่าโดยทั่วไปการวัดผลที่พอกระทาได้จึงมักจะเน้นไ ปที่กระบวนการในการจัดการว่าได้ดาเนินการไปแล้วมากน้อยเพียงใ ด ห รือวัด ใน เชิงป ริมาณ ข ององค์ความรู้ที่ไ ด้มีก ารถ่ายท อด ขณ ะที่ป ริมาณ ดังกล่าวก็ไม่ได้เป็น เครื่องยืนยันได้เสมอไป ว่า บุ ค ล า ก ร มี ลั ก ษ ณ ะ ข อ งก าร เรี ย น รู้ อ ย่ า งแ ท้ จ ริ งห รื อ ไ ม่ เ รื่ อ ง ที่ วั ด ผ ล ย า ก อี ก ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง คื อ ส่วน ที่เกี่ยวกับ ก ารเงิน ห รือก ารวัดผลสัมฤ ท ธิ์ท างก าร ลงทุ น กล่าวคือเมื่อลงทุนไปแล้ว สิ่งเหล่านี้จะให้ผลตอบแทนกลับมาเท่าไหร่ เป็นต้น 2. องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ ลักษณะขององค์การแห่งการเรียนรู้ตามแนวคิดของปีเตอร์ เซงเก้ (Peter M. Senge) ระบุว่า การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ โดยเน้นการสร้างวินัยของบุคลากรในองค์การ ประกอบด้วย วินัย 5 ประการ สามารถอธิบายได้ดังนี้ (Senge, 2000 : 7 - 8) 1. ก า ร เป็ น บุ ค ค ล ที่ ร อ บ รู้ ( Personal mastery) บุคลากรขององค์การเป็น รากฐานขององค์การแห่งการเรียน รู้ โ ด ย มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ เ รี ย ก ว่ า Human mastery คื อ เ ป็ น บุ ค ค ล ที่ มี ค ว า ม ก ร ะ ตื อ รื อ ร้ น ส น ใ จ แ ล ะ ใ ฝ่ ห า ที่ จ ะ เ รี ย น รู้ อ ยู่ เ ส ม อ ต่ อ เ นื่ อ ง
  • 10. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า10 มี ค ว า ม ป ร าร ถ น า ที่ จ ะ เรีย น รู้ เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ต น มุ่งสู่จุดหมายและความสาเร็จที่กาหนดไว้ 2. ก า ร มี แ บ บ แ ผ น ค ว า ม คิ ด ( Mental models) คือการที่บุคลากรในองค์การรับรู้และเข้าใจงานที่ทาแบบองค์รวม สามาร ถ เชื่อมโยงต าแห น่ งที่ ต น อยู่กั บ ภาพ ร วมทั้ งห มด ไ ด้ เข้ า ใ จ ชั ด เจ น ใ น แ บ บ แ ผ น ค ว า ม คิ ด ค ว า ม เชื่ อ ที่ ดี ส่งผลต่อการตัดสินใจและการกระทาของตนเพื่อพัฒนาความคิดความ เชื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส ภ า พ ก า ร ณ์ ที่ เป ลี่ ย น แ ป ล ง โดยองค์การจะต้องสนับสนุนและสร้างให้คนในองค์การมีการฝึกตนเอ งให้เป็นคนที่ใฝ่เรียนรู้ 3. ก า ร มี วิ สั ย ทั ศ น์ ร่ ว ม กั น ( Shared vision) เป็นการสร้างทัศนะของความร่วมมือกันอย่างยึดมั่นของบุคลากรในอง ค์ ก า ร สร้างความตระหนักและความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของ อ ง ค์ ก า ร ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ย อ ม รั บ ยินยอมพร้อมใจและให้ข้อผูกพันต่อจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานภา ย ใ ต้ จุ ด ห ม า ย เ ดี ย ว กั น เป็นการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกันและมีการสื่อสารให้รับรู้ในทุกระดับเพื่อ ให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ 4. ก า ร เ รี ย น รู้ เ ป็ น ที ม ( Team learning) เ ป็ น ก า ร เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น ข อ ง ส ม า ชิ ก โดยอาศัยความรู้และความคิดของสมาชิกในกลุ่มมาแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น เพื่อพัฒนาความรู้และค วามสามารถของทีมให้เกิดขึ้น จ น เ กิ ด เ ป็ น ค ว า ม คิ ด ร่ ว ม กั น ข อ ง ก ลุ่ ม และกลุ่มควรลดสิ่งที่ก่อให้เกิดอิทธิพลครอบงาแนวความคิดของสมาชิ
  • 11. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า11 ก พร้อมทั้งกระตุ้นให้กลุ่มมีการสนทนาและอภิปรายอย่างกว้างขวางเพื่อ ไปสู่เป้าหมายขององค์การ 5. ก า ร คิ ด อ ย่ า ง เป็ น ร ะ บ บ ( System thinking) เป็นส่วนสาคัญต่อการสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้และนามาซึ่งการพัฒ น า แ บ บ ยั่ ง ยื น ข อ ง อ ง ค์ ก า ร เป็นการมองเห็นความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในรูปแบบที่ไม่หยุดนิ่งและ ไ ม่ ม อ ง แ บ บ แ ย ก ส่ ว น จุ ด ส าคั ญ ข อ ง ค ว า ม คิ ด เชิ งร ะ บ บ ก็ คื อ ข้ อ มู ล ย้ อ น ก ลั บ ก า ร เ รี ย น รู้ จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ล ะ จ า ก ค น อื่ น ๆ ซึ่งการปฏิสัมพันธ์ที่ว่านี้จะเกิดขึ้นทุกส่วนที่ประกอบกันเป็นระบบของอ งค์การ ต่ อ ม า เ ซ ง เ ก้ ( Senge, 2006) ได้ปรับปรุงองค์ประกอบใหม่ที่ส่งผลให้องค์การเป็นองค์การแห่งการเรี ยนรู้ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก คือ ความรอบรู้ของบุคคล ( Personal Mastery) แ บ บ แ ผ น ก า ร คิ ด ( Mental Model) การมีวิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) และก ารเรียนรู้กัน เป็นทีม (Team Learning) ส่วนการคิดอย่างเป็นระบบ (Systems Thinking) ถือเป็น พื้ น ฐาน ที่ สาคัญ ใ น ก าร มององค์ป ร ะก อบ ต่างๆทั้ ง 4 องค์ประกอบอย่างเป็นองค์รวม (wholes) 3. อุปสรรคการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1. เน้นที่การควบคุม
  • 12. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า12 2. คิดเพียงผลในระยะสั้น 3. เน้นที่เป้าหมายใหญ่เพียงอย่างเดียว 4. กดดันให้ทามากขึ้นจากสิ่งที่เหลือน้อย ( งบประมาณน้อยจานวนคนมีจากัด ) 5. ผู้บริหารคิดว่าความคิดสร้างสรรค์มีได้ในบางคนเท่านั้น 4. บรรยากาศที่ดีของการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1. ยอมรับความเสี่ยง 2. มีอิสระ 3. มีการให้รางวัลที่ชัดเจนตามผลงาน 4. มีความอดทนต่อความแตกต่าง 5. ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง 6. ส่งเสริมและริเริ่มให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 5. องค์กรที่พึงปรารถนา 1. มีความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของทีม บางครั้งเหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน 2. ส่งเสริมระบบการติดต่อสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทางานของบุคลากร 3. ลดช่องว่างระหว่างผู้บริหารกับพนักงาน 4. ให้ความสาคัญกับการจัดสภาพแวดล้อมที่ทางาน 5. ส่งเสริมการพัฒนาทักษะและการเรียนรู้ของบุคลากร 6. รูปแบบการขยายผลของความรู้ในองค์กร
  • 13. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า13 Professor Ikujiro Nonaka แ ล ะ Hirotaka Takeuchi ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ แ ล ะ นั ก วิ ช า ก า ร ที่ มี ชื่ อ เ สี ย ง มี ผ ล งา น ท า งด้ าน ก าร บ ริ ห าร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ใ น อ งค์ ก ร ได้เขียนหนังสือชื่อ The Knowledge Creating Company (1995) นาเสนอรูปแบบการขยายผลของความรู้ในองค์กร เรียกว่า SECI- Knowledge Conversion Process หรือ SECI Model 8 ซึ่งมีการนา ไปใช้กันอย่างแพร่หลายจนประสบความสาเร็จในองค์กรชั้นนาต่างๆ โดยรูปแบบการขยายผลของความรู้ในองค์กรประกอบด้วย 6.1 Socialization แสดงถึงการถ่ายโอนความรู้กันโดยตรงระหว่างกลุ่ม หรือบุคคล ที่ มี ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น ค ว า ม ส น ใ จ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั น หรือมีคลื่นความถี่ที่สื่อสารทา ความเข้าใจกันได้โดยง่าย สามารถทา ให้เกิดขึ้นได้ทั้งแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ 6.2 Externalization แสดงให้เห็นการเรียนรู้ แสวงหาสิ่งใหม่ๆ จากภายน อกเพิ่มเข้ามาเพื่อให้ทัน ต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งป ระสบ การ ณ์ ตรงที่สัมผัสกับ ลูก ค้า ผู้ใช้บริการ ผู้ท า ธุ ร กิ จ กั บ อ ง ค์ ก ร เป็นความรู้ที่สาคัญต่อความสามารถในการแข่งขันและดารงอยู่ขององ ค์กร 6.3 Combination เชื่อมโยงความรู้ภายในกับความรู้ภายนอก แ ล้ ว ห า แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ ดี ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ เ ร า ใ น ส่ วน นี้ ผู้ ที่ มี ค ว าม ส าม าร ถ ใ ช้ ภ าษ าใ น ก าร สื่ อ ส าร ที่ ดี จะช่วยสรุปองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้กับองค์กรได้
  • 14. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า14 6.4 Internalization เป็นผลของการเชื่อมโยงแล้วนาเอาความรู้มาปฏิบัติเกิดเป็นความรู้ปร ะสบการณ์และปัญญาฝังอยู่ในตัวคน จนกลายเป็น Tacit Knowledge เพื่อนา ไปถ่ายทอดหมุนเวียนในองค์กรต่อไป การจัดการความรู้ในองค์กร การจัดการความรู้เป็นกิจกรรมที่มีความซับซ้อนและใช้กันอย่าง ก ว้ า ง ข ว า ง การให้ความหมายการจัดการความรู้จึงคลอบคลุมความหมายหลายด้า น กล่าวคือ การจัดการความรู้มีความหมายรวมถึง การรวบรวม ก า ร จั ด ร ะ บ บ ก า ร จั ด เ ก็ บ และการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้ การจัดการความรู้จะเกี่ยวข้ อ ง กั บ ก า ร แ บ่ ง ปั น ค ว า ม รู้ ( Knowledge Sharing) การจัดการความรู้ต้องการผู้ทรงความรู้ความสามารถในการตีความแ ละประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างนวัตกรรม และเป็นผู้นาในองค์กร การจัด การค วามรู้เป็น เรื่องก ารเพิ่มปร ะสิท ธิผลข ององค์ก ร ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ เกิ ด ขึ้ น เพ ร า ะ มี ค ว า ม เชื่ อ ว่ า จะช่วยสร้างความมีชีวิตชีวาและความสาเร็จให้แก่องค์กร การประเมิน “ต้ น ทุ น ท า ง ปั ญ ญ า ” (Intellectual Capital) และผลสาเร็จของการประยุกต์ใช้การจัดการความรู้เป็นดัชนีบอกว่า องค์กรมีการจัดการความรู้อย่างได้ผล ก ล่าวโด ยสรุป ก ารจัด ก ารค วามรู้ใน องค์ก ร ห มายถึ ง การจัดการที่มีกระบวนการและเป็นระบบตั้งแต่การประมวลผลข้อมูล ( Data) ส า ร ส น เ ท ศ ( Information) ค ว า ม คิ ด ( Idea) ตลอดจนประสบการณ์ของบุคคล เพื่อสร้างความรู้ (Knowledge)
  • 15. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า15 และจะต้องมีก าร จัด เก็บ ใน ลักษณ ะที่ผู้ใ ช้สามารถ เข้าถึงไ ด้ โด ยอาศัยช่องทางที่สะด วก เพื่อนาความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร โ อ น ถ่ า ย ค ว า ม รู้ และมีการแพร่กระจายไหลเวียนไปทั้งองค์กร 1. กระบวนการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการความรู้เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เกิดพัฒน าการของความรู้ หรือการจัดการความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กร มี ทั้ ง ห ม ด 7 ขั้ น ต อ น ( ส า นั ก ง า น ก.พ.ร.และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2549) ดังนี้ 1.1 การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจาเป็นต้องใช้อะไร ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร 1.2 การสร้างและแสวงหาความรู้ เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ จ า ก ภ า ย น อ ก รั ก ษ า ค ว า ม รู้ เก่ า กาจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว 1.3 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในอนาคต 1.4 ก า ร ป ร ะ ม ว ล แ ล ะ ก ลั่ น ก ร อ ง ค ว า ม รู้ เช่ น ปรับป รุงรูป แบบ เอก สารให้เป็น มาต รฐาน ใ ช้ภาษ าเดียวกัน ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์ 1.5 การเข้าถึงความรู้ เป็นการทาให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการไ ด้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Web board บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
  • 16. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า16 1.6 ก าร แบ่งปัน แลก เป ลี่ยน ค วามรู้ ทาได้หลายวิธีการ โ ด ย ก ร ณี ที่ เป็ น ค ว า ม รู้ ชั ด แ จ้ ง ( Explicit Knowledge) อาจ จัด ท าเป็น เอก สาร ฐาน ค วามรู้ เท ค โน โลยีสาร สน เท ศ ห รื อ ก ร ณี ที่ เ ป็ น ค ว า ม รู้ ฝั ง ลึ ก ( Tacit Knowledge) จัดทาเป็นระบบทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น 1.7 การเรียนรู้ ควรทาให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น เกิดระบบการเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การนาความรู้ในไปใช้ เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ ห ม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
  • 17. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า17 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับองค์กรแห่งการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือไอซีที (Information and communication Technology) ห ม า ย ถึ ง เท ค โ น โ ล ยี ที่ เกี่ ย ว กั บ ก า ร น า ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ร ะ บ บ สื่อ ส าร โท ร ค ม น า ค ม แ ล ะ ค ว าม รู้ อื่น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง มาผน วก เข้าด้วยกัน เพื่ อใ ช้ใ น ก ร ะบ วน ก าร จัด ห า จัด เก็ บ ส ร้ า ง แ ล ะ เ ผ ย แ พ ร่ ส า ร ส น เ ท ศ ใ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นอาจกล่าวได้ว่าประกอบขึ้นจากเทคโน โ ล ยี ส อ ง ส า ข า ห ลั ก คื อ เ ท ค โ น โ ล ยี ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ก ล่ าว ไ ด้ ว่ า เท ค โ น โ ล ยี ส าร ส น เท ศ แ ล ะ ก าร สื่ อ ส า ร เป็นปัจจัยสาคัญตัวหนึ่งที่เอื้อให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จ (ส ถ า บั น เ พิ่ ม ผ ล ผ ลิ ต แ ห่ ง ช า ติ , 2547) ความก้าวห น้าทางด้าน เทค โนโลยีสารสน เท ศและการสื่อสาร โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตเป็นแรงผลักดันสาคัญที่ช่วยให้ การแลกเปลี่ยนความรู้สามารถทาได้ง่ายขึ้นนอกจากนี้ระบบฐานข้อมู ลที่ทันสมัยก็มีส่วนช่วยให้การจัดการความรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ส ม ช า ย น า ป ร ะ เ ส ริ ฐ ชั ย (2549) ได้จาแนกเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เกี่ยวของและมีบทบ าทในการจัดการความรูออกเป็น 3 รูปแบบ คือ เท ค โน โลยีการสื่อสาร (Communication Technology) ช่วยให้บุคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ต่างๆ ได้ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น รวมทั้งสามาร ถ ติด ต่อสื่อสาร กับ ผู้เชี่ยวช าญ ใน สาข าต่างๆ ค้ น ห า ข้ อ มู ล สารสนเทศและความรู้ที่ต้องการได้ผ่านทางเครือข่ายอินทราเน็ต เอ็กซ์ตราเน็ตหรืออินเทอร์เน็ต
  • 18. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า18 เท คโนโลยีสนับสนุนการ ทางาน ร่วมกัน (Collaboration Technology) ช่วยให้สามารถ ป ร ะสาน ก ารท างาน ได้อย่างมีป ระสิท ธิภาพ ลดอุปสรรคในเรื่องของระยะทาง ตัวอย่างเช่น โปรแกรมกลุ่ม groupware ต่างๆ หรือระบบ Screen Sharing เป็นต้น เท ค โ น โ ล ยี ใ น ก า ร จั ด เ ก็ บ (Storage technology) ช่วยในการจัดเก็บและจัดการความรู้ต่างๆ จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีที่นามาใช้ในการจัดการความรู้ขององค์กรนั้น ประกอบด้วยเทคโนโลยีที่สามารถครอบคลุมกระบวนการต่างๆ ในการจัดการความรู้ได้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ดังนั้นไอซีทีจึงมีบทบาทสาคัญในเรื่องของการจัดการความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอินเทอร์เน็ตที่เป็นเทคโนโลยีที่เชื่อมคนทั่วโลกเข้า ด้วยกันทาให้กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ (knowledge Transfer) ทาได้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งไอซีทียังช่วยให้การนาเสนอสามารถเลือกได้หลายรูปแบบเช่นตั วอักษร รูปภาพ แอนนิเมชั่น เสียง วิดีโอ ซึ่งช่วยให้การเรียนรู้ ทาได้ง่ายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ไอซีทียังช่วยในการจัดเก็บและดูแลปรับปรุงความรู้และสารสนเทศต่า งๆ (knowledge storage and maintenance) อีกทั้งช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินการในกระบวนการจัดการความ รู้ด้วย จึงนับได้ว่าไอซีทีเป็น เครื่องมือสนับสนุนและเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการจัดการความ รู้
  • 19. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า19 ตัวอย่างขององค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ประสบความสาเร็จ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือในการจัดการความรู้ ยัมแบรนด์อิงค์Pizza Hut and KFC ยัมแบรนด์ อิงค์ เป็นบริษัทอาหารฟาสต์ฟู๊ดที่ใหญ่ที่สุดในโลกในปี ค.ศ. 2004 บริษัทมีร้าน เคเอฟซี (KFC) พิซซ่า ฮัท (Pizza Hut) ทาโก้ เบล (Taco Bell) ล อ ง จ อ ห์ น ซิ ล เว อ ร์ (Long John Silver’s) แ ล ะ ภัตตาคารเอแอนด์ดับบลิว (A&W restaurants) รวมกันมากกว่า 33,000 แ ห่ ง ทั่ ว โ ล ก ยัมแบนด์เป็นผู้นาตลาดฟาสต์ฟู๊ดของอเมริกาในส่วนของอาหารประเภ ท ไ ก่ พิ ซ ซ่ า อ า ห า ร เม็ ก ซิ กั น แ ล ะ อ า ห า ร ท ะ เ ล บริษัทยังมีภัตตาคารมากกว่า 12,000 แห่งนอกประเทศสหรัฐอเมริกา เค เ อ ฟ ซี แ ล ะ พิ ซ ซ่ า ฮั ท มี สั ด ส่ ว น ถึ ง ร้ อ ย ล ะ 96 ของฐานด้านภัตตาคารต่างประเทศใน 116 ประเทศ ในช่วงยุค 1950 แ ล ะ 1960 เ ค เ อ ฟ ซี แ ล ะ พิ ซ ซ่ า ฮั ท เป็นตราสินค้าที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในบรรดาสาขาฟาสต์ฟู๊ดในต่างปร ะ เ ท ศ ใ น ช่ ว ง ยุ ค 1990 ทั้งสองแบรนด์ยังคงขยายตัวต่อเนื่องและเติบโตผ่านการไปเปิดสาขาใ น ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ ม า ก ที่ สุ ด แ ต่ ยั ม แ บ ร น ด์ อิงค์ตระหนักว่าประเทศแต่ละประเทศที่ไปเปิดสาขาสามารถสร้างผล กาไรให้แก่องค์กรในอัตราที่แตกต่างกันไป ดั ง นั้ น ใ น ปี ค .ศ . 2004 บริษัทจึงเริ่มให้ความสาคัญมากขึ้นกับบริหารพอร์ตในแต่ละประเทศ บริษัทเริ่มเน้นกลยุทธ์ธุรกิจระหว่างประเทศโดยเน้นการพัฒนาและเพิ่ ม ส่ ว น แ บ่ ง ท า ง ก า ร ต ล า ด เ พี ย ง บ า ง ป ร ะ เ ท ศ โดยเลือกเน้นเฉพาะประเทศที่มีอัตราการเติบโตของตลาดที่สูง อาทิ
  • 20. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า20 ญี่ปุ่น แค นาด า อังกฤ ษ จีน ออสเต รเลีย เกาหลี และเม็กซิโก บริษัทยังต้องการมีตาแหน่งในตลาดที่มั่นคงในกลุ่มประเทศยุโรป บ ร า ซิ ล แ ล ะ อิ น เ ดี ย ซึ่งในกลุ่มประเทศเหล่านี้ผู้บริโภคยังรู้จักแบรนด์ของบริษัทไม่มากนัก แ ล ะ ทั้ ง เ ค เ อ ฟ ซี แ ล ะ พิ ซ ซ่ า ฮั ท ยังมีสถานการณ์ดาเนิน งานที่ไม่แข็งแรงนักใน ประเทศเหล่านี้ บริษัทมองว่าจีนและอินเดียเป็นตลาดที่น่าสนใจเนื่องจากเป็นประเทศ ที่ มี จ า น ว น ป ร ะ ช า ก ร สู ง ส่วนประเทศกลุ่มลาตินอเมริกาก็เป็นอีกกลุ่มประเทศที่น่าสนใจเนื่องจา กกลุ่มประเทศนี้มีความคล้ายคลึงกับประเทศอเมริกาค่อนข้างมากทั้งใ น ด้ า น ภ า ษ า วั ฒ น ธ ร ร ม รวมถึงการผลกระทบที่เกิดจากเขตการค้าเสรีซึ่งทาให้กาแพงการค้าร ะหว่างอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้หมดไปก็จะส่งผลดีต่อบริษัท ความท้าทายที่เป็นโจทย์ระยะยาวสาหรับบริษัทคือการสร้างควา มแข็งแกร่งให้กับตาแหน่งของตนเองในตลาดต่างประเทศที่เป็นประเท ศ ห ลั ก ๆ ดั ง ที่ ก ล่ า ว ม า แ ล้ ว แ ต่ ใ น ข ณ ะ เดี ย วกั น ก็ ต้ อ ง พ ย าย า ม พั ฒ น า ต ล า ด ใ ห ม่ ๆ ที่ผู้บริโภคยังไม่ค่อยรู้จักแบรนด์ของบริษัทหรือในตลาดที่บริษัทยังมีจุ ดอ่อนในการดาเนินงานอยู่ ประวัติที่น่าสนใจ เคนตั๊กกี้ ฟรายด์ ชิกเก้น (Kentucky Fried Chicken Corp.)
  • 21. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า21 ใ น ช่ ว ง ปี ค .ศ . 1952 แฟรนไชส์อาหารฟาสต์ฟู๊ดยังอยู่ในยุคบุกเบิกและเริ่มต้น ฮาร์แลนด์ แ ซ น เ ด อ ร์ (Harland Sanders) เริ่มเดินทางทั่วสหรัฐอเมริกาเพื่อพูดคุยกับกลุ่มลูกค้าที่ศักยภาพจะเป็น ผู้ซื้อแฟรนไชส์ของ “ไก่เค เอฟ ซีสูตรผู้พันแซนเดอร์” ในปี ค.ศ. 1960 ผู้ พั น แ ซ น เด อ ร์ ข า ย แ ฟ ร น ไ ช ส์ ข อ ง เ ค เ อ ฟ ซี ป ร ะ เภ ท ร้า น ค้ าป ลี ก ข าย แบ บ น าก ลั บ บ้ าน (take-home) รวมถึงประเภทที่เป็นภัตตาคารได้มากกว่า 200 แห่งทั่วสหรัฐอเมริกา ในอีก 4 ปีต่อมาเมื่อผู้พันแซนเดอร์มีอายุ 74 ปีเขาได้ขาย เค เอฟ ซี ให้กับนัก ธุรกิจ 2 ค นจากหลุยส์วิล (Louisville) ไปเป็น มูลค่า 2 ล้ า น เ ห รี ย ญ ส ห รั ฐ ใ น ปี ค .ศ . 1966 เ ค เ อ ฟ ซี เปลี่ยนเป็นบริษัทมหาชนและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งนิวย อร์ค (New York Stock Exchange) ต่อ ม าใ น ปี ค .ศ . 1971 บ ริษั ท ฮิ วเบ ร น (Heublein, Inc.) ผู้จัดจาหน่ายไวน์และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ติดต่อเจรจากับ เค เอฟ ซี ได้สาฎเร็จในการรวมเค เอฟ ซี เข้าเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของบริษัท อี ก 11 ปี ต่ อ ม า อ า ร์ . เจ . เร ย์ โ น ล ด์ อิ น ดั ส ต รี (RJR – บ ริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต แ ล ะ จ า ห น่ า ย บุ ห รี่ ) เข้าซื้อหุ้น บริษัท ฮิวเบ รนและรวมเข้าเป็น ส่วนห นึ่งข องบริษัท การรวมบริษัท ฮิวเบรนนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ของอาร์ เจ อาร์ ในการขยายกิจการเข้าสู่ธุรกิจที่หลากหลาย เช่น พลังงาน การขนส่ง อาหารและภัตตาคาร ทั้งนี้เพื่อกระจายความเสี่ยงจากธุรกิจยาสูบ นอกจากนี้ในปี ค.ศ. 1985 อาร์ เจ อาร์ ยังได้ซื้อหุ้นบริษัท นาบิสโก (Nabisco Corporation) โดยมีเป้าหมายที่จะต้องการนากลุ่มบริษัทขึ้นสู่ความเป็นผู้นาโลกในอุ ตสาหกรรมอาหาร ผลสืบเนื่องจากกลยุทธ์ดังกล่าวทาให้กลุ่มบริษัท อ า ร์ เ จ อ า ร์
  • 22. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า22 ปรับกลยุทธ์ใหม่โดยไปมุ่งเน้นด้านอาหารแปรรูปและตัดสินใจที่จะออ กจากธุรกิจด้านภัตตาคารไป กลุ่มบริษัทนี้จึงขาย เค เอฟ ซี ให้กับ บริษัท เป๊ปซี่โค (PepsiCo, Inc.) ในปีต่อมา พิซซ่า ฮัท (Pizza Hut) ในปี ค.ศ. 1958 นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยวิชิตา (Wichita State University) 2 ท่าน คือ แฟ ร งก์ และ ค าร์นีย์ (Frank and Carney) ตัดสินใจเปิดร้านพิซซ่าภายในอาคารเก่าในย่านธุรกิจของตัวเมืองวิชิ ต า โ ด ย ทั้ ง ส อ ง ท่ า น กู้ ยื ม เ งิ น จ า น ว น 500 เหรียญสหรัฐจากมารดาของตนมาเพื่อเปิดร้านและตั้งชื่อว่า “พิซซ่า ฮัท ” อีก 2 ปีต่อมาทั้งสองเปิด สาข าข องร้าน เพิ่มอีก 4 สาข า แ น ว คิ ด ข อ ง พิ ซ ซ่ า ฮั ท ได้รับการตอบรับอย่างดีจากผู้บริโภคทาให้ทั้งสองเริ่มมีการขายแฟรน ไชส์ของภัตตาคาร จนถึงปี ค.ศ. 1972 พิซซ่า ฮัท มีภัตตาคารรวมถึง 1,000 แ ห่ ง และบริษัทได้ทาการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งนิวยอร์ก พิ ซ ซ่ า ฮั ท ใ ช้ เ ว ล า ไ ม่ ถึ ง 15 ปี ในการขึ้นมาเป็นผู้นาทั้งด้านยอดขายและปริมาณการขายในธุรกิจร้า น พิ ซ ซ่ า ใ น แ ง่ ข อ ง ธุ ร กิ จ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เท ศ พิ ซ ซ่ า ฮั ท ไ ด้ เปิ ด ร้ า น พิ ซ ซ่ า ใ น ป ร ะ เท ศ แ ค น า ด า ใ น ปี ค .ศ . 1968 และในไม่ช้าก็มีการขายแฟรนไชส์ไปสู่ประเทศเม็กซิโก เยอรมัน อ อ ส เต ร เลี ย ค อ ส ต าริ ก้ า ญี่ ปุ่ น แ ล ะ อั ง ก ฤ ษ ใ น ปี 1977 บ ริ ษั ท ข า ย กิ จ ก า ร ใ ห้ กั บ บ ริ ษั ท เ ป๊ ป ซี่ โ ค แต่สานักงานใหญ่ยังคงตั้งอยู่ในเมืองวิชิตาเช่นเดิม โดยแฟรงก์ และ คาร์นีย์ดารงตาแหน่งประธานบริษัทต่อมาจนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1980
  • 23. รายวิชา 201 705 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับองค์การแห่งการเรียนรู้ หน้า23 (สิ่ ง ที่ น่ า ส น ใ จ เ พิ่ ม เ ติ ม คื อ ใ น ปี ค .ศ . 1984 แฟรงก์ได้เป็นผู้ก่อตั้งแฟรนไชส์ร้านพิซซ่าใหม่ ในชื่อ “ปาป้า จอห์น พิ ซ ซ่ า (Papa John’s Pizza) และจนทุกวันนี้แฟรงก์ยังคงเป็นหนึ่งในเจ้าของร้านพิซซ่าแฟรนไชส์ส าขาใหญ่ที่สุดของยี่ห้อนี้อยู่) บรรณานุกรมและแหล่งอ้างอิง พนม เพชรจตุพร, ดร. ทวิกา ตั้งประภา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร. [ออนไลน์]. www.msit2005.mut.ac.th/.../20120227232618Yr.pdf. วีรพงษ์ ไชยหงษ์. องค์การแห่งการเรียนรู้ [ออนไลน์]. (10 กันยายน 2556). www.weerapong.net › Article. องค์กรแห่งการเรียนรู้. [ออนไลน์]. www.slideshare.net/looktao/ss-presentation-563398 องค์กรแห่งการเรียนรู้. ระบบจัดการฐานความรู้ [ออนไลน์]. [อ้างถึง 19 ธันวาคม 2556] เข้าถึงได้จาก อินเตอร์เน็ตเข้าถึงได้จากอินเตอร์เน็ต: http://www.wasant.org/knowledge/tutor/km7.php