SlideShare a Scribd company logo
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ 
ผู้จัดทำ 
1.นำงสำวจริยำ เจิดแจ่มจรัส เลขที่17 ม.6.7 
2.นำงสำวอรอนงค์ เฉิน เลขที่29 ม.6.7 
วิชำสังคมศึกษำ 
อ.ปรำงค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล
1.ระยะต้น 
DARK AGES
FRANK 
• ตงั้ถิ่นฐานที่ฝรัง่เศสและเบลเยียม เป็นผูร้วมดินแดนยุโรปตะวันตกรวมเป็นจักรวรรดิเดียว 
OSTROGOTH 
• ตงั้อาณาจักรที่อิตาลี ถูกปราบปรามโดยไบแซนไทม์ใน ค.ศ.554 
LOMBARD 
• ตงั้ถิ่นฐานที่อิตาลีใน ค.ศ.568 
ANGLO SAXSON 
• ตงั้อาณาจักรในเกาะอังกฤษ 
BURGUNDIAN 
• ตงั้อาณาจักรภายใตฝ้รัง่เศส แถบลุ่มน้า โรน 
VISIGOTH 
• ตงั้อาณาในสเปน รุกรานโดยอาหรับใน ค.ศ.711 
VANDAL 
• ตงั้อาณาจักรในภาคเหนือของแอฟริกา
คริสต์ศตวรรษที่7 อาณาจักรของชนเผ่าต่างๆก็ล่มสลาย เหลือเพียง 
FRANK 
• ตงั้ถิ่นฐานที่ฝรัง่เศส 
ANGLO SAXSON 
• ตงั้อาณาจักรในเกาะอังกฤษ 
ภายหลังตอนช่วงปลายคริสต์ศวรรษที่7 ชนเผ่า Frank ได้ผนวก 
ดินแดนต่างๆเข้ารวมเป็นอาณาจักรของตนเองและมีอาณาเขตกว้างขวางสุด 
ในสมัยจักรพรรดิชาร์เลอมาญ
แต่หลังจาก จักรพรรดิชาร์เลอมาญ สิ้นพระชนม์จักรวรรดิก็ถูกแบ่งเป็นสาม 
ส่วนคือ อาณาจักรฝรัง่เศส 
จักรวรรดิเยอรมัน 
อิตาลี 
และ ขุนนางมีอา นาจมากขึ้นแบ่งแยกดินแดนออกเป็นแคว้นต่างๆนาไปสู่ 
การปกครองแบบฟิวดัล
1.ระยะต้น 
เศรษฐกิจ 
ชนเผ่าเยอรมันเปลี่ยนวิถีเป็นแบบเกษตรกรรมระบบนาโล่ง 
พืชที่ปลูกส่วนใหญ่คือ ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต ข้างบาร์เลย์ 
บา รุงโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยการ สร้างสะพาน ขุดคลอง 
จัดระบบการพาณิชย์ กา หนดมาตราชั่ง ตวง วัด ผลิตเงินตรา 
ภายหลัง ระบบฟิวดัล เข้ามาครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ 
ปกครองของยุโรปสมัยกลาง
Feudalism 
• Feudal มาจากภาษาลาตินว่า Feudum ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Fief แปลว่า 
ที่ดินเนื้อที่หน่งึ 
• ระบบฟิวดัลเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง 
– Lord (เจา้นาย) กับVassal (ผูพ้ึ่ง) เป็นระบบการกระจายอา นาจออกจากศูนย์กลาง 
กษัตริย์ไปยังขุนนางแควน้ต่างๆ ขุนนางต่างมีกองทัพของตนเอง 
• หนา้ที่ของ Lord คือพิทักษ์รักษาVassalและที่ดินของ Vassalจากศัตรูและให้ 
ความยุติธรรม ปกป้องคมุ้ครองในการพิจารณาคดี
1.ระยะต้น 
สังคม 
สภาพสังคมตอนตน้ว่นุวาย ตกตา่ ผูค้นทัว่ไปอ่านเขียนไม่ได้ยกเวน้พระและนักบวช 
สถาบันคริสต์ศาสนาซึ่งมีสันตะปาปาเป็นประมุขเป็นผูก้า หนดนโยบายทุกอย่าง เมื่อ 
จักรวรรดิโรมันสิ้นสุด ศาสนจักรไดร้่วมมือกับกษัตริย์ของอารยชน ทา ใหรั้กษาความ 
ปลอดภัยไวไ้ด้ 
ศาสนจักรจึงเป็นผูยึ้ดเหนี่ยวประชาชนยุโรปไวแ้ละรักษาวัฒนธรรมความเจริญต่างๆ 
สืบมา
ระยะกลาง 
เป็นระยะแห่งการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากสังคม 
ตะวันตกมีประชากรเพิ่มขึ้น คริสตศาสนาและ 
ระบบฟิวดัลมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด และเริ่ม 
มีพัฒนาการหลายดา้น
การเมือง ► ความขัดแย้งระหว่างคริสตจักรกับจักรวรรดิ 
จักรวรรดิแฟรงก์ล่มสลายในช่วง 
คริสต์ศตวรรษที่ 9 ดินแดนจักรวรรดิได้ 
แบ่งแยกออกเป็น ฝรั่งเศส เยอรมัน 
และอิตาลี 
ดิน แ ด น เ ย อ ร มัน มีจัก ร พ ร ร ดิ 
ปกครอง แต่ไม่มีอา นาจนัก ทงั้จกัรพรรดิ 
และสันตะปาปา ต่างอ้างอานาจในการ 
ปกครองร่วมกันในจักรวรรดิ จนกระทัง่ 
ไดมี้การปฏิรูปอา นาจของศาสนจักรใหมี้ 
อา นาจสูงสุด จักรพรรดิเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ 
อา นาจคริสตจักร
การต่อสูดั้งกล่าวทา ใหขุ้นนางแต่ละแควน้มีอา นาจมากขึ้น ทา ใหร้ะบบฟิวดัลมี 
ความแข็งแกร่งมากขึ้น 
ในอังกฤษเกิดความขัดแยง้ระหว่างขุนนาง ในที่สุดพระมหากษัตริย์ตอ้งยอม 
จา นนต่อคณะขุนนาง ต่อมาคณะขุนนางและพระไดก้ลายมาเป็นสมาชิกรัฐสภาของ 
อังกฤษ ส่วนฝรั่งเศสกษัตริย์กลับมามีอา นาจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนมีอา นาจในการ 
ปกครองเบ็ดเสร็จ และกลายมาเป็นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในที่สุด
การเมือง ► ระบบฟิวดัลเจริญรุ่งเรืองสูงสุด 
ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 9-10 
พวกอนารยชนจากสแกนดิเนเวียที่ 
เรียกว่า พวกไวกิ้ง ได้เข้ารุกราน 
จักรวรรดิของแฟรงก์ ซึ่งการป้องกันภัย 
เป็นหน้าที่ของขุนนางทอ้งถิ่นหรือเจา้ของ 
ที่ดิน รวบรวมผู้คนตามหมู่บ้านมาฝึก 
อาวุธ ทา ใหขุ้นนางทอ้งถิ่นสามารถสร้าง 
อิทธิพลของตนเองและเริ่มมีอานาจ 
ต่อรองกับกษัตริย์
เศรษฐกิจ 
ระยะแรกการค้าซบเซา 
เนื่องจากระบบฟิวดัลแต่ละ 
แมนเนอร์มีระบบเศรษฐกิจที่ 
พึ่งตนเองได้ 
►การดา เนินชีวิตในคฤหาสน์ที่ 
มีที่ดินลอ้มรอบของขุนนางในยุค 
กลาง
แต่เมื่อเกิดสงครามครูเสด 
ผู้คนออกไปสู่โลกภายนอก ทา 
ให้เกิดความต้องการสินค้า 
ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิจ เ ริ่ม มีก า ร 
ขยายตัวอีกครงั้ พ่อคา้เริ่มติดต่อ 
คา้ขายระหว่างประเทศ 
มกีารตงั้ศูนย์การค้าในหัวเมืองท้องถิ่น การค้า 
ทางทะเลเจริญรุ่งเรืองขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะใน 
เขตทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งเมื่อ 
พวกนี้มีฐานะทางการเงินมัง่คั่งขึ้นก็ได้มีส่วน 
สนับสนุนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เพื่อ 
คุม้ครองกิจการทางเศรษฐกิจของตนเอง
สังคม 
การขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ยุติลง 
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13-14 เนื่องจากเกิด 
สงครามร้อยปีการแพร่ระบาดของกาฬโรค 
ทา ใหเ้ขตเมืองไดเ้สื่อมลง
หลังจากคริสต์ศตวรรษ 11 เป็นตน้มา การขยายตัวทางการคา้และ 
อุตสาหกรรมเจริญรุ่งเรืองขึ้น ทา ใหเ้ริ่มเกิดชุมชนเมืองขึ้นและทา ใหร้ะบบ 
ฟิวดัลเริ่มเสื่อมอา นาจลง 
ในช่วงเวลานี้ คริสต์ศาสนาไดเ้จริญรุ่งเรืองสูงสุด แต่ในช่วงปลาย 
คริสตวรรษที่ 13 สถาบันศาสนาเริ่มเสื่อมลง
ระยะปลาย 
เป็นระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงไปสู่ 
ความสมัยใหม่ ศาสนาถูกลดอา นาจลง 
ความคิดแบบมนุษยนิยมเริ่มเขา้มามีบทบาท 
ในทัศนคติและความคิดของคนในสังคม
การเมือง ► ความเสื่อมของจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิ 
การแข่งขันกันของจักรวรรดิเยอรมันแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิกับ 
สันตะปาปาแห่งคริสตจักรเป็นไปอย่างรุนแรง 
สันตะปาปา ทร งมีความเ ชื่อ ว่า 
คริสตจักรมีอานาจเหนือฝ่ายอาณาจักร 
และทรงสนับสนุนใหเ้กิดสงครามการเมือง 
ในเยอรมันขึ้นเพื่อทา ลายอา นาจจักรพรรดิ 
ผลก็คือ จักรพรรดิกลายเป็นตา แหน่งที่ไม่ 
มีอา นาจ ดินแดนเยอรมันและอิตาลีแยก 
เป็นรัฐเล็กรัฐนอ้ยไม่สามารถรวมตัวกันได้
การเมือง ► การเกิดรัฐชาติ 
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 อา นาจของสถาบันกษัตริย์ในยุโรปตะวันตกตกต่า ลง 
เนื่องจากขุนนางไม่ยอมอยู่ใตอ้า นาจ ขณะเดียวกันกษัตริย์ก็หันไปพึ่งพาพวกพ่อคา้มาก 
ขึ้น ระบบฟิวดัลเสื่อมสลายไป และเมื่อเกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ ชาติก็เกิดความ 
แตกแยก เกิดสงครามระหว่างขุนนาง ประกอบกับเกิดสงครามร้อยปีในช่วง 
คริสต์ศตวรรษที่ 14 -15 จึงทา ใหขุ้นนางเสื่อมอา นาจลงอย่างรวดเร็ว เปิดโอกาสให้ 
กษัตริย์สามารถรวบรวมอา นาจและก่อตังรัฐชาติขึ้นมาไดใ้นเวลาต่อมา เกิดเป็นรัฐชาติ 
ภายใตก้ารนา ของกษัตริย์
เศรษฐกิจ ► ช่วงคริสต์ศตวรรษที่14 
เป็นช่วงเวลาของความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจของยุโรป โดยมีสาเหตุมาจากสภาวะ 
สงครามและเกิดกาฬโรคระบาดครงั้ใหญ่ในทวีปยุโรป ซึ่งส่งผลกระทบให้ขาดแคลน 
แรงงานอย่างรุนแรง 
เศรษฐกิจ ► ช่วงคริสต์ศตวรรษที่15 
ระบบเศรษฐกิจไดก้ลับมาเจริญรุ่งเรืองอีกครงั้หนึ่ง เกิดกลุ่มนายทุนซึ่งลงทุนในธุรกิจ 
ต่างๆในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชาวยุโรปคน้พบดินแดนใหม่ๆ ซึ่งเหมาะแก่การตงั้ 
ถิ่นฐานและเป็นแหล่งวัตถุดิบ ทา ใหช้าวยุโรปอพยพไปยังดินแดนใหม่พร้อมยึดครองเป็น 
สถานีการคา้
สังคม 
1. สังคมระบบฟิวดัลเสื่อมสลายลง 
ขุนนางสูญเสียกาลังคนและกาลังทรัพย์ในการรบ อา นาจของขุนนางลดลง 
สถาบันกษัตริย์มีอา นาจขึ้นมาแทน ซึ่งจะนา ไปสู่ระบอบราชาธิปไตยยุคใหม่ 
2.ชนชั้นกลางขึ้นมามีอา นาจแทนที่ชนชั้นขุนนาง 
เนื่องจากสังคมเปลี่ยนค่านิยมจากเรื่องชาติกา เนิดเป็นฐานะทางเศรษฐกิจของ 
แต่ละบุคคล 
3.เกิดขบวนการนักวิชาการสายมนุษยนิยมที่สนในศึกษาอารยธรรมกรีกและโรมัน 
นักวิชาการพยายามแยกความคิดทางศาสนาจากการศึกษาของตนเอง
เหตุกำรณ์สำ คัญในยุโรปสมัยกลำง
สงครำมครูเสด 
Crusade 
สงครามระหว่าง 
คริสต์ศาสนากับ 
ศาสนาอิสลาม 
เกิดขนึ้ในระหว่าง 
ค.ศ. 1096-1291 
ยุติลงใน 
ค.ศ. 1291
สำเหตุของสงครำม 
สำเหตุทำงด้ำนกำรเมือง 
เกิดกำรเปลี่ยนแปลงในจักรวรรดิ 
อำหรับ เมื่อพวกเซลจุกเติร์กมีอำนำจใ น 
จักรวรรดิอำหรับซึ่งเป็นจักรวรรดิอิสลำม ค.ศ. 
1071 พวกเซลจุกเติร์กยึดครองคำบสมุทรตุรกี 
ไว้ได้ทั้งหมด รุกรำนจักรวรรดิไบแซนไทน์ 
ไ บ แ ซ น ไ ท น์ข อ ค ว ำ ม ช่ว ย เ ห ลือ ไ ป ยัง 
คริสตจักรที่กรุงโรม สันตะปำปำเออร์บันที่ 2 
ให้ไปช่วยไบแซนไทน์รบกับพวกเซลจุกเติร์ก
สาเหตุทางด้านศาสนา 
เซลจุกเติร์กเข้ำมำมีอำ นำจในดินแดนตะวันออกได้ปิดกั้นดินแดนกรุงเยรูซำเลม 
ไม่ให้ชำวคริสต์ ไปแสวงบุญ ทำรุณกรรมกับชำวคริสต์ สันตะปำปำจึงใช้สำเหตุ 
ดังกล่ำวชักชวนชำวคริสต์ให้ไปทำ สงครำมศักด์ิสิทธ์ิ โดยมีเหตุสำคัญ คือกำร 
ปลดปล่อยกรุงเยรูซำเลมจำกพวกนอกศำสนำ ประชำชนสำมัญพำกันเดินทำงไป 
จักรวรรดิไบแซนไทน์และดินแดนปำเลสไตน์
ส่วนการที่ชาวยุโรปตื่นตัวเข้าร่วมในสงคราม 
ครูเสดก็เนื่องจากเหตุผลหลายประการด้วยกัน 
ได้แก่ 
 ชำวยุโรปสมัยกลำงมีควำมศรัทธำในศำสนำ 
อย่ำงแรงกล้ำเพื่อปลดเปลื้องตนเองทำงจิต 
วิญญำณ 
 บุคคลที่ไม่มีที่ดินในยุโรปต้องกำรจะ 
ครอบครองที่ดินในดินแดนตะวันออกกลำง 
 เสี่ยงโชคและผจญภัย 
 พ่อค้ำชำวอิตำลีต้องกำรขยำยขอบข่ำยกำร 
ค้ำขำยไปยังดินแดนทำงตะวันออกภำยใต้ 
กำรคุ้มครองของพวกคริสต์ 
 แข่งขันทำงอำ นำจระหว่ำงกษัตริย์กับขุนนำง 
นักรบที่ร่วมในสงครามจะเย็บ 
เครื่องหมายกางเขนที่ทาด้วย 
ผ้าติดไว้บนเสือ้ผ้าของตน จึง 
ถูกเรียกว่า “crusader” 
ซึ่งมีความหมายว่า “ผู้ที่ติด 
เครื่องหมายกางเขน” และเป็น 
ที่มาของชื่อสงครามครูเสด
ผลกระทบของสงครามครูเสด 
• ระบบฟิวดัลเสื่อมลง สถำบันกษัตริย์จึงแข็งแกร่งขึ้น 
• กำรค้ำขยำยตัวไปทั่วทั้งดินแดนภำคตะวันตกและดินแดนภำคตะวันออก สินค้ำ 
จำกภำคตะวันออกได้เข้ำไปแพร่หลำยในยุโรป เช่น ผ้ำไหม เครื่องเทศ 
• เมืองต่ำงๆกำรเป็นศูนย์กำรค้ำ เช่น นครรัฐในอิตำลี 
• กำรค้ำขยำยตัว กำรซื้อขำยใช้ระบบเงินตรำแทนที่กำรแลกเปลี่ยนสินค้ำ 
• ผู้นำ ของกองทัพครูเสดได้นำ เอำอำรยธรรมกรีก-โรมัน กลับเข้ำมำเผยแพร่ ใน 
ยุโรปอีกครั้ง
สงครำมระหว่ำง 
อังกฤษกับฝรั่งเศส 
เริ่มขึ้นใน ค.ศ. 1337 และ 
สิ้นสุดสงครำมใน ค.ศ.1453 มี 
ระยะกว่ำ 100 ปี 
ต้นกำเนิดของควำมเป็นรัฐ 
ชำติสมัยใหม่ 
สงครำมร้อยปี 
เปลี่ยนรูปแบบทำง 
กำรเมืองและสังคม 
Hundred Years’ War
สำเหตุของสงครำม 
1. วิลเลียม ดุ๊ก แห่งแคว้นนอร์มองดี เป็นข้ำติดที่ดินของกษัตริย์ฝรั่งเศส ยึดครองและสถำปนำ 
พระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์อังกฤษ กษัตริย์อังกฤษก็มีที่ดินในประเทศฝรั่งเศสเป็นจำ นวนมำก 
ฝรั่งเศสก็พยำยำมแย่งชิงดินแดนดังกล่ำวกลับคืนมำ 
2. สิทธิในรำชบัลลังก์ฝรั่งเศส พระเจ้ำเอดเวิร์ดที่ 3 ทรงอ้ำงสิทธ์ิในรำชบัลลังค์ฝรั่งเศส 
3. อังกฤษต้องกำรผนวกสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ได้รับกำรสนับสนุนจำกฝรั่งเศส 
4. ควำมขัดแย้งทำงด้ำนเศรษฐกิจ 
5. ประสบปัญหำกำรขยำยอำ นำจของขุนนำง ใช้สงครำมระหว่ำงประเทศดึงควำมสนใจของขุน 
นำงและประชำชน
• ฝรั่งเศสต้องเผชิญปัญหำควำมขัดแย้งภำยใน ฝ่ำยต่อต้ำนอังกฤษกับฝ่ำยนิยมอังกฤษ 
อังกฤษเป็นฝ่ำยชนะ อังกฤษยังคงแทรกแซงทำงกำรเมืองในประเทศฝรั่งเศสและ 
เกิดสงครำมขึ้น ฝรั่งเศสมีวีรสตรีโจนออฟอำร์ค เป็นผู้นำ ทัพ เอำชนะกองทัพ 
อังกฤษได้ที่เมืองออร์เลออง ปีต่อมำโจนถูกจับตัวโดยฝ่ำยสนับสนุนอังกฤษ คดีใน 
ศำลศำสนำ ถูกลงโทษเผำทั้งเป็น วีรกรรมของโจนได้ก่อให้เกิดควำมคิดเรื่อง 
ชำตินิยมในหมู่ชำวฝรั่งเศสอย่ำงรุนแรง
ผลกระทบของสงครำมร้อยปี
ผลกระทบของสงครำมร้อยปี 
1. ผลกระทบต่อประเทศอังกฤษ 
 อังกฤษทรงหันมำสนพระทัยกิจกำร 
ภำยในประเทศและกำรค้ำกับดินแดนโพ้น 
ทะเลมำกขึ้น 
 เพิ่มอำ นำจของรัฐสภำอังกฤษในกำรต่อรอง 
กับกษัตริย์ 
 เกิดชำตินิยมในหมู่ชำวอังกฤษจำกชัยชนะ 
ของกองทัพอังกฤษ กษัตริย์มีอำ นำจเพิ่ม 
มำกขึ้น จำกกำรสนับสนุนของชำวอังกฤษ 
 ขุนนำงเสียชีวิตและยำกจนลง
ผลกระทบของสงครำมร้อยปี 
2.ผลกระทบต่อประเทศฝรั่งเศส 
 ส่งเสริมอำ นำจเด็ดขำดแก่กษัตริย์ 
ฝรั่งเศส เพื่อปรำบปรำมขุนนำง และทำ 
สงครำมกับต่ำงชำติ 
 รัฐสภำได้ยอมรับอำ นำจของสถำบัน 
กษัตริย์ฝรั่งเศส พัฒนำกลำยเป็น 
ระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ในเวลำ 
ต่อมำ 
 กระตุ้นควำมคิดชำตินิยมในหมู่ชำว 
ฝรั่งเศส เรื่องควำมเป็นชำติเดียวกัน
ความเสื่อมของศาสนจักร 
ในช่วงปลายสมัยกลาง
สาเหตุ 
1.การเกิดลัทธิชาตินิยมและรัฐชาติได้ก่อตัวขึ้นในยุโรป 
ประชาชนใหก้ารสนับสนุนการเกิดรัฐชาติและอา นาจของกษัตริย์มากขึ้น เกิด 
การต่อสูร้ะหว่างสถาบันกษัตริย์ฝรัง่เศสกับสันตะปาปา กษัตริย์ฝรัง่เศสเป็นฝ่าย 
ไดรั้บชัยชนะและไดแ้ต่งตงั้สันตะปาปาองค์ใหม่ 
2.ความแตกแยกของศาสนจักร 
เกิดเหตุการณ์ความแตกแยกของศาสนจักรอย่างรุนแรงจนถึงขึ้นมี 
สันตะปาปา 2 องค์ในเวลาเดียวกัน คริสตจักรอ่อนแอ ทา ใหเ้กิดความแตกแยก 
และเสื่อมศรัทธาในหมู่คริสต์ศาสนิกชน อันนา ไปสู่การปฏิรูปศาสนาในช่วงต้น 
คริสต์ศตวรรษที่ 16
การสิ้นสุดสมัยกลาง
ในตอนปลายสมัยกลาง ประชาชนทั่วไปต้องการแสวงหาความรู้ที่ 
นอกเหนือจากที่ศาสนจักรกา หนด จึงเริ่มหันไปสนใจอารยธรรมกรีกและโรมันที่มีมา 
ก่อนคริสต์ศาสนา นา ไปสู่การฟื้นฟูศิลปวิทยาเมื่อเริ่มสมัยใหม่ซึ่งทา ใหส้มัยใหม่มี 
ความแตกต่างจากสมัยกลางอย่างมาก
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
Sherry Srwchrp
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศjanejaneneee
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
nanpapimol
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
Ploynaput Kritsornluk
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
Mind Mmindds
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
Taraya Srivilas
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
Thepsatri Rajabhat University
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
Kornnicha Wonglai
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
Patt Thank
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
Taraya Srivilas
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 

What's hot (20)

เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
อาหรับ ปาเลสไตน์
อาหรับ ปาเลสไตน์อาหรับ ปาเลสไตน์
อาหรับ ปาเลสไตน์
 

Similar to การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง

เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
gain_ant
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
Rose Mary
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
gain_ant
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
Premo Int
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
Pann Boonthong
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหา
Washirasak Poosit
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
Som Kamonwan
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน
การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน
การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน
Tong nipat
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
Ning Rommanee
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
mnfaim aaaa
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือhackinteach
 

Similar to การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง (20)

เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
 
Crma present1
Crma present1Crma present1
Crma present1
 
สงครามครูเสด 2003
สงครามครูเสด 2003สงครามครูเสด 2003
สงครามครูเสด 2003
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหา
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
ความขัดแย้งในภูมิภาคต่างๆ
 
King peace ssss3
King peace ssss3  King peace ssss3
King peace ssss3
 
การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน
การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน
การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (11)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง

  • 1. แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ผู้จัดทำ 1.นำงสำวจริยำ เจิดแจ่มจรัส เลขที่17 ม.6.7 2.นำงสำวอรอนงค์ เฉิน เลขที่29 ม.6.7 วิชำสังคมศึกษำ อ.ปรำงค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล
  • 3. FRANK • ตงั้ถิ่นฐานที่ฝรัง่เศสและเบลเยียม เป็นผูร้วมดินแดนยุโรปตะวันตกรวมเป็นจักรวรรดิเดียว OSTROGOTH • ตงั้อาณาจักรที่อิตาลี ถูกปราบปรามโดยไบแซนไทม์ใน ค.ศ.554 LOMBARD • ตงั้ถิ่นฐานที่อิตาลีใน ค.ศ.568 ANGLO SAXSON • ตงั้อาณาจักรในเกาะอังกฤษ BURGUNDIAN • ตงั้อาณาจักรภายใตฝ้รัง่เศส แถบลุ่มน้า โรน VISIGOTH • ตงั้อาณาในสเปน รุกรานโดยอาหรับใน ค.ศ.711 VANDAL • ตงั้อาณาจักรในภาคเหนือของแอฟริกา
  • 4. คริสต์ศตวรรษที่7 อาณาจักรของชนเผ่าต่างๆก็ล่มสลาย เหลือเพียง FRANK • ตงั้ถิ่นฐานที่ฝรัง่เศส ANGLO SAXSON • ตงั้อาณาจักรในเกาะอังกฤษ ภายหลังตอนช่วงปลายคริสต์ศวรรษที่7 ชนเผ่า Frank ได้ผนวก ดินแดนต่างๆเข้ารวมเป็นอาณาจักรของตนเองและมีอาณาเขตกว้างขวางสุด ในสมัยจักรพรรดิชาร์เลอมาญ
  • 5. แต่หลังจาก จักรพรรดิชาร์เลอมาญ สิ้นพระชนม์จักรวรรดิก็ถูกแบ่งเป็นสาม ส่วนคือ อาณาจักรฝรัง่เศส จักรวรรดิเยอรมัน อิตาลี และ ขุนนางมีอา นาจมากขึ้นแบ่งแยกดินแดนออกเป็นแคว้นต่างๆนาไปสู่ การปกครองแบบฟิวดัล
  • 6. 1.ระยะต้น เศรษฐกิจ ชนเผ่าเยอรมันเปลี่ยนวิถีเป็นแบบเกษตรกรรมระบบนาโล่ง พืชที่ปลูกส่วนใหญ่คือ ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต ข้างบาร์เลย์ บา รุงโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยการ สร้างสะพาน ขุดคลอง จัดระบบการพาณิชย์ กา หนดมาตราชั่ง ตวง วัด ผลิตเงินตรา ภายหลัง ระบบฟิวดัล เข้ามาครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ ปกครองของยุโรปสมัยกลาง
  • 7. Feudalism • Feudal มาจากภาษาลาตินว่า Feudum ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Fief แปลว่า ที่ดินเนื้อที่หน่งึ • ระบบฟิวดัลเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง – Lord (เจา้นาย) กับVassal (ผูพ้ึ่ง) เป็นระบบการกระจายอา นาจออกจากศูนย์กลาง กษัตริย์ไปยังขุนนางแควน้ต่างๆ ขุนนางต่างมีกองทัพของตนเอง • หนา้ที่ของ Lord คือพิทักษ์รักษาVassalและที่ดินของ Vassalจากศัตรูและให้ ความยุติธรรม ปกป้องคมุ้ครองในการพิจารณาคดี
  • 8.
  • 9. 1.ระยะต้น สังคม สภาพสังคมตอนตน้ว่นุวาย ตกตา่ ผูค้นทัว่ไปอ่านเขียนไม่ได้ยกเวน้พระและนักบวช สถาบันคริสต์ศาสนาซึ่งมีสันตะปาปาเป็นประมุขเป็นผูก้า หนดนโยบายทุกอย่าง เมื่อ จักรวรรดิโรมันสิ้นสุด ศาสนจักรไดร้่วมมือกับกษัตริย์ของอารยชน ทา ใหรั้กษาความ ปลอดภัยไวไ้ด้ ศาสนจักรจึงเป็นผูยึ้ดเหนี่ยวประชาชนยุโรปไวแ้ละรักษาวัฒนธรรมความเจริญต่างๆ สืบมา
  • 10. ระยะกลาง เป็นระยะแห่งการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากสังคม ตะวันตกมีประชากรเพิ่มขึ้น คริสตศาสนาและ ระบบฟิวดัลมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด และเริ่ม มีพัฒนาการหลายดา้น
  • 11. การเมือง ► ความขัดแย้งระหว่างคริสตจักรกับจักรวรรดิ จักรวรรดิแฟรงก์ล่มสลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 9 ดินแดนจักรวรรดิได้ แบ่งแยกออกเป็น ฝรั่งเศส เยอรมัน และอิตาลี ดิน แ ด น เ ย อ ร มัน มีจัก ร พ ร ร ดิ ปกครอง แต่ไม่มีอา นาจนัก ทงั้จกัรพรรดิ และสันตะปาปา ต่างอ้างอานาจในการ ปกครองร่วมกันในจักรวรรดิ จนกระทัง่ ไดมี้การปฏิรูปอา นาจของศาสนจักรใหมี้ อา นาจสูงสุด จักรพรรดิเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ อา นาจคริสตจักร
  • 12. การต่อสูดั้งกล่าวทา ใหขุ้นนางแต่ละแควน้มีอา นาจมากขึ้น ทา ใหร้ะบบฟิวดัลมี ความแข็งแกร่งมากขึ้น ในอังกฤษเกิดความขัดแยง้ระหว่างขุนนาง ในที่สุดพระมหากษัตริย์ตอ้งยอม จา นนต่อคณะขุนนาง ต่อมาคณะขุนนางและพระไดก้ลายมาเป็นสมาชิกรัฐสภาของ อังกฤษ ส่วนฝรั่งเศสกษัตริย์กลับมามีอา นาจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนมีอา นาจในการ ปกครองเบ็ดเสร็จ และกลายมาเป็นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในที่สุด
  • 13. การเมือง ► ระบบฟิวดัลเจริญรุ่งเรืองสูงสุด ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 9-10 พวกอนารยชนจากสแกนดิเนเวียที่ เรียกว่า พวกไวกิ้ง ได้เข้ารุกราน จักรวรรดิของแฟรงก์ ซึ่งการป้องกันภัย เป็นหน้าที่ของขุนนางทอ้งถิ่นหรือเจา้ของ ที่ดิน รวบรวมผู้คนตามหมู่บ้านมาฝึก อาวุธ ทา ใหขุ้นนางทอ้งถิ่นสามารถสร้าง อิทธิพลของตนเองและเริ่มมีอานาจ ต่อรองกับกษัตริย์
  • 14. เศรษฐกิจ ระยะแรกการค้าซบเซา เนื่องจากระบบฟิวดัลแต่ละ แมนเนอร์มีระบบเศรษฐกิจที่ พึ่งตนเองได้ ►การดา เนินชีวิตในคฤหาสน์ที่ มีที่ดินลอ้มรอบของขุนนางในยุค กลาง
  • 15. แต่เมื่อเกิดสงครามครูเสด ผู้คนออกไปสู่โลกภายนอก ทา ให้เกิดความต้องการสินค้า ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิจ เ ริ่ม มีก า ร ขยายตัวอีกครงั้ พ่อคา้เริ่มติดต่อ คา้ขายระหว่างประเทศ มกีารตงั้ศูนย์การค้าในหัวเมืองท้องถิ่น การค้า ทางทะเลเจริญรุ่งเรืองขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะใน เขตทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งเมื่อ พวกนี้มีฐานะทางการเงินมัง่คั่งขึ้นก็ได้มีส่วน สนับสนุนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เพื่อ คุม้ครองกิจการทางเศรษฐกิจของตนเอง
  • 16. สังคม การขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ยุติลง ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13-14 เนื่องจากเกิด สงครามร้อยปีการแพร่ระบาดของกาฬโรค ทา ใหเ้ขตเมืองไดเ้สื่อมลง
  • 17. หลังจากคริสต์ศตวรรษ 11 เป็นตน้มา การขยายตัวทางการคา้และ อุตสาหกรรมเจริญรุ่งเรืองขึ้น ทา ใหเ้ริ่มเกิดชุมชนเมืองขึ้นและทา ใหร้ะบบ ฟิวดัลเริ่มเสื่อมอา นาจลง ในช่วงเวลานี้ คริสต์ศาสนาไดเ้จริญรุ่งเรืองสูงสุด แต่ในช่วงปลาย คริสตวรรษที่ 13 สถาบันศาสนาเริ่มเสื่อมลง
  • 18. ระยะปลาย เป็นระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงไปสู่ ความสมัยใหม่ ศาสนาถูกลดอา นาจลง ความคิดแบบมนุษยนิยมเริ่มเขา้มามีบทบาท ในทัศนคติและความคิดของคนในสังคม
  • 19. การเมือง ► ความเสื่อมของจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิ การแข่งขันกันของจักรวรรดิเยอรมันแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิกับ สันตะปาปาแห่งคริสตจักรเป็นไปอย่างรุนแรง สันตะปาปา ทร งมีความเ ชื่อ ว่า คริสตจักรมีอานาจเหนือฝ่ายอาณาจักร และทรงสนับสนุนใหเ้กิดสงครามการเมือง ในเยอรมันขึ้นเพื่อทา ลายอา นาจจักรพรรดิ ผลก็คือ จักรพรรดิกลายเป็นตา แหน่งที่ไม่ มีอา นาจ ดินแดนเยอรมันและอิตาลีแยก เป็นรัฐเล็กรัฐนอ้ยไม่สามารถรวมตัวกันได้
  • 20. การเมือง ► การเกิดรัฐชาติ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 อา นาจของสถาบันกษัตริย์ในยุโรปตะวันตกตกต่า ลง เนื่องจากขุนนางไม่ยอมอยู่ใตอ้า นาจ ขณะเดียวกันกษัตริย์ก็หันไปพึ่งพาพวกพ่อคา้มาก ขึ้น ระบบฟิวดัลเสื่อมสลายไป และเมื่อเกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ ชาติก็เกิดความ แตกแยก เกิดสงครามระหว่างขุนนาง ประกอบกับเกิดสงครามร้อยปีในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 14 -15 จึงทา ใหขุ้นนางเสื่อมอา นาจลงอย่างรวดเร็ว เปิดโอกาสให้ กษัตริย์สามารถรวบรวมอา นาจและก่อตังรัฐชาติขึ้นมาไดใ้นเวลาต่อมา เกิดเป็นรัฐชาติ ภายใตก้ารนา ของกษัตริย์
  • 21. เศรษฐกิจ ► ช่วงคริสต์ศตวรรษที่14 เป็นช่วงเวลาของความเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจของยุโรป โดยมีสาเหตุมาจากสภาวะ สงครามและเกิดกาฬโรคระบาดครงั้ใหญ่ในทวีปยุโรป ซึ่งส่งผลกระทบให้ขาดแคลน แรงงานอย่างรุนแรง เศรษฐกิจ ► ช่วงคริสต์ศตวรรษที่15 ระบบเศรษฐกิจไดก้ลับมาเจริญรุ่งเรืองอีกครงั้หนึ่ง เกิดกลุ่มนายทุนซึ่งลงทุนในธุรกิจ ต่างๆในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชาวยุโรปคน้พบดินแดนใหม่ๆ ซึ่งเหมาะแก่การตงั้ ถิ่นฐานและเป็นแหล่งวัตถุดิบ ทา ใหช้าวยุโรปอพยพไปยังดินแดนใหม่พร้อมยึดครองเป็น สถานีการคา้
  • 22. สังคม 1. สังคมระบบฟิวดัลเสื่อมสลายลง ขุนนางสูญเสียกาลังคนและกาลังทรัพย์ในการรบ อา นาจของขุนนางลดลง สถาบันกษัตริย์มีอา นาจขึ้นมาแทน ซึ่งจะนา ไปสู่ระบอบราชาธิปไตยยุคใหม่ 2.ชนชั้นกลางขึ้นมามีอา นาจแทนที่ชนชั้นขุนนาง เนื่องจากสังคมเปลี่ยนค่านิยมจากเรื่องชาติกา เนิดเป็นฐานะทางเศรษฐกิจของ แต่ละบุคคล 3.เกิดขบวนการนักวิชาการสายมนุษยนิยมที่สนในศึกษาอารยธรรมกรีกและโรมัน นักวิชาการพยายามแยกความคิดทางศาสนาจากการศึกษาของตนเอง
  • 24. สงครำมครูเสด Crusade สงครามระหว่าง คริสต์ศาสนากับ ศาสนาอิสลาม เกิดขนึ้ในระหว่าง ค.ศ. 1096-1291 ยุติลงใน ค.ศ. 1291
  • 25. สำเหตุของสงครำม สำเหตุทำงด้ำนกำรเมือง เกิดกำรเปลี่ยนแปลงในจักรวรรดิ อำหรับ เมื่อพวกเซลจุกเติร์กมีอำนำจใ น จักรวรรดิอำหรับซึ่งเป็นจักรวรรดิอิสลำม ค.ศ. 1071 พวกเซลจุกเติร์กยึดครองคำบสมุทรตุรกี ไว้ได้ทั้งหมด รุกรำนจักรวรรดิไบแซนไทน์ ไ บ แ ซ น ไ ท น์ข อ ค ว ำ ม ช่ว ย เ ห ลือ ไ ป ยัง คริสตจักรที่กรุงโรม สันตะปำปำเออร์บันที่ 2 ให้ไปช่วยไบแซนไทน์รบกับพวกเซลจุกเติร์ก
  • 26. สาเหตุทางด้านศาสนา เซลจุกเติร์กเข้ำมำมีอำ นำจในดินแดนตะวันออกได้ปิดกั้นดินแดนกรุงเยรูซำเลม ไม่ให้ชำวคริสต์ ไปแสวงบุญ ทำรุณกรรมกับชำวคริสต์ สันตะปำปำจึงใช้สำเหตุ ดังกล่ำวชักชวนชำวคริสต์ให้ไปทำ สงครำมศักด์ิสิทธ์ิ โดยมีเหตุสำคัญ คือกำร ปลดปล่อยกรุงเยรูซำเลมจำกพวกนอกศำสนำ ประชำชนสำมัญพำกันเดินทำงไป จักรวรรดิไบแซนไทน์และดินแดนปำเลสไตน์
  • 27. ส่วนการที่ชาวยุโรปตื่นตัวเข้าร่วมในสงคราม ครูเสดก็เนื่องจากเหตุผลหลายประการด้วยกัน ได้แก่  ชำวยุโรปสมัยกลำงมีควำมศรัทธำในศำสนำ อย่ำงแรงกล้ำเพื่อปลดเปลื้องตนเองทำงจิต วิญญำณ  บุคคลที่ไม่มีที่ดินในยุโรปต้องกำรจะ ครอบครองที่ดินในดินแดนตะวันออกกลำง  เสี่ยงโชคและผจญภัย  พ่อค้ำชำวอิตำลีต้องกำรขยำยขอบข่ำยกำร ค้ำขำยไปยังดินแดนทำงตะวันออกภำยใต้ กำรคุ้มครองของพวกคริสต์  แข่งขันทำงอำ นำจระหว่ำงกษัตริย์กับขุนนำง นักรบที่ร่วมในสงครามจะเย็บ เครื่องหมายกางเขนที่ทาด้วย ผ้าติดไว้บนเสือ้ผ้าของตน จึง ถูกเรียกว่า “crusader” ซึ่งมีความหมายว่า “ผู้ที่ติด เครื่องหมายกางเขน” และเป็น ที่มาของชื่อสงครามครูเสด
  • 28. ผลกระทบของสงครามครูเสด • ระบบฟิวดัลเสื่อมลง สถำบันกษัตริย์จึงแข็งแกร่งขึ้น • กำรค้ำขยำยตัวไปทั่วทั้งดินแดนภำคตะวันตกและดินแดนภำคตะวันออก สินค้ำ จำกภำคตะวันออกได้เข้ำไปแพร่หลำยในยุโรป เช่น ผ้ำไหม เครื่องเทศ • เมืองต่ำงๆกำรเป็นศูนย์กำรค้ำ เช่น นครรัฐในอิตำลี • กำรค้ำขยำยตัว กำรซื้อขำยใช้ระบบเงินตรำแทนที่กำรแลกเปลี่ยนสินค้ำ • ผู้นำ ของกองทัพครูเสดได้นำ เอำอำรยธรรมกรีก-โรมัน กลับเข้ำมำเผยแพร่ ใน ยุโรปอีกครั้ง
  • 29. สงครำมระหว่ำง อังกฤษกับฝรั่งเศส เริ่มขึ้นใน ค.ศ. 1337 และ สิ้นสุดสงครำมใน ค.ศ.1453 มี ระยะกว่ำ 100 ปี ต้นกำเนิดของควำมเป็นรัฐ ชำติสมัยใหม่ สงครำมร้อยปี เปลี่ยนรูปแบบทำง กำรเมืองและสังคม Hundred Years’ War
  • 30. สำเหตุของสงครำม 1. วิลเลียม ดุ๊ก แห่งแคว้นนอร์มองดี เป็นข้ำติดที่ดินของกษัตริย์ฝรั่งเศส ยึดครองและสถำปนำ พระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์อังกฤษ กษัตริย์อังกฤษก็มีที่ดินในประเทศฝรั่งเศสเป็นจำ นวนมำก ฝรั่งเศสก็พยำยำมแย่งชิงดินแดนดังกล่ำวกลับคืนมำ 2. สิทธิในรำชบัลลังก์ฝรั่งเศส พระเจ้ำเอดเวิร์ดที่ 3 ทรงอ้ำงสิทธ์ิในรำชบัลลังค์ฝรั่งเศส 3. อังกฤษต้องกำรผนวกสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ได้รับกำรสนับสนุนจำกฝรั่งเศส 4. ควำมขัดแย้งทำงด้ำนเศรษฐกิจ 5. ประสบปัญหำกำรขยำยอำ นำจของขุนนำง ใช้สงครำมระหว่ำงประเทศดึงควำมสนใจของขุน นำงและประชำชน
  • 31. • ฝรั่งเศสต้องเผชิญปัญหำควำมขัดแย้งภำยใน ฝ่ำยต่อต้ำนอังกฤษกับฝ่ำยนิยมอังกฤษ อังกฤษเป็นฝ่ำยชนะ อังกฤษยังคงแทรกแซงทำงกำรเมืองในประเทศฝรั่งเศสและ เกิดสงครำมขึ้น ฝรั่งเศสมีวีรสตรีโจนออฟอำร์ค เป็นผู้นำ ทัพ เอำชนะกองทัพ อังกฤษได้ที่เมืองออร์เลออง ปีต่อมำโจนถูกจับตัวโดยฝ่ำยสนับสนุนอังกฤษ คดีใน ศำลศำสนำ ถูกลงโทษเผำทั้งเป็น วีรกรรมของโจนได้ก่อให้เกิดควำมคิดเรื่อง ชำตินิยมในหมู่ชำวฝรั่งเศสอย่ำงรุนแรง
  • 33. ผลกระทบของสงครำมร้อยปี 1. ผลกระทบต่อประเทศอังกฤษ  อังกฤษทรงหันมำสนพระทัยกิจกำร ภำยในประเทศและกำรค้ำกับดินแดนโพ้น ทะเลมำกขึ้น  เพิ่มอำ นำจของรัฐสภำอังกฤษในกำรต่อรอง กับกษัตริย์  เกิดชำตินิยมในหมู่ชำวอังกฤษจำกชัยชนะ ของกองทัพอังกฤษ กษัตริย์มีอำ นำจเพิ่ม มำกขึ้น จำกกำรสนับสนุนของชำวอังกฤษ  ขุนนำงเสียชีวิตและยำกจนลง
  • 34. ผลกระทบของสงครำมร้อยปี 2.ผลกระทบต่อประเทศฝรั่งเศส  ส่งเสริมอำ นำจเด็ดขำดแก่กษัตริย์ ฝรั่งเศส เพื่อปรำบปรำมขุนนำง และทำ สงครำมกับต่ำงชำติ  รัฐสภำได้ยอมรับอำ นำจของสถำบัน กษัตริย์ฝรั่งเศส พัฒนำกลำยเป็น ระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ในเวลำ ต่อมำ  กระตุ้นควำมคิดชำตินิยมในหมู่ชำว ฝรั่งเศส เรื่องควำมเป็นชำติเดียวกัน
  • 36. สาเหตุ 1.การเกิดลัทธิชาตินิยมและรัฐชาติได้ก่อตัวขึ้นในยุโรป ประชาชนใหก้ารสนับสนุนการเกิดรัฐชาติและอา นาจของกษัตริย์มากขึ้น เกิด การต่อสูร้ะหว่างสถาบันกษัตริย์ฝรัง่เศสกับสันตะปาปา กษัตริย์ฝรัง่เศสเป็นฝ่าย ไดรั้บชัยชนะและไดแ้ต่งตงั้สันตะปาปาองค์ใหม่ 2.ความแตกแยกของศาสนจักร เกิดเหตุการณ์ความแตกแยกของศาสนจักรอย่างรุนแรงจนถึงขึ้นมี สันตะปาปา 2 องค์ในเวลาเดียวกัน คริสตจักรอ่อนแอ ทา ใหเ้กิดความแตกแยก และเสื่อมศรัทธาในหมู่คริสต์ศาสนิกชน อันนา ไปสู่การปฏิรูปศาสนาในช่วงต้น คริสต์ศตวรรษที่ 16
  • 38. ในตอนปลายสมัยกลาง ประชาชนทั่วไปต้องการแสวงหาความรู้ที่ นอกเหนือจากที่ศาสนจักรกา หนด จึงเริ่มหันไปสนใจอารยธรรมกรีกและโรมันที่มีมา ก่อนคริสต์ศาสนา นา ไปสู่การฟื้นฟูศิลปวิทยาเมื่อเริ่มสมัยใหม่ซึ่งทา ใหส้มัยใหม่มี ความแตกต่างจากสมัยกลางอย่างมาก