SlideShare a Scribd company logo
เหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์ที่มีผลต่อโลกปัจจุบัน 
จัดทาโดย 
นายธวัธชัย กันนะเรศ เลขที่ 16 
นายวราพล วรรณสาร เลขที่ 17 
นางสาวพรนภา ลีกุล เลขที่ 33 
นางสาวพัตรแพรว สุวรรณโชติ เลขที่ 35 
ชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 6/2 
เสนอ 
อาจารย์บุญสืบ วางอภัย 
โรงเรียนท่าลี่วิทยา
เหตุการณ์ 
สาคัญใน 
สมัยกลาง 
(ค.ศ.476- 
1492) 
• ระบอบการปกครองแบบฟิวดัล 
• สงครามครูเสด 
• การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
ระบบการปกครอง 
แบบระบอบฟิวดัล 
• ในช่วง 
คริสต์ศตวรรษที่ 9 
ยุโรปได้เกิดระบบ 
ฟิวดัล 
(Feudalism) 
หรือระบบศักดินา 
สวามิภักด์ิ ซึ่งเป็น 
ระบบท่คีรอบคลุม 
ทังทางด้านการเมือง 
การปกครอง สังคม 
และ เศรษฐกิจของ 
ยุโรปยุคกลาง
ในเวลาต่อมา คาว่า 
Feudalism มาจาก 
คาว่า ฟีฟ (Fief) 
หมายถึง ที่ดินที่เป็น 
พันธสัญญาระหว่าง 
เจ้านายที่เป็นเจ้าของ 
ที่ดิน ซึ่งเจ้าของที่ดิน 
จะเป็นพวกขุนนาง 
เรียกว่า ลอร์ด(Lord)
กับผู้ใช้ประโยชน์ใน 
ที่ดิน คือ ข้า หรือ 
เรียกว่า วัสซัล 
(Vassal)ความสัมพั 
นธ์ในระบบฟิวดัลคือ 
ความสัมพันธ์ระหว่าง 
ผู้อุปถัมภ์กับผู้ได้รับ 
การอุปถัมภ์
การเกิดระบบฟิวดัลนั้น เริ่ม 
จากกษัติรย์ที่เจ้านายชั้นสูงของ 
ระบบและเป็นเจ้าของทีดินทัง้ 
ราชอาณาจักรจะพระราชทาน 
ที่ดินให้กับขุนนางระดับสูงใน 
ท้องถิ่นเพื่อให้ขุนนางระดับสูง 
จงรักภักดีและเป็นการตอบ 
แทนความดีความชอบจากการ 
ทา สงคราม ทั้งกษัตริย์และขุน 
นางจะมีพันธะต่อกัน กล่าวคือ 
ขุนนางมีหน้าที่ส่งทหารมา 
ช่วยเหลือเม่อืมีสงคราม ส่ง 
ภาษีตามเวลาที่กา หนด
ส่วนกษัตริย์มีหน้าที่ให้ 
ความคุ้มครองและ 
ความยุติธรรมแก่ขุน 
นาง ทั้งนี้ขุนนาง 
ระดับสูงก็จะนาที่ดิน 
นั้นมาแบ่งให้กับขุน 
นาง ระดับรองลงไป 
ขุนนางระดับสูงจึงเป็น 
ข้าหรือวัลซัลของ 
กษัตริย์ แต่เป็น 
เจ้านายหรือลอร์ดของ 
ขุนนางระดับรองลงไป 
อีกเพื่อให้ขุนนาง 
ระดับรองภักดีและ 
สนับสนุนด้านกาลัง
ส่วนประชาชนที่เป็นข้าติดที่ดินจะได้รับการคุ้มครองจากขุนนางระดับสูง จากนั้นขุน 
นางจะนาที่ดินนั้นมาหาผลประโยชน์และปกครองดูแลผู้คนดูแลคนที่จะทา มาหากินบน 
ที่ดินในเขตแมเนอร์(manor)ของตน ประชาชนที่อาศัยและทา งานในที่ดินนั้นเรียกว่า 
เซิร์ฟserf หรือข้าติดที่ดิน ดังนั้น ระบบนี้จึงเป็นการแบ่งที่ดินลงเป็นการแบ่งที่ดินลง 
เป็นทอด ขุนนางล่างสุดคืออัศวิน ในแต่ละแมเนอร์จะมีศูนย์กลางของแมเนอร์คือ 
ปราสาท ซึ่งเป็นที่อยู่ของขุนนางและครอบครัว บริเวณที่ดินโดยรวมเป็นที่ทา กินของ 
ชาวนาและเชิร์ฟ ซึ่งรวมกันเป็นหมู่บ้าน มีทั้งโรงตีเหล็ก ช่างซ่อมแซมสิ่งของ มีโบสถ์ 
สา หรับประกอบพิธีทางศาสนา รอบๆ หมู่บ้านจะเป็นพืน้ที่เกษตรกรรม ซึ่งชาวนาและ 
เซิร์ฟจะต้องแบ่งผลผลิตให้เจ้าของที่ดินเป็นค่าตอบแทน ความสัมพันธ์หรือข้อตกลง 
ของลอร์ดกับวัสซัลมีตามพิธีกรรมที่เรียกว่า “การแสดงความ 
จงรักภักดี”(homage)หรือสวามิภักด์ิ
การล่มสลายของ 
ระบบฟิวดัล 
การท่รีะบบฟิวดัลล่ม 
สลายนั้นเป็นผลจาก 
การขยายตัวทาง 
การค้าและ 
อุตสาหกรรม ในยุโรป 
โดยเฉพาะในบริเวณ 
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 
ทาให้เกิดชุมชน 
พาณิชย์อุตสาหกรรม 
ขึน้ ส่งผลให้ชาว 
ชนบท ละทิง้ที่นาเข้า 
มาประกอบอาชีพ 
ค้าขาย หรือ 
ประกอบการผลิต 
สินค้าหัตถกรรมใน 
เขตเมือง
ทาให้สังคมมีการขยายตัว เกิดเป็น 
สังคมเมืองขึน้มาใหม่ ซึงผู้คนที่มาอยู่ใน 
เมืองไม่ได้อยู่ในระบบฟิวดัล แต่เป็น 
กลุ่มคนที่ประกอบอาชีพทางการค้าและ 
อุตสาหกรรม และเมื่อมีประชาชนเพิ่ม 
มากขนึ้อย่างรวดเร็ว ชุมชนเมือง 
ขยายตัวเพิ่มมากขนึ้ มีเมืองใหม่ๆ 
เกิดขึน้ทั่วทั้งยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 
11-12 หัวเมืองในอิตาลี เช่นเมืองเวนิส 
เมืองเจนัว เนเธอร์แลนเป็นเมืองสาคัญ 
ทางด้านการค้าและอุตสาหกรรม 
การค้าทางทะเลมีความสา คัญเพิ่มมาก 
ขึน้โดยเฉพาะในเขตทะเลเหนือและ 
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมืองที่เกิดขึน้ 
ใหม่นี้มีการจัดการปกครองแบบ 
เทศาภิบาล มีการเก็บภาษีท้องถิ่น 
เพ่อืที่จะพัฒนาเมือง และมีระบบสร้าง 
ความปลอดภัย พวกพ่อค้าและพวกช่าง 
มีความมั่งคั่งขึน้ ชนชั้นกลางเหล่านี้เมื่อ 
มีอา นาจมากขึน้จึงได้หันไปสนับสนุน 
กษัตริย์์เพ่อืให้คุ้มครองกิจการและ 
ผลประโยชน์ของตน
การฟื้นฟูทางเศรษฐกิจมีผลต่อ 
การเปลี่ยนแปลงสังคมและ 
ระบอบการเมืองการปกครอง 
เพราะทาให้ระบอบการปกครอง 
แบบฟิวดัลเริ่มเสื่อมอา นาจลง ขุน 
นางที่เคยเป็นใหญ่และมีอา นาจ 
อิสระในการปกครองตาม 
ระบบแมเนอร์ต้องล่มสลาย ซึ่ง 
ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากขุนนาง 
ต้องออกไปทาสงครามและ 
เสียชีวิตจานวนมาก ทาให้พวกชน 
ชั้นกลาง(Bourgeoie) ขึน้มามี 
อานาจแทนขุนนาง
• สังคมได้เปลี่ยนค่านิยมจาก 
เรื่องชาติกา เนิดตามชนชั้นมา 
เป็น ฐานะทางเศรษฐกิจของ 
บุคคล พวกขุนนางต้องขาย 
ท่ดีินใด้ชนชั้นกลาง ทา ให้เกิด 
การพัฒนาท่ดีินให้เป็น 
เกษตรกรรมเพื่อการค้า โดย 
เจ้าของท่ดีินยกเลิกวิธีการ 
ด้งัเดิม มาให้ชาวนาเช่าที่ดิน 
และจ่ายเงินให้กับเจ้าของ 
แทน ทาให้พันธะตามระบอบ 
ฟิวดัลสนิ้สุดลง ระบอบ 
กษัตริย์สามารถดึงอานาจ 
กลับคืนมาได้ และสถาปนา 
อานาจการปกครองสูงสุดตาม 
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 
ได้อีกครั้งหนึ่ง ทา ให้การ 
ปกครองระบบฟิวดัลเสื่อม 
อานาจและล่มสลายลงใน 
คริสต์ศตวรรษที่ 16
สงครามครูเสด 
• เป็นชุดสงครามรบนอก 
ประเทศทางศาสนา ที่ถูก 
ทาให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จ 
พระสันตะปาปาเออร์บันที่ 
2 และศาสนจักร 
คาทอลิก มีเป้าหมายที่ 
แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึง 
ที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้ 
เยรูซาเล็มของคริสเตียน
• เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และ 
สัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทัง้ 
สาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และ 
ศาสนาอิสลาม)[1] ภูมิหลังสงครามครูเสด 
เกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาด 
เหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ ค.ศ. 1071 
และตัดการเข้าถึงเยรูซาเล็มของคริสเตียน 
จักรพรรดิไบแซนไทน์อเล็กซิสที่ 1 ทรง 
เกรงว่าเอเชียไมเนอร์ทัง้หมดจะถูกบุกรุก 
พระองค์จึงทรงเรียกร้องผู้นาคริสเตียน 
ตะวันตกและสันตะปาปาให้มาช่วยเหลือ 
กรุงคอนสแตนติโนเปิลโดยไปจาริกแสวง 
บุญหรือสงครามศาสนาเพื่อปลดปล่อย 
เยรูซาเล็มจากการปกครองของมุสลิม 
[2] อีกสาเหตุหนึ่งเป็นเพราะการทาลาย 
ล้างสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของคริสเตียนเป็น 
จานวนมากและการเบียดเบียน 
คริสต์ศาสนิกชนภายใต้อัล-ฮาคิมกา 
หลิปราชวงศ์ฟาติมียะห์
• นักรบครูเสดประกอบด้วยหน่วยทหารแห่ง 
โรมันคาทอลิกจากทวั่ยุโรปตะวันตก และไม่ 
อยู่ภายใต้อานาจบังคับบัญชารวม สงคราม 
ครูเสดชุดหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่พุ่งเป้า 
ต่อมุสลิมในเลแวนต์(Levant) เกิดขึน้ 
ระหว่าง ค.ศ. 1095 ถึง 1291 นัก 
ประวัติศาสตร์ให้ตัวเลขสงครามครูเสดก่อน 
หน้านัน้อีกมาก หลังมีความสาเร็จใน 
ช่วงแรกอยู่บ้าง สงครามครูเสดช่วงหลังกลับ 
ล้มเหลว และนักรบครูเสดถูกบังคับให้กลับ 
บ้าน ทหารหลายแสนคนกลายเป็นนักรบครู 
เสดโดยการกล่าวปฏิญาณ[3] สมเด็จพระ 
สันตะปาปาให้การไถ่บาปบริบูรณ์ 
(plenary indulgence) แก่ทหาร 
เหล่านัน้ สัญลักษณ์ของนักรบเหล่านี้คือ 
กางเขน คาว่า "ครูเสด" มาจากภาษาฝรั่งเศส 
หมายถึง การยกกางเขนขึน้ ทหารจานวน 
มากมาจากฝรั่งเศสและเรียกตนเองว่า 
"แฟรงก์" ซึ่งกลายเป็นคาสามัญที่มุสลิมใช้
• คาว่า "ครูเสด" ยังใช้อธิบายการ 
ทัพที่มีเหตุจูงใจทางศาสนาที่ 
ดาเนินระหว่าง ค.ศ. 1100 และ 
1600 ในดินแดน 
นอกเหนือไปจากเลแวนต์โดย 
มักเป็นสงครามกับพวกนอก 
ศาสนานอกรีตและประชาชน 
ภายใต้การห้าม 
บัพพาชนียกรรม (excomm 
unication) ด้วยเหตุผล 
ด้านศาสนา เศรษฐกิจและ 
การเมืองผสมกัน การแข่งขันกัน 
ระหว่างคริสเตียนและมสุลิมยัง 
นาไปสู่พันธบัตรระหว่างกลุ่ม 
แยกศาสนาต่อคู่แข่งของตน 
เช่นคริสเตียนเป็นพันธมิตรกับ 
รัฐสุลต่านรูมที่นับถืออิสลาม 
ระหว่างสงครามครูเสดครัง้ที่ห้า
• สงครามครูเสดส่งผลกระทบใหญ่หลวงทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมต่อยุโรปตะวันตก มัน 
ส่งผลให้จักรวรรดิไบแซนไทน์ที่นับถือคริสต์อ่อนแอลงมาก และเสียให้แก่เติร์กมุสลิมในอีกหลาย 
ศตวรรษต่อมา เรกองกิสตา สงครามอันยาวนานในคาบสมุทรไอบีเรีย ซึ่งกาลังคริสเตียนพิชิต 
คาบสมุทรคืนจากมุสลิม มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสงครามครูเสด
• มีสงครามครูเสดเกิดขึน้หลายครัง้ แต่ครัง้ที่สาคัญที่ใหญ่ที่สุดเกิดขึน้ระหว่าง 
ศตวรรษที่ 11 ถึง 13 ซงึ่มีสงครามใหญ่ๆเกิดขึน้ถึง 9 ครัง้ในมหาสงครามครัง้นี้ 
และยังมีสงครามย่อยๆเกิดอีกหลายครัง้ในระหว่างนัน้ สงครามบางครัง้ก็เกิดขึน้ 
ภายในยุโรปเอง เช่น ที่สเปน และมีสงครามย่อยๆเกิดขึน้ตลอดศตวรรษที่16 
จนถึงยุคเรอเนสซองซ์และการปฏิรูปศาสนา
• สงครามครูเสดครั้งที่ 1 ค.ศ. 1095-1101 
• เริ่มต้นเมื่อปี 1095 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 (Urban II) แห่งกรุงโรม รวบรวม 
กองทัพชาวคริสต์ไปยังกรุงเยรูซาเลม ช่วงแรกกองทัพของปีเตอร์นักพรต(Peter the 
Hermit) นาล่วงหน้ากองทัพใหญ่ไปก่อน ส่วนกองทัพหลักมีประมาณ 50,000 คนซึ่งส่วน 
ใหญ่มาจากประเทศฝรั่งเศส นาโดย โรเบิร์ต เคอร์โทส ดยุกแห่งนอร์มังดีโอรสของสมเด็จพระ 
เจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ
• ในที่สุดเมื่อปี 1099 กองทัพ 
ก็เดินทางจากแอนติออค 
มาถึงกาแพงเมือง และยึด 
ฐานที่มนั่ใกล้กาแพงเข้าปิด 
ล้อมเยรูซาเลมไว้ กองกาลัง 
มุสลิมที่ได้รับการขนานนาม 
ว่า ซาระเซ็น ได้ต่อสู้ด้วย 
ความเข้มแข็ง ทว่าท้ายที่สุด 
นักรบครูเสดก็บุกฝ่าเข้าไป 
และฆ่าล้างทุกคนที่ไม่ใช่ชาว 
คริสต์กระทงั่ชาวมุสลิมใน 
เมืองหรือชาวยิวในสถานที่ 
ทางศาสนาก็ล้วนถูกฆ่าจน 
หมด เหลือเพียงผู้ปกครอง 
เดิมในขณะนัน้ซงึ่ได้รับ 
อนุญาตให้ออกไปได้ แต่ทว่า 
ข่าวการรบนัน้ไม่อาจไปถึง 
พระสันตะปาปา เนื่องจาก 
พระองค์สิน้พระชนม์ในอีก 
ไม่กี่วันถัดมา
• ผู้นาเหล่านักรบศักดิ์สิทธิ์ที่ 
ได้รับเลือกคือ ก็อดฟรีย์แห่ง บู 
วียอง ซงึ่อยู่ในตาแหน่งนาน 
หนึ่งปีจึงเสียชีวิต เดือน 
กรกฎาคมปี 1100บอลด์วิ 
นจากเอเดสซาจึงขึน้สืบเป็น 
กษัตริย์ พระองค์อภิเษกกับเจ้า 
หญิงอาร์เมเนีย แต่ไร้รัช 
ทายาท พระองค์สวรรคตในปี 
1118 ผู้เป็นราชนัดดานาม 
บอลด์วินจึงครองราชย์เป็น 
กษัตริย์บอลด์วินที่ 2 แห่ง 
อาณาจักรศักดิ์สิทธิ์ มีราชธิดา 
3 พระองค์ และที่น่าสนใจคือ 
ครัง้นีบั้ลลังก์สืบทอดทางธิดา 
องค์โตหรือมเหสี และพระ 
สวามีจะครองราชย์แทน 
กษัตริย์องค์ก่อน
• สงครามครูเสดมีสาเหตุหลักมาจากความแตกต่างทางความเชื่อในศาสนาแต่ละศาสนา จนทา 
ให้ไม่เข้าใจซงึ่กันและกัน ซงึ่ผู้เริ่มต้นคือชาวมุสลิมต้องการครอบครองดินแดนศักดิ์สิทธิ์ คือ กรุง 
เยรูซาเลม นอกจากนัน้เหตุผลทางการเมืองก็เป็นอีกสาเหตุของสงครามด้วย เพราะในสมัยนัน้ 
เศรษฐกิจในยุโรบตกต่า บิช๊อปผู้นาศาสนาในโรมันคาทอลิกเรืองอานาจมาก และมีอานาจเหนือ 
กษัตริย์ และครอบครองทรัพย์สินมหาศาล ขนาดมีความเชื่อในตอนนัน้ว่า ถ้าเป็นไปได้พ่อแม่ 
ทุกคนอยากให้บุตรชายของตนเป็นนักบวชเพื่อจะเป็นบิช๊อบ หรือโบ๊ป ผู้นาศาสนา
• สงครามครูเสดได้คร่าชีวิตและ 
ทรัพย์สินของมนุษยชาติอย่าง 
มากมายมหาศาล เพราะบิช๊อบอ้าง 
ว่าเขาสามารถล้างบาปให้กับนักรบ 
ครูเสดได้ และอนุญาตให้ปล้น ฆ่า 
ยึดทรัพย์พวกนอกศาสนาได้ ซึ่ง 
หลัการนีไ้ม่มีในพระคาภีร์ไบเบิล้อีก 
ทัง้ขุนนางในสมัยนัน้ต้องการยึด 
ทรัพย์สินของพวกยิวที่ร่ารวย และ 
ต้องการมีอิทธิพลในยุโรบไปจนถึง 
ตะวันออกกลางจึงใช้ข้ออ้างของ 
ศาสนามาอ้างในการทาสงครามครัง้ 
นี้
• ผลของสงครามครูเสดนี้ 
ฆ่าคนไปจานวน 
มากมายนับจากยิวในยุ 
โรบไปจนถึงยิวในเยรูซา 
เร็ม และทาให้ชาวมุสลิม 
และคริสเตียนบาดหมาง 
กันทัง้ๆที่ก่อนหน้านีทั้ง้ 
สองศาสนา แม้ทัง้สอง 
จะมีความต่างกันแต่ 
สามารถอยู่ร่วมกันได้ใน 
ดินแดนแถบนัน้ และ 
สงครามครูเสดทาให้ 
ความขัดแย้งเหล่านัน้ 
ยังคงหลงเหลือมาจนถึง 
ปัจจุบัน
• แต่ผลของสงครามครูเสดนัน้ ทา 
ให้ยุโรปเกิดความเปลี่ยนแปลงไป 
มากมาย ทาให้เกิดการติดต่อ 
ระหว่าง โลกตะวันตกและ 
ตะวันออก ในรูปแบบการทา 
การค้า ซึ่งเรียกว่า ยุคปฏิรูป 
การค้า และ ทาให้เกิดยุก ฟื้นฟู 
ศิลปะวิทยาการ การการสร้าง 
สถาปตยกรรมที่รวมกันของสอง 
ศาสนา ตลอดจนความรู้ 
การศึกษาขึน้มาด้วย
สงครามครูเสดครั้งที่ 2 (1147–1149) 
• ลัทธิศักดินา 
(Feudalism) 
ที่พวกครูเสด 
นามาใช้ในเอเชีย 
น้อย (Asia 
Minor )นีไ้ด้ 
ระบาดในหมู่พวก 
มุสลิมเช่นกัน พวก 
มุสลิมชนชาติต่าง 
ๆ ในตะวันออก 
กลางต่างก็แก่งแย่ง 
ถืออานาจกัน แตก 
ออกเป็นหลายนคร
• อิมาดุดดีน ซังกี(Imaduddin Zangi) ผู้เป็นบุตรคนหนงึ่ของ อัก สุนกูร อัลฮาญิบ ซงึ่เป็น 
เจ้าเมืองฮะลับ หรืองอเลปโป (ภาษาละติน: Aleppo) ภายใต้อาณาจักรของ มะลิกซาห์ใน 
ค.ศ. 1127 ได้เป็นอะตาเบก (เจ้านคร) แห่งโมสุล และต่อมา 1128 ก็ได้รวบรวมอเลปโปเข้าอยู่ 
ใต้อานาจของตน โดยเข้าข้างกษัตริย์แห่งสัลญูก ซึ่งกาลังแย่งชิงเขตแดนต่าง ๆ ของอาณาจักร 
อับบาสียะหฺในปี ค.ศ. 1135 เขาพยายามตีนครดามัสคัส เมื่อรวบรวมให้อยู่ใต้อานาจ แต่ก็ไม่ 
สาเร็จ ระหว่างทางที่ถอยทัพกลับไปอเลปโป ก็ได้เข้าตีนครฮิมสฺเพื่อยึดมาเป็นของตน แต่ตีไม่ 
สาเร็จ สองปีต่อมา ซังกีย้อนกลับมาตีนครฮิมสอฺีกครัง้ แต่ก็ไม่สาเร็จอีกเช่นกัน ทางนคร 
ดามัสคัสเมื่อกลัวว่าซังกีจะยกทัพมาประชิตเมืองอีกครัง้ ก็ได้ผูกสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรเยรู 
ซาเลมของพวกครูเสด
• ซังกียกทัพไปตีพวกครูเสด จนเกิด 
ปะทะกันที่บารีน ฟูล์ก เจ้า 
ราชอาณาจักรเยรูซาเลมพ่ายแพ้ พา 
กองทัพที่รอดตายหนีออกจากนคร 
เยรูซาเลม ซังกีได้ผูกสัมพันธไมตรี 
กับนครดามัสคัส เมื่อเห็นว่าตนไม่มี 
ความสามารถที่จะเอาชนะได้ 
ประกอบกับได้ข่าวว่า จักรพรรดิ 
ยอห์น คอมเนนุส (John 
Comnenus) ได้ยึดเอานครอัน 
ติออก ที่พวกครูเสดปกครองอยู่นัน้ 
เข้ามาอยู่ในอาณาจักรไบแซนไทน์ 
และได้ส่งกองทัพมาประชิตเมืองอ 
เลปโปของตน
• พวกครูเสดที่ส่งมาโดยจักรพรรดิยอห์น คอมเนนุส (John Comnenus) พวกนียึ้ดเมืองบุ 
ซาอะ (Buzaa) ได้ฆ่าพวกผู้ชายทัง้หมดแล้วกวาดต้อนผู้หญิงและเด็กไปเป็นทาส 
• แม้ซังกีจะวางแผนการเพื่อยึดนครดามัสคัสอีกในเวลาต่อมา ถึงขัน้กับสมรสกับนางซมุรุรุด 
มารดาเจ้านคร ด้วยการยกเมืองฮิมสฺเป็นสินสอด และต่อมาเจ้านครก็ถูกลอบสังหาร ซังกีก็ไม่ 
อาจจะยึดเอานครดามัสคัสเป็นของตนได้ เวลาต่อมา นครดามัสคัสก็กลับไปรือ้ฟื้น 
ความสัมพันธ์กับพวกครูเสดอีกครัง้ และได้ร่วมกันโจมตีกองทัพของซังกีที่บานิยาส
• ซังกีได้ยกทัพเข้าตีนครเอเดสสาที่อยู่ภายใต้พวกครูเสดแตกเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1114 
จุดนีเ้ป็นจุดเริ่มต้นของสงครามครูเสดครัง้ที่ 2 
• ซังงีถูกทาสรับใช้ของตน ซึ่งเป็นชาวแฟรงก์ ลอบสังหารเมื่อวันที่ 5 เราะบีอุษษานีย์541 ตรงกับ 
วันที่ 14 กันยายน 1146 ซังงีมีบุตร 4 คน ล้วนเป็นคนมีความสามารถทัง้สนิ้ ในระหว่างความ 
ยุ่งยากนีพ้วกคริสต์ในเมืองเอเดสสา คิดกบฏฆ่าทหารมุสลิมที่รักษาเมืองและได้รับความ 
ช่วยเหลือจากพวกแฟรงก์ ภายใต้การนาของโยสเซลิน (Joscellin) ยึดเมืองเอเดสสาได้ แต่ 
บุตรสองคนของซังงีชื่อ นูรุดดีน มะฮฺมูด (ฝรั่งเรียก Noradius) ตีเมืองเอเดสสากลับคืนมา 
ได้ พวกที่ก่อกบฏและทหารแฟรงก์ถูกฆ่า พวกอาร์มิเนียนที่เป็นต้นคิดกบฏถูกเนรเทศ และนูรุด 
ดีนสงั่ให้รือ้กาแพงเมือง ผู้คนต่างหนีออกจากเมืองจนเมืองเอเดสสากลายเป็นเมืองร้าง
• การสูญเสียเมืองเอเดสสาเป็นครัง้ที่ 2 นี้ได้ก่อให้เกิด 
การโฆษณาขนานใหญ่ในยุโรป นักบุญเซ็นต์เบอร์นาร์ด 
(Bernard Clairvaux) ซึ่งฉลาดในการพูดและได้ 
ฉายาว่า ปีเตอร์นักพรตคนที่สอง ได้เที่ยวเทศนาปลุกใจ 
นักรบ ให้ร่วมกันป้องกันสถานกาเนิดแห่งศาสนาคริสต์ 
เหตุนีท้าให้พวกคริสเตียนตกใจกลัวยิ่งนักว่า 
พวกสัลญูกตุรกีจะยกทัพมาตียุโรป และตนจะไม่ได้เป็น 
เจ้าของศาสนสถานในปาเลสไตน์อีก การปลุกใจครัง้นี้ 
ไม่เร้าใจแต่เพียงขุนนาง อัศวินและสามัญชน ซึ่งเป็น 
ส่วนในสงครามครูเสดครัง้แรกเทา่นัน้ พวกกษัตริย์ต่าง 
ๆ ก็พลอยนิยมไปด้วย พระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศสได้ 
ถือเอาสงครามครูเสดเป็นเครื่องเบี่ยงบ่ายการกระทาอัน 
โหดร้าย ต่อพลเมืองบางพวกที่เป็นกบฏต่อพระองค์ 
กษัตริย์คอนราดที่ 3 แห่งเยอรมันเข้าร่วมทัพด้วย 
เหตุการณ์นีเ้กิดขึน้ใน ค.ศ. 1147 ข้างพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 
แห่งฝรั่งเศส มีพระมเหสีร่วมไปในกองทัพด้วย ชื่ออิ 
เลนอร์(Eleanor of Guienne มเหสีคนนีต้่อมา 
ไปสมรสกับพระเจ้าเฮนรี่ที่ 2 ของอังกฤษ) การที่ราชินี 
เข้าร่วมกองทัพด้วยทาให้ผู้หญิงฝรั่งเศสอีกจานวนมาก 
อาสาเข้ากองทัพครูเสด ซงึ่คราวนัน้มีพลประมาณ 
900,000 คน พวกฝรั่งเศสได้กระทาชู้กับหญิงในกองทัพ 
อย่างเปิดเผย กองทัพของสองกษัตริย์ได้รับการต่อต้าน 
และเสียหายอย่างหนัก
• ส่วนหนึ่งกองทัพของกษัตริย์คอนราดถูกทาลายที่ 
เมืองลาซิกียะหฺ(ภาษาละติน: Laodicea หรือ 
Latakia) ส่วนกองทัพของพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ที่ยก 
มาทางทะเลก็ถูกโจมตียับเยินโดยเฉพาะที่เมืองก็ 
อดมูส (Babadagh ปัจจุบันในตุรกี ภาษาละติน: 
Cadmus) อย่างไรก็ตามเนื่องจากพวกครูเสดมี 
กาลังพลมาก จึงเหลือรอดมาถึงเมืองอันติออก ซึ่ง 
เวลานัน้พวกขุนนางและอัศวินจานวนมากพักอยู่ใน 
เมืองอันติออก ซงึ่เวลานัน้เรย์มอง ผู้เป็นลุงของราชินี 
อเีลนอร์เป็นผู้ปกครองเวลานัน้พวกขุนนางและ 
อัศวินจานวนมากพักอยู่ในเมืองอันติออกเช่น เคาน์ 
เตสแห่งดูลูส (Countess of blois) เคาน์เตส 
แห่งรูสสี (Countess of Roussi) ดัชเชสแห่ง 
บุยยอง (Duchess of Bouillon), Sybille 
แห่งฟแลนเดอร์ส และสตรีของผู้สูงศักดิ์อื่น ๆ อีก แต่ 
จอมราชินีของพวกเขา คือมเหสีของพระเจ้าหลุยส์ที่ 
7 เมื่อพักผ่อนและสนุกสนานกับพวกผู้หญิงเพียงพอ 
แล้ว พวกครูเสดก็ยกทัพเข้าล้อมเมืองดามัสคัส แต่ไม่ 
สาเร็จ เพราะนูรุดดีน และสัยฟุดดีน อัลฆอซี บุตรทัง้ 
สองของซังกีได้ยกทัพมาช่วย ทัง้กษัตริย์คอนราด 
แห่งเยอรมนีและพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศสได้ 
เลิกทัพกลับยุโรป พวกครูเสดต้องล่าทัพกลับ 
บ้านเมืองด้วยความผิดหวังและสูญเสียอย่างหนัก
• ส่วนพวกครูเสดที่มาจากพวกยุโรปเหนือ ก็ได้เคลื่อนทัพจนถึงโปรตุเกส แล้วได้ร่วมมือกับ 
กษัตริย์อัลฟอนโซ เพื่อโจมตีนครลิสบอน และขับไล่พวกมุสลิมออกจากนครนีใ้นปี1147 
• กองทัพครูเสดจากเยอรมันได้เข้าไปโจมตีพวกสลาฝที่อยู่รอบอาณาเขตอาณาจักรเยอรมัน
สงครามครูเสดครั้งที่ 3 (1187–1192) 
• ศอลาฮุดดีน อัลอัยยูบีย์ได้ตีเอานครเยรูซาเลมกลับคืนมาเป็น 
ของพวกมุสลิมอีกครัง้ในปี 1187 
• เมื่อศอลาฮุดดีนได้ข่าวพวกแฟรงก์ยกทัพมา จึงประชุมนายทัพ 
โดยให้ความเห็นว่าจะโจมตีพวกนีข้ณะเดินทัพอยู่ แต่พวกนาย 
พลว่าให้ตีเมื่อมาถึงชานเมืองอักกะ (Acre) พวกครูเสดได้ตัง้ 
ทัพล้อมเมืองนีไ้ว้ และปีกข้างหนึ่งจดทะเล ทาให้สามารถรับ 
เสบียงจากยุโรปได้สะดวก ถ้าศอลาฮุดดีนได้เริ่มโจมตีพวกนี้ 
ขณะเดินทาง ก็คงไม่ประสบสถาณะคับขันเช่นนี้พวกตุรกีจาก 
เมืองใกล้ ๆ ก็ยกทัพมาช่วย และในวันที่ 1 ชะอฺบาน 585 (14 
กันยายน 1189 ) ศอลาฮุดดีนได้เริ่มโจมตีพวกครูเสด หลานชาย 
ของท่านคนหนึ่งชื่อ ตะกียุดดีน ได้แสดงความกล้าหาญมากใน 
การรบ ตอนนีท้หารศอลาฮุดดีนมีกาลังน้อยกว่าพวกครุเสดมาก 
เพราะต้องกระจายกาลังป้องกันเมืองหน้าด่านต่าง ๆ เช่นที่ 
ยืนยันเขตแดนติดเมืองตริโปลี, เอเดสสา, อันติออก อเล็กซานเด 
รีย ฯลฯ ในรอบนอกเมืองอักกานัน้ พวกครูเสดถูกฆ่าราว 10,000 
คน ได้เกิดโรคระบาดขึน้เพราะด้วยศพทหารเหล่านี้เนื่องจากติด 
พันอยู่การสงคราม ไมส่ามารถรักษาที่รบให้สะอาดได้ ศอลาฮุดดี 
นเองได้รับโรคระบาดนีด้้วย แพทย์แนะนาให้ถอนทหารและได้ยก 
ทัพไปตัง้มนั่อยู่ที่ อัลคอรรูบะหฺพวกครูเสดจึงยกทัพเข้าเมืองอัก 
กาและเริ่มขุดคูรอบตัวเมือง
• ศอลาฮุดดีนได้มีหนังสือไปยังสุลฎอนของมอร็อคโคให้ยกทัพมาสมทบชว่ยแต่พวกนีไ้ด้ปฏิเสธ ในฤดูใบไม้ผลิศอลาฮุดดีนได้ยก 
ทัพมาโจมตีเมืองอักกาอีก พวกครูเสดได้เสริมกาลังมนั่และสร้างหอคอยหลายแห่ง แต่ทัง้หมดถูกกองทัพศอลาฮุดดีนยิงด้วยด้วย 
ลูกไฟ เกิดไฟไหม้ทาลายหมด ตอนนีก้าลังสมทบจากอียิปต์มาถึงทางเรือและกาลังการรบจากที่อื่นมาด้วย พวกแฟรงก์เสียกาลัง 
การรบทางแก่อียิปต์อย่างยับเยิน พวกครูเสดถูกฆ่าและเสียกาลังทัพมาก แต่ในปลายเดือนกรกฎาคม 1190 เคานต์เฮนรี่แห่งแชม 
เปญ ผู้มีสายสัมพันธ์กับพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสได้ยกทัพหนุนมาถึง ศอลาฮุดดีนได้ถอยทัพไปตัง้มนั่ที่อัลคอรรูบะหฺอีก ได้ทิง้กอง 
ทหารย่อย ๆ ไว้ ซงึ่ได้ต่อสู้พวกครูเสดอย่างกล้าหาญ ตอนนีพ้วกครูเสดไมส่ามารถคืบหน้าได้ จึงจดหมายไปยงัโปีปขอให้จัดทัพ 
หนุนมาช่วย พวกคริสเตียนได้หลงั่ไหลกลับมาสมทบพวกครูเสดอีกครัง้ เพราะถือว่าการรบ"พวกนอกศาสนา"ครัง้นีท้าให้ตนถูก 
เว้นบาปกรรมทัง้หมดและได้ขึน้สวรรค์ ศอลาฮุดดีนจัดทัพรับมือพวกนีอ้ย่างเต็มที่ ให้ลูกชายของตนชื่อ อะลีย์อษุมาน และฆอซี 
อยู่กลางทัพ ส่วนปีกทางขวาให้น้องชายชื่อสัยฟุดดีนเป็นแม่ทัพ ทางซ้ายให้เจ้านครต่าง ๆ คุม แต่ในวันประจัญบานกันนัน้ตัวศอ 
ลาฮุดดีนเองป่วย จึงได้เฝ้าดูการสุ้รบจากยอดเขาแห่งหนึ่ง พวกครูเสดถูกตีฟ่ายตกทะเลได้รับความเสียหายอยา่งหนัก พวกนีเ้ริ่ม 
ขาดแคลนอาหารและโดยที่ฤดูหนาวย่างเข้ามา จึงพักการรบ
• เมื่อถึงต้นฤดูใบไม้ผลิ คือเดือนเมษายน 1191 พวกครูเสดได้รับทัพหนุนเพิ่มขึน้อีก โดยพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสได้ยกทัพมา พร้อม 
กันนัน้พระเจ้าริชาร์ดใจสิงห์แห่งอังกฤษก็ยกทัพมาอีกด้วย มีเรือรบมา 20 ลา เต็มไปด้วยทหารและกระสุน กาลังหนุนของศอลา 
ฮุดดีนมาไมพ่ร้อม ทหารมุสลิมในเมืองอักกามีกาลังน้อยกว่าจึงขอยอมแพ้พวกครุเสด โดยแม่ทัพมุสลิมมีนคนหนึ่งชื่อ มัชตูบ ผู้ 
คุมกาลังป้องกันอักกาได้อุทรต่อพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสแต่ถูกปฏิเสธเว้นแต่ พวกมุสลิมจะยอมยกเมืองเยรูซาเลมให้ พวกมุสลิม 
จึงกลับสู้รบอีกจนสุดชีวิต ขณะการล้อมเมืองและการสู้รบอยู่เป็นเชน่นีไ้ด้เกิดโรคระบาดเกิดขึน้ ในที่สุดมีเงื่อนไขว่า พวกมุสลิม 
จะต้องคืนไม้กางเขน(ดัง้เดิมสมัยพระเยซู) และต้องเสียค่าปรับเป็นทอง 200,000 แท่ง แต่เนื่องจากต้องเสยีเวลาหาทองจานวน 
เท่านี้กษัตริย์ริชาร์ดใจสิงห์แห่งอังกฤษ ผู้ที่นักประวัติศาสตร์เคยยกย่องและชื่นชมกันนัน้ได้จับทหารมุสลิมจานวน 27,000 คน 
ออกจากเมืองและสับตอ่หน้าต่อตาคนทัง้หลาย เมืองอักกาตกอยู่ในมือพวกครูเสดที่บ้าศาสนาเหล่านี้ส่วนทัพศอลาฮุดดนีต้อง 
ถอยทัพไปตัง้ที่อื่นเพราะกาลังน้อยกว่าและกาลังหนุนไมมี่พอ ตอนหนึ่งมีเรือจากอียิปต์ลาเลยีงเสบียงมาช่วย แต่เกือบถูกครูเสด 
ยึดได้ นายเรือจึงสงั่ให้จมเรือพร้อมทัง้คนในเรือทัง้หมด
• กองทัพครูเสดภายใต้การนาของพระ 
เจ้าริชาร์ดใจสิงห์ได้บุกไปยังอัสก็อ 
ลาน (ภาษาละติน: Ascolon) ศอ 
ลาฮุดดีนได้ยกกองทัพไปยันไว้ได้มี 
การรบกันอย่างกล้าหาญถึง 11 ครัง้ 
ในการรบที่อัรสูฟ ศอลาฮุดดีนเสียท 
หารราว 8,000 คน ซงึ่เป็นทหารชัน้ดี 
และพวกกล้าตาย เมื่อเห็นว่าอ่อน 
กาลังป้องกันปาเลสไตน์ไม่ได้ จึงยก 
ทัพไปยังอัสก็ออลาน อพยพผู้คนออก 
หมดแล้วรือ้อาคารทงิ้ เมื่อพระเจ้าริ 
ชาร์ดมาถึง ก็เห็นแต่เมืองร้าง จึงทา 
สัญญาสงบศึกด้วย โดยได้ส่งทหารไป 
พบน้องชายศอลาฮุดดีนชื่อ สัยฟุดดีน 
(ภาษาละติน: Saphadin) ทัง้สอง 
ได้พบกัน ลูกของเจ้านครครูเสดคน 
หนึ่งเป็นล่าม พระเจ้าริชาร์ดจึงให้ 
บอกความประสงค์ที่อยากให้ทา 
สัญญาสงบศึก พร้อมทัง้บอกเงื่อนไข 
ด้วย ซึ่งเป็นเงือนไขที่ฝ่ายมุสลิม 
ยอมรับไม่ได้ การพบกันครัง้นัน้ไม่ 
ได้ผล
• ฝ่ายมาร์ควิสแห่งมองเฟอร์รัดผู้ร่วมมาใน 
กองทัพด้วยเห็นว่าการทาสัญญาโอ้เอ้ จึง 
ส่งสารถึงศอลาฮุดดีน โดยระบุเงื่อนไข 
บางอย่าง แต่สัญญานีไ้ม่เป็นผลเช่นกัน 
ต่อมาพระเจ้าริชาร์ดขอพบศอลาฮุดดีน 
และเจรจาเรื่องสัญญาสงบศึกอีก โดย 
เสนอเงื่อนไขว่า พวกครูเสดต้องมีสิทธิ 
ครอบครองเมืองต่าง ๆ ที่ได้ตีไว้ และฝ่าย 
มุสลิมต้องคืนเยรูซาเลมให้พวกครูเสด 
พร้อมกับไม้กางเขนที่ทาด้วยไม้ ซึ่งพวก 
เขาเชื่อว่าเป็นไม้ที่พระเยซูถูกพวกยิวตรึง 
ทรมานด้วย ศอลาฮุดดีนปฏิเสธที่จะยก 
เมืองเยรูซาเลมให้พวกครูเสด แต่ยอมใน 
เรื่องให้เอาไม้กางเขนที่กล่าวในเงื่อนไข 
ที่ว่า พวกครูเสดต้องปฏิบัติตามสัญญา 
ของตนอย่างเคร่งครัด การเจรจานีก้็ไม่ 
เป็นผลอีกเช่นกัน พระเจ้าริชาร์ดจึงหันไป 
เจรจากับสัยฟุดดีนใหม่โดยให้ความเห็น 
ว่าการเจรจานี้จะเป็นผลบังคับเมื่อศอลา 
ฮุดดีนยินยอมด้วยในปั้นปลาย
เงื่อนไขมีว่า 
• กษัตริย์ริชาร์ดยินดียกน้องสาวของเขาผู้ 
เป็นแม่หม้าย(แต่เดิมเป็นมเหสีของ 
กษัตริย์ครองเกาะสิซิลี)ให้แก่สัยฟุดดีน 
(น้องชายศอลาฮุดดีน) 
• ของหมัน้ในการสมรสนีคื้อ กษัตริย์ริชาร์ด 
จะยกล้อเล่นในเมื่องที่พระองค์ตีได้ ตาม 
ชายทะเลให้น้องสาวของตน และศอลา 
ฮุดดีนก็ต้องยกเมืองต่าง ๆ ที่ยึดได้ให้ 
น้องชายเป็นการทาขวัญเช่นกัน 
• ให้ถือเมืองเยรูซาเลมเป็นเมืองกลาง ยก 
ให้แก่คู่บ่าวสาวนี้และศาสนิกของทัง้สอง 
ฝ่ายมีสิทธิ์ที่จะใปมาพานัก อยู่ในเมืองนี้ 
อย่างเสรี บ้านเมืองและอาคารทาง 
ศาสนาที่ปรักหังพัง ต่างช่วยกันซ่อมแซม
• ศอลาฮุดดีนยอมตามเงื่อนไขนี้แต่ 
สัญญาก็ไม่เป็นผลอีก เพราะพวก 
พระในศาสนาคริสต์ไม่ยอมให้พวกค 
ริสเตียนยกลูกสาว, น้องสาว หรือ 
ผู้หญิงฝ่ายตนไปแต่งงานกับมุสลิมผู้ 
ที่พวกเขาถือว่าเป็น“พวกนอก 
ศาสนา” พวกบาทหลวงได้ชุมนุมกัน 
ที่จะขับพระเจ้าริชาร์ดออกจาก 
ศาสนาคริสต์ให้ตกเป็นคน นอก 
ศาสนาไปด้วย และได้ขู่เข็ญน้องสาว 
ของพระองค์ต่าง ๆ นานา
• กษัตริย์ริชาร์ดจึงได้เข้าพบสัยฟุดดีนอีก ขอให้ 
เปลี่ยนจากการนับถืออิสลามมาเป็นคริสเตียน 
แต่สัยฟุดดีนปฏิเสธ ในขณะเดียวกันกษัตริย์ริ 
ชาร์ดเกิดการราคาญการแทรกแซงของมาร์ควิ 
สแหง่มอง เฟอรัด จึงจ้างให้ชาวพืน้เมืองลอบฆ่า 
เมื่อเรื่องมาถงึเช่นนี้กษัตริย์ริชาร์ดก็ท้อใจอยาก 
ยกทัพกลับบ้าน เพราะตีเอาเยรูซาเลมไม่ได้ ได้ 
เสนอเงื่อนไขที่จะทาสัญญาสงบศึกกับศอลาฮุด 
ดีนไม่ยอมต่อเงื่อนไขบางข้อ เพราะบางเมืองที่ 
กล่าวนัน้มีความสาคัญต่อการป้องกันอาณาจักร 
อย่างยิ่ง ไม่สามารถปล่อยให้หลุดมือไปได้ แต่ 
ความพยายามของนักรบทัง้สองนียั้งคงมีต่อไป 
จนในที่สุดเมื่อวันที่ 22 ชะอฺบาน 588 (2 
กันยายน 1192) ทัง้สองฝ่ายได้ทาสัญญาสงบ 
ศึกเป็นการถาวรและกษัตริย์ริชาร์ดได้ยกทัพ 
กลับบ้านเมือง เขายกทัพผ่านทางตะวันออกของ 
ยุโรปโดยปลอมตัว แต่กลับถูกพวกเป็นคริส 
เตียนจับไว้ได้คุมขังไว้ ทางอังกฤษต้องส่งเงิน 
จานวนมากเพื่อไถ่ตัวเขา
• สงครามครูเสดครัง้ที่ 3 ก็ยุติลงเพียงนี้ด้วการสูญเสียชีวิตมนุษย์นับแสน ผู้คนนับ 
ล้านไร้ที่อยู่ บ้านเมืองถูกทาลาย หลังจากนัน้ศอลาฮุดดีนได้ยกทหารกองเล็ก ๆ 
ไปตรวจตามเมืองชายฝั่ง และซ่อมแซมสถานที่ต่าง ๆ และได้กลับมาพักที่ 
ดามัสคัสพร้อมครอบครัว จนกระทงั่ถึงแก่ความตาย เมื่อวันที่ 27 ศอฟัร 589 (4 
มีนาคม 1193) มีอายุเพียง 55 ปี
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ 
• การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ 
(RENAISSANCE) เกิดในช่วง 
เวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 
คือ ปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ ถือ 
ว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ 
(TRANSITIONAL PERIOD) 
ของ ประวัติศาสตร์สองยุค การฟื้นฟู 
ศิลปวิทยาการเริ่มขึน้ที่นครรัฐต่างๆ 
บนคาบสมุทรอิตาลี ซงึ่มีความ มงั่คงั่ 
และร่ารวยจากการค้าขาย ต่อมาจึง 
แพร่หลายไปสู่บริเวณอื่นๆ ในยุโรป
• คาว่า RENAISSANCE แปลว่า เกิดใหม่ (REBIRTH) หมายถึง การนาเอา 
ศิลปวิทยาการของ กรีกและโรมันมาศึกษาใหม่ ทาให้ศิลปวิทยาการกรีก-โรมัน 
เจริญรุ่งเรืองอีกครัง้หนงึ่ เป็นสมัยที่ ชาวยุโรปเกิดความกระตือรือร้นสนใจอารยธรรม 
กรีก-โรมัน จึงถือว่าเป็นยุคเจริญรุ่งเรืองที่ ชาวยุโรปมีสิทธิและเสรีภาพ ช่วงเวลานีจึ้ง 
ถือว่าเป็นขบวนการขัน้สุดท้ายที่จะปลดปล่อยยุโรปจาก สังคมในยุคกลางที่เคยถูก 
จากัดโดยกฏเกณฑ์และข้อบังคับของคริสต์ศาสนาสาเหตุและความเป็นมาของการ 
ฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
สาเหตุและความเป็นมาของการ 
ฟื้นฟูศิลปวิทยาการ มีดังนี้ 
• 1. การขยายตัวทางการค้า ทาให้ 
พ่อค้าชาวยุโรปและบรรดาเจ้าผู้ครอง 
นครในนครรัฐ อิตาลีมีความมงั่คงั่ขึน้ 
เช่น เมืองฟลอเรนซ์เมืองมิลาน หัน 
มาสนใจศิลปะและวิทยาการความ 
เจริญในด้านต่างๆ ประกอบกับที่ตัง้ 
ของนครรัฐในอิตาลีเป็นศูนย์กลาง 
ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก มาก่อน 
ทาให้นักปราชญ์และศิลปินต่างๆ ใน 
อิตาลีจึงให้ความสนใจศิลปะและ 
วิทยาการของโรมัน
• 2. ความเจริญทางเศรษฐกิจและการ 
เกิดรัฐชาติในปลายยุคกลาง ทาให้เกิด 
การ เปลี่ยนแปลงหลายด้าน ทัง้ด้าน 
องค์กรทางการเมือง องค์กรทาง 
เศรษฐกิจซงึ่ต้องใช้ความรู้ความ 
สามารถมาบริหารจัดการ แต่ 
การศึกษาแบบเดิมเน้นปรัชญาทาง 
ศาสนาและสังคมในระบบฟิวดัล จึงไม่ 
สามารถตอบสนองความต้องการของ 
สังคมได้ ดังนัน้นักปราชญ์สาขาต่างๆ 
จึงหันมาศึกษา อารยธรรมกรีกและ 
โรมัน เช่น นักกฎหมายศึกษา 
กฎหมายโรมันโบราณเพื่อนามาใช้ 
พิพากษาคดี ทางการค้า นักรัฐศาสตร์ 
ศึกษาตาราทางการเมือง เพื่อนามาใช้ 
ในการทูตและความสัมพันธ์ระหว่าง 
ประเทศ รวมทัง้นักประวัติศาสตร์ 
นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ก็ 
ค้นหาความจริงและสนใจ ศึกษาอารย 
ธรรมกรีก-โรมันเช่นกัน เป็นต้น
• 3. ทัศนคติของชาวยุโรปในช่วงปลายสมัยกลางต่อการดาเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป 
จากเดมิ จากการที่เคร่งครัดต่อคาสงั่สอนทางคริสต์ศาสนา มุ่งแสวงหาความสุขใน 
โลกหน้า ใฝ่ใจ ที่จะหาทางพ้นจากบาป และปฏิบัติทุกอย่างเพื่อเสริมสร้างกุศลให้แก่ 
ตนเอง ได้เปลี่ยนมาเป็นการ มองโลกในแง่ดี และเบื่อหน่ายกับระเบียบสังคมที่เข้มงวด 
กวดขันของคริสตจักร รวมทัง้มีอคติต่อ การกระทามิชอบของพวกพระ จึงหันไปสนใจ 
ผลงานสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ของมนุษยชาติ และเห็น ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาชีวิต 
ตนเองให้ดีและมีคุณค่าขึน้ได้ ซงึ่แนวคดิดังกล่าวเป็นที่มาของแนวคิด แบบมนุษยนิยม 
(HUMANISM) ที่สนใจโลกปัจจุบันมากกว่าหนทางมุ่งหน้าไปสู่สวรรค์ดังเช่นเคย
• 4. การล่มสลายของ 
จักรวรรดิไบแซนไทน์หรือ 
จักรวรรดิโรมันตะวันออก 
เพราะถูกพวก มุสลิมเติร์ก 
ยึดครองใน ค.ศ. 1453 ทา 
ให้วิทยาการแขนงต่างๆ ที่ 
จักรวรรดิไบแซนไทน์สืบ 
ทอดไว้ หลงั่ไหลคืนสู่ยุโรป 
ตะวันตก 
ความเจริญในสมัยฟื้นฟู 
ศิลปวิทยาการ
• การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นการศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมัน ทัง้ด้านวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ 
ศิลปกรรม และวิทยาการด้านต่างๆ โดยให้ความสาคัญของมนุษย์กับการดาเนิน- ชีวิตในโลกปัจจุบัน ที่ 
เรียกว่า มนุษยนิยม (HUMANISM) โดยผู้ที่มีความคิดความเชื่อเช่นนีเ้รียก ตนเองว่า นักมนุษย 
นิยม (HUMANISTS) ซงึ่ได้พยายามปลดเปลอื้งตนเองจากการครอบงาของ คริสตจักรและระบบ 
ฟิวดัล ลักษณะที่ให้ความสาคัญของความเจริญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ คือ ถึงแม้จะเป็นความ 
สนใจศึกษาความรู้จากอารยธรรมกรีก-โรมัน แต่มิใช่การลอกเลียนแบบ จุดมุ่งหมายสาคัญ คือ 
การศึกษาความรู้เพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสร้างสรรค์สงิ่ใหม่ๆ ขึน้มา
ผลงานสาคัญ ได้แก่ 
• 1. วรรณคดีประเภทคลาสสิก นักมนุษยนิยมที่กระตุ้น จินตนาการของชาวยุโรปให้มาสนใจงานวรรณคดีและปรัชญา ได้รับการ ยกย่องว่าเป็น 
บิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรานเซสโก เพทราร์ก (FRANCESCO PETRARCA : ค.ศ. 1304-1374) ชาวอิตาลี ผู้ซงึ่ชีค้วาม งดงามของ 
ภาษาละตินและการใช้ภาษาละตินให้ถูกต้อง ผู้ที่สนใจและ นิยมงานเขียนวรรณคดีประเภทคลาสสิกจะค้นคว้าศึกษางานของ ปราชญ์สมัย 
โรมันตามห้องสมุดของวัดและโบสถ์วิหารในยุโรป แล้วนา มาคัดลอกรวมทัง้นาวรรณคดีและแนวคิดของปรัชญากรีกมาแปลเป็น ภาษาละติน 
เผยแพร่ทวั่ไป นอกจากนียั้งมีผลงานของนิคโคโล มา- เคียเวลลี (NICCOLO MACHIAVELLI : ค.ศ. 1469-1527) เรื่องเจ้าผู้ครอง นคร 
(THE PRINCE) กล่าวถึงลักษณะการเป็นผู้ปกครองรัฐที่ดี และ เซอร์ธอมัส มอร์(SIR THOMAS MORE : ค.ศ. 1478-1536) เขียน 
เรื่อง ยูโทเปีย (UTOPIA) กล่าวถึงเมืองในอุดมคติที่ปราศจากความเลวร้าย ซงึ่ผลงานของนักมนุษยนิยมเหล่านีน้าไปสู่การต่อต้านการ 
ปกครองและ วิธีปฏิบัติของคริสตจักรที่ขัดต่อคัมภีร์ไบเบิล ซงึ่ส่งผลทาให้เกิดการ ปฏิรูปศาสนาขนึ้ใน ค.ศ. 1517 ส่วนงานวรรณกรรมที่เป็นบท 
ละคร นักประพันธ์ที่สาคัญ คือ วิลเลียม เช็กสเปียร์(WILLIAM SHAKESPEARE: ค.ศ. 1564-1616) ซึ่งเขียนบทละครที่มีชื่อเสียง คือ 
โรมิโอและ จูเลียต (ROMEO AND JULIET) และเวนิสวาณิช (THE MARCHANT OF VENICE)
• 2. ศิลปกรรม ในยุคกลางศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนา 
โดยเฉพาะ ทาให้ ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการอย่างเสรีได้ ผลงานส่วนใหญ่ 
จึงขาดชีวิตชีวา แต่ศิลปกรรมในสมัย ฟื้นฟูศิลปวิทยานิยมงานศิลปะของกรีก- 
โรมันที่เป็นธรรมชาติ จึงให้ความสนใจความสวยงามใน สรีระของมนุษย์ มิติของ 
ภาพ สี และแสงในงานประติมากรรมและจิตรกรรมให้สมจริง สมดุล และ 
กลมกลืนสอดคล้องมากขึน้ ศิลปินที่สาคัญ เช่น
• - ไมเคิลแอนเจโล บูโอนาร์โรตี 
(MICHELANGELO 
BUONARROTI : ค.ศ. 1475- 
1564) เป็นศิลปินที่มีผลงานทัง้ด้าน 
จิตรกรรม ประติมากรรม และ 
สถาปัตยกรรม ผลงานประติมากรรมที่ 
สาคัญและมีชื่อเสียง คือ รูปสลักเดวิด 
(DAVID) เป็นชายหนุ่มเปลือยกาย 
และปิเอตา (PIETA) เป็นรูปสลักพระ 
มารดากาลังประคองพระเยซูในอ้อม 
พระกร ส่วน ผลงานจิตรกรรมที่มี 
ชื่อเสียง คือ จิตรกรรมฝาผนังที่เขียนไว้ 
บน เพดานและฝาผนังของโบสถ์ซีสติน 
(SISTINE CHAPEL) ในมหาวิ 
หารเซนต์ปีเตอร์ที่กรุงโรม ที่มีลักษณะ 
งดงามมาก
• – เลโอนาร์โด ดา วินชี 
(LEONARDO DA VINCI 
: ค.ศ. 1452-1519) เป็นศิลปินที่ 
มี ผลงานเป็นเลิศในสาขาต่างๆ 
ภาพเขียนที่มีชื่อเสียง คือ ภาพ 
อาหารมือ้สุดท้าย (THE LAST 
SUPPER) ซึ่งเป็นภาพพระเยซู 
กับสาวกนงั่ที่โต๊ะอาหารก่อนที่ 
พระเยซูจะถูกนาไปตรึงไม้ 
กางเขน และภาพโมนาลิซ่า 
(MONALISA) เป็นภาพหญิง 
สาวที่มีรอยยมิ้ปริศนากับ 
บรรยากาศของธรรมชาติ
• – ราฟาเอล (RAPHAEL : ค.ศ. 1483-1520) เป็นจิตรกรที่วาดภาพเหมือน 
จริง ภาพที่มี ชื่อเสียง คือ ภาพพระมารดาและพระบุตร พร้อมด้วยนักบุญจอห์น 
(MADONNA AND CHILD WITH ST. JOHN)
• 3. ด้านวิทยาการความเจริญอื่นๆ 
ได้แก่ 
- ด้านดาราศาสตร์ เป็นสาขาวิชาที่ 
ชาวยุโรปสนใจกันมากในช่วงเวลานี้ 
นัก ดาราศาสตร์ที่สาคัญ คือ คอ 
เปอร์นิคัส (ค.ศ. 1473-1543) ได้ 
เสนอทฤษฎีที่ขัดแย้งกับคาสอนของ 
คริสต์ศาสนา โดยระบุว่าโลกไม่ได้ 
แบนและไม่ได้เป็นศูนย์กลางของ 
จักรวาล แต่เป็นบริวารที่โคจร รอบ 
ดวงอาทิตย์
• - ด้านการพิมพ์ ในช่วงสมัยนีไ้ด้มีการ 
คิดค้นการพิมพ์ที่ใช้วิธีการเรียง 
ตัวอักษรได้ สาเร็จเป็นครัง้แรก โดยโย 
ฮัน กูเตนเบิร์ก ( JOHANNES 
GUTENBURG : ค.ศ. 1400- 
1468) ชาว เมืองไมนซ์(MAINZ) 
ในเยอรมนี ทาให้ราคาหนังสือถูกลง 
และเผยแพร่ไปได้อย่างกว้างขวาง
ผลของการ 
ฟื้นฟูศิลป 
วิทยาการ 
• ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ศิลปกรรมและวิทยาการต่างๆ 
ได้เจริญก้าวหน้ามากขึน้ส่งผล ให้คนยุโรปมีลักษณะ ดังนี้
• 1. ความสนใจในโลกปัจจุบัน ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ชาวยุโรปยังคงนับถือศรัทธา 
ใน พระเจ้า แต่จากการได้รับอิทธิพลจากแนวคิดแบบมนุษยนิยม ทาให้ชาวยุโรปมี 
แนวคิดในการ ดาเนินชีวิตในโลกปัจจุบันให้ดีและสร้างสิ่งต่างๆ เพื่อความสุขและ 
ความมนั่คงให้แก่ตน ทัง้หมดนี้สะท้อนในงานศลิปกรรมต่างๆ ที่สร้างขึน้เพื่อนสนอง 
ความพึงพอใจของตนเอง เช่น สร้างบ้าน เรือนอย่างวิจิตรสวยงาม การมีรูปปั้นประดับ 
อาคารบ้านเรือน การวาดภาพเหมือนของมนุษย์ เป็นต้น
• 2. ความต้องการแสวงหาความรู้ การที่ 
มนุษย์ต้องการหาความรู้และความ 
สะดวกสบาย ให้แก่ชีวิต ทาให้ต้องมีการ 
คิดสร้างสรรค์ผลงานและวิทยาการ 
ต่างๆ ดังนัน้มนุษย์ในสมัยฟื้นฟู ศิลป 
วิทยาการ จึงมีการส่งเสริมและ 
สนับสนุนการศึกษา การคิคค้น การ 
ทดลอง การพิพากษ์ วิจารณ์อย่างมี 
เหตุผล เป็นผลให้วิทยาการด้านต่างๆ 
พัฒนามากขึน้ สภาพสังคมของมนุษย์ 
ในสมัย นีคื้อการตื่นตัวในการค้นหา 
ความจริงของโลก ทาให้มนุษย์ต้องการ 
แสวงหาความรู้และสารวจดิน แดน 
ต่างๆ อันนาไปสู่การปฏิรูปศาสนา การ 
สารวจทางทะเล และการปฏิวัติทาง 
วิทยาศาสตร์ใน เวลาต่อมา
ขอขอบพระคุณที่รับชมค่ะ/ครับ

More Related Content

What's hot

เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
History Europe
History EuropeHistory Europe
History Europe
Chanapa Bungngern
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
sw110
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
Niwat Yod
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
Patt Thank
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
LeoBlack1017
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
yudohappyday
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
พัน พัน
 

What's hot (20)

เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
History Europe
History EuropeHistory Europe
History Europe
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 

Similar to เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล

Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
gain_ant
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
gain_ant
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
Omm Suwannavisut
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
miccmickey
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
Omm Suwannavisut
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
rawi05022544
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
Sherry Srwchrp
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
Khunapat Phisailert
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
Khunapat Phisailert
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
Juno Nuttatida
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
Pasika Chuchuea
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามNattha Namm
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
SomO777
 
Thai Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
Thai   Right of REVOLUTION & Political CORRUPTIONThai   Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
Thai Right of REVOLUTION & Political CORRUPTIONVogelDenise
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
ppompuy pantham
 

Similar to เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล (20)

Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
Thai Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
Thai   Right of REVOLUTION & Political CORRUPTIONThai   Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
Thai Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 

เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล

  • 1. เหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์ที่มีผลต่อโลกปัจจุบัน จัดทาโดย นายธวัธชัย กันนะเรศ เลขที่ 16 นายวราพล วรรณสาร เลขที่ 17 นางสาวพรนภา ลีกุล เลขที่ 33 นางสาวพัตรแพรว สุวรรณโชติ เลขที่ 35 ชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ อาจารย์บุญสืบ วางอภัย โรงเรียนท่าลี่วิทยา
  • 2. เหตุการณ์ สาคัญใน สมัยกลาง (ค.ศ.476- 1492) • ระบอบการปกครองแบบฟิวดัล • สงครามครูเสด • การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
  • 3. ระบบการปกครอง แบบระบอบฟิวดัล • ในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 9 ยุโรปได้เกิดระบบ ฟิวดัล (Feudalism) หรือระบบศักดินา สวามิภักด์ิ ซึ่งเป็น ระบบท่คีรอบคลุม ทังทางด้านการเมือง การปกครอง สังคม และ เศรษฐกิจของ ยุโรปยุคกลาง
  • 4. ในเวลาต่อมา คาว่า Feudalism มาจาก คาว่า ฟีฟ (Fief) หมายถึง ที่ดินที่เป็น พันธสัญญาระหว่าง เจ้านายที่เป็นเจ้าของ ที่ดิน ซึ่งเจ้าของที่ดิน จะเป็นพวกขุนนาง เรียกว่า ลอร์ด(Lord)
  • 5. กับผู้ใช้ประโยชน์ใน ที่ดิน คือ ข้า หรือ เรียกว่า วัสซัล (Vassal)ความสัมพั นธ์ในระบบฟิวดัลคือ ความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้อุปถัมภ์กับผู้ได้รับ การอุปถัมภ์
  • 6. การเกิดระบบฟิวดัลนั้น เริ่ม จากกษัติรย์ที่เจ้านายชั้นสูงของ ระบบและเป็นเจ้าของทีดินทัง้ ราชอาณาจักรจะพระราชทาน ที่ดินให้กับขุนนางระดับสูงใน ท้องถิ่นเพื่อให้ขุนนางระดับสูง จงรักภักดีและเป็นการตอบ แทนความดีความชอบจากการ ทา สงคราม ทั้งกษัตริย์และขุน นางจะมีพันธะต่อกัน กล่าวคือ ขุนนางมีหน้าที่ส่งทหารมา ช่วยเหลือเม่อืมีสงคราม ส่ง ภาษีตามเวลาที่กา หนด
  • 7. ส่วนกษัตริย์มีหน้าที่ให้ ความคุ้มครองและ ความยุติธรรมแก่ขุน นาง ทั้งนี้ขุนนาง ระดับสูงก็จะนาที่ดิน นั้นมาแบ่งให้กับขุน นาง ระดับรองลงไป ขุนนางระดับสูงจึงเป็น ข้าหรือวัลซัลของ กษัตริย์ แต่เป็น เจ้านายหรือลอร์ดของ ขุนนางระดับรองลงไป อีกเพื่อให้ขุนนาง ระดับรองภักดีและ สนับสนุนด้านกาลัง
  • 8. ส่วนประชาชนที่เป็นข้าติดที่ดินจะได้รับการคุ้มครองจากขุนนางระดับสูง จากนั้นขุน นางจะนาที่ดินนั้นมาหาผลประโยชน์และปกครองดูแลผู้คนดูแลคนที่จะทา มาหากินบน ที่ดินในเขตแมเนอร์(manor)ของตน ประชาชนที่อาศัยและทา งานในที่ดินนั้นเรียกว่า เซิร์ฟserf หรือข้าติดที่ดิน ดังนั้น ระบบนี้จึงเป็นการแบ่งที่ดินลงเป็นการแบ่งที่ดินลง เป็นทอด ขุนนางล่างสุดคืออัศวิน ในแต่ละแมเนอร์จะมีศูนย์กลางของแมเนอร์คือ ปราสาท ซึ่งเป็นที่อยู่ของขุนนางและครอบครัว บริเวณที่ดินโดยรวมเป็นที่ทา กินของ ชาวนาและเชิร์ฟ ซึ่งรวมกันเป็นหมู่บ้าน มีทั้งโรงตีเหล็ก ช่างซ่อมแซมสิ่งของ มีโบสถ์ สา หรับประกอบพิธีทางศาสนา รอบๆ หมู่บ้านจะเป็นพืน้ที่เกษตรกรรม ซึ่งชาวนาและ เซิร์ฟจะต้องแบ่งผลผลิตให้เจ้าของที่ดินเป็นค่าตอบแทน ความสัมพันธ์หรือข้อตกลง ของลอร์ดกับวัสซัลมีตามพิธีกรรมที่เรียกว่า “การแสดงความ จงรักภักดี”(homage)หรือสวามิภักด์ิ
  • 9.
  • 10. การล่มสลายของ ระบบฟิวดัล การท่รีะบบฟิวดัลล่ม สลายนั้นเป็นผลจาก การขยายตัวทาง การค้าและ อุตสาหกรรม ในยุโรป โดยเฉพาะในบริเวณ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทาให้เกิดชุมชน พาณิชย์อุตสาหกรรม ขึน้ ส่งผลให้ชาว ชนบท ละทิง้ที่นาเข้า มาประกอบอาชีพ ค้าขาย หรือ ประกอบการผลิต สินค้าหัตถกรรมใน เขตเมือง
  • 11. ทาให้สังคมมีการขยายตัว เกิดเป็น สังคมเมืองขึน้มาใหม่ ซึงผู้คนที่มาอยู่ใน เมืองไม่ได้อยู่ในระบบฟิวดัล แต่เป็น กลุ่มคนที่ประกอบอาชีพทางการค้าและ อุตสาหกรรม และเมื่อมีประชาชนเพิ่ม มากขนึ้อย่างรวดเร็ว ชุมชนเมือง ขยายตัวเพิ่มมากขนึ้ มีเมืองใหม่ๆ เกิดขึน้ทั่วทั้งยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 11-12 หัวเมืองในอิตาลี เช่นเมืองเวนิส เมืองเจนัว เนเธอร์แลนเป็นเมืองสาคัญ ทางด้านการค้าและอุตสาหกรรม การค้าทางทะเลมีความสา คัญเพิ่มมาก ขึน้โดยเฉพาะในเขตทะเลเหนือและ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมืองที่เกิดขึน้ ใหม่นี้มีการจัดการปกครองแบบ เทศาภิบาล มีการเก็บภาษีท้องถิ่น เพ่อืที่จะพัฒนาเมือง และมีระบบสร้าง ความปลอดภัย พวกพ่อค้าและพวกช่าง มีความมั่งคั่งขึน้ ชนชั้นกลางเหล่านี้เมื่อ มีอา นาจมากขึน้จึงได้หันไปสนับสนุน กษัตริย์์เพ่อืให้คุ้มครองกิจการและ ผลประโยชน์ของตน
  • 12. การฟื้นฟูทางเศรษฐกิจมีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงสังคมและ ระบอบการเมืองการปกครอง เพราะทาให้ระบอบการปกครอง แบบฟิวดัลเริ่มเสื่อมอา นาจลง ขุน นางที่เคยเป็นใหญ่และมีอา นาจ อิสระในการปกครองตาม ระบบแมเนอร์ต้องล่มสลาย ซึ่ง ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากขุนนาง ต้องออกไปทาสงครามและ เสียชีวิตจานวนมาก ทาให้พวกชน ชั้นกลาง(Bourgeoie) ขึน้มามี อานาจแทนขุนนาง
  • 13. • สังคมได้เปลี่ยนค่านิยมจาก เรื่องชาติกา เนิดตามชนชั้นมา เป็น ฐานะทางเศรษฐกิจของ บุคคล พวกขุนนางต้องขาย ท่ดีินใด้ชนชั้นกลาง ทา ให้เกิด การพัฒนาท่ดีินให้เป็น เกษตรกรรมเพื่อการค้า โดย เจ้าของท่ดีินยกเลิกวิธีการ ด้งัเดิม มาให้ชาวนาเช่าที่ดิน และจ่ายเงินให้กับเจ้าของ แทน ทาให้พันธะตามระบอบ ฟิวดัลสนิ้สุดลง ระบอบ กษัตริย์สามารถดึงอานาจ กลับคืนมาได้ และสถาปนา อานาจการปกครองสูงสุดตาม ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ได้อีกครั้งหนึ่ง ทา ให้การ ปกครองระบบฟิวดัลเสื่อม อานาจและล่มสลายลงใน คริสต์ศตวรรษที่ 16
  • 14. สงครามครูเสด • เป็นชุดสงครามรบนอก ประเทศทางศาสนา ที่ถูก ทาให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จ พระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 และศาสนจักร คาทอลิก มีเป้าหมายที่ แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึง ที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้ เยรูซาเล็มของคริสเตียน
  • 15. • เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และ สัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทัง้ สาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และ ศาสนาอิสลาม)[1] ภูมิหลังสงครามครูเสด เกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาด เหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ ค.ศ. 1071 และตัดการเข้าถึงเยรูซาเล็มของคริสเตียน จักรพรรดิไบแซนไทน์อเล็กซิสที่ 1 ทรง เกรงว่าเอเชียไมเนอร์ทัง้หมดจะถูกบุกรุก พระองค์จึงทรงเรียกร้องผู้นาคริสเตียน ตะวันตกและสันตะปาปาให้มาช่วยเหลือ กรุงคอนสแตนติโนเปิลโดยไปจาริกแสวง บุญหรือสงครามศาสนาเพื่อปลดปล่อย เยรูซาเล็มจากการปกครองของมุสลิม [2] อีกสาเหตุหนึ่งเป็นเพราะการทาลาย ล้างสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของคริสเตียนเป็น จานวนมากและการเบียดเบียน คริสต์ศาสนิกชนภายใต้อัล-ฮาคิมกา หลิปราชวงศ์ฟาติมียะห์
  • 16. • นักรบครูเสดประกอบด้วยหน่วยทหารแห่ง โรมันคาทอลิกจากทวั่ยุโรปตะวันตก และไม่ อยู่ภายใต้อานาจบังคับบัญชารวม สงคราม ครูเสดชุดหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่พุ่งเป้า ต่อมุสลิมในเลแวนต์(Levant) เกิดขึน้ ระหว่าง ค.ศ. 1095 ถึง 1291 นัก ประวัติศาสตร์ให้ตัวเลขสงครามครูเสดก่อน หน้านัน้อีกมาก หลังมีความสาเร็จใน ช่วงแรกอยู่บ้าง สงครามครูเสดช่วงหลังกลับ ล้มเหลว และนักรบครูเสดถูกบังคับให้กลับ บ้าน ทหารหลายแสนคนกลายเป็นนักรบครู เสดโดยการกล่าวปฏิญาณ[3] สมเด็จพระ สันตะปาปาให้การไถ่บาปบริบูรณ์ (plenary indulgence) แก่ทหาร เหล่านัน้ สัญลักษณ์ของนักรบเหล่านี้คือ กางเขน คาว่า "ครูเสด" มาจากภาษาฝรั่งเศส หมายถึง การยกกางเขนขึน้ ทหารจานวน มากมาจากฝรั่งเศสและเรียกตนเองว่า "แฟรงก์" ซึ่งกลายเป็นคาสามัญที่มุสลิมใช้
  • 17. • คาว่า "ครูเสด" ยังใช้อธิบายการ ทัพที่มีเหตุจูงใจทางศาสนาที่ ดาเนินระหว่าง ค.ศ. 1100 และ 1600 ในดินแดน นอกเหนือไปจากเลแวนต์โดย มักเป็นสงครามกับพวกนอก ศาสนานอกรีตและประชาชน ภายใต้การห้าม บัพพาชนียกรรม (excomm unication) ด้วยเหตุผล ด้านศาสนา เศรษฐกิจและ การเมืองผสมกัน การแข่งขันกัน ระหว่างคริสเตียนและมสุลิมยัง นาไปสู่พันธบัตรระหว่างกลุ่ม แยกศาสนาต่อคู่แข่งของตน เช่นคริสเตียนเป็นพันธมิตรกับ รัฐสุลต่านรูมที่นับถืออิสลาม ระหว่างสงครามครูเสดครัง้ที่ห้า
  • 18. • สงครามครูเสดส่งผลกระทบใหญ่หลวงทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมต่อยุโรปตะวันตก มัน ส่งผลให้จักรวรรดิไบแซนไทน์ที่นับถือคริสต์อ่อนแอลงมาก และเสียให้แก่เติร์กมุสลิมในอีกหลาย ศตวรรษต่อมา เรกองกิสตา สงครามอันยาวนานในคาบสมุทรไอบีเรีย ซึ่งกาลังคริสเตียนพิชิต คาบสมุทรคืนจากมุสลิม มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสงครามครูเสด
  • 19. • มีสงครามครูเสดเกิดขึน้หลายครัง้ แต่ครัง้ที่สาคัญที่ใหญ่ที่สุดเกิดขึน้ระหว่าง ศตวรรษที่ 11 ถึง 13 ซงึ่มีสงครามใหญ่ๆเกิดขึน้ถึง 9 ครัง้ในมหาสงครามครัง้นี้ และยังมีสงครามย่อยๆเกิดอีกหลายครัง้ในระหว่างนัน้ สงครามบางครัง้ก็เกิดขึน้ ภายในยุโรปเอง เช่น ที่สเปน และมีสงครามย่อยๆเกิดขึน้ตลอดศตวรรษที่16 จนถึงยุคเรอเนสซองซ์และการปฏิรูปศาสนา
  • 20. • สงครามครูเสดครั้งที่ 1 ค.ศ. 1095-1101 • เริ่มต้นเมื่อปี 1095 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 (Urban II) แห่งกรุงโรม รวบรวม กองทัพชาวคริสต์ไปยังกรุงเยรูซาเลม ช่วงแรกกองทัพของปีเตอร์นักพรต(Peter the Hermit) นาล่วงหน้ากองทัพใหญ่ไปก่อน ส่วนกองทัพหลักมีประมาณ 50,000 คนซึ่งส่วน ใหญ่มาจากประเทศฝรั่งเศส นาโดย โรเบิร์ต เคอร์โทส ดยุกแห่งนอร์มังดีโอรสของสมเด็จพระ เจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ
  • 21. • ในที่สุดเมื่อปี 1099 กองทัพ ก็เดินทางจากแอนติออค มาถึงกาแพงเมือง และยึด ฐานที่มนั่ใกล้กาแพงเข้าปิด ล้อมเยรูซาเลมไว้ กองกาลัง มุสลิมที่ได้รับการขนานนาม ว่า ซาระเซ็น ได้ต่อสู้ด้วย ความเข้มแข็ง ทว่าท้ายที่สุด นักรบครูเสดก็บุกฝ่าเข้าไป และฆ่าล้างทุกคนที่ไม่ใช่ชาว คริสต์กระทงั่ชาวมุสลิมใน เมืองหรือชาวยิวในสถานที่ ทางศาสนาก็ล้วนถูกฆ่าจน หมด เหลือเพียงผู้ปกครอง เดิมในขณะนัน้ซงึ่ได้รับ อนุญาตให้ออกไปได้ แต่ทว่า ข่าวการรบนัน้ไม่อาจไปถึง พระสันตะปาปา เนื่องจาก พระองค์สิน้พระชนม์ในอีก ไม่กี่วันถัดมา
  • 22. • ผู้นาเหล่านักรบศักดิ์สิทธิ์ที่ ได้รับเลือกคือ ก็อดฟรีย์แห่ง บู วียอง ซงึ่อยู่ในตาแหน่งนาน หนึ่งปีจึงเสียชีวิต เดือน กรกฎาคมปี 1100บอลด์วิ นจากเอเดสซาจึงขึน้สืบเป็น กษัตริย์ พระองค์อภิเษกกับเจ้า หญิงอาร์เมเนีย แต่ไร้รัช ทายาท พระองค์สวรรคตในปี 1118 ผู้เป็นราชนัดดานาม บอลด์วินจึงครองราชย์เป็น กษัตริย์บอลด์วินที่ 2 แห่ง อาณาจักรศักดิ์สิทธิ์ มีราชธิดา 3 พระองค์ และที่น่าสนใจคือ ครัง้นีบั้ลลังก์สืบทอดทางธิดา องค์โตหรือมเหสี และพระ สวามีจะครองราชย์แทน กษัตริย์องค์ก่อน
  • 23. • สงครามครูเสดมีสาเหตุหลักมาจากความแตกต่างทางความเชื่อในศาสนาแต่ละศาสนา จนทา ให้ไม่เข้าใจซงึ่กันและกัน ซงึ่ผู้เริ่มต้นคือชาวมุสลิมต้องการครอบครองดินแดนศักดิ์สิทธิ์ คือ กรุง เยรูซาเลม นอกจากนัน้เหตุผลทางการเมืองก็เป็นอีกสาเหตุของสงครามด้วย เพราะในสมัยนัน้ เศรษฐกิจในยุโรบตกต่า บิช๊อปผู้นาศาสนาในโรมันคาทอลิกเรืองอานาจมาก และมีอานาจเหนือ กษัตริย์ และครอบครองทรัพย์สินมหาศาล ขนาดมีความเชื่อในตอนนัน้ว่า ถ้าเป็นไปได้พ่อแม่ ทุกคนอยากให้บุตรชายของตนเป็นนักบวชเพื่อจะเป็นบิช๊อบ หรือโบ๊ป ผู้นาศาสนา
  • 24. • สงครามครูเสดได้คร่าชีวิตและ ทรัพย์สินของมนุษยชาติอย่าง มากมายมหาศาล เพราะบิช๊อบอ้าง ว่าเขาสามารถล้างบาปให้กับนักรบ ครูเสดได้ และอนุญาตให้ปล้น ฆ่า ยึดทรัพย์พวกนอกศาสนาได้ ซึ่ง หลัการนีไ้ม่มีในพระคาภีร์ไบเบิล้อีก ทัง้ขุนนางในสมัยนัน้ต้องการยึด ทรัพย์สินของพวกยิวที่ร่ารวย และ ต้องการมีอิทธิพลในยุโรบไปจนถึง ตะวันออกกลางจึงใช้ข้ออ้างของ ศาสนามาอ้างในการทาสงครามครัง้ นี้
  • 25. • ผลของสงครามครูเสดนี้ ฆ่าคนไปจานวน มากมายนับจากยิวในยุ โรบไปจนถึงยิวในเยรูซา เร็ม และทาให้ชาวมุสลิม และคริสเตียนบาดหมาง กันทัง้ๆที่ก่อนหน้านีทั้ง้ สองศาสนา แม้ทัง้สอง จะมีความต่างกันแต่ สามารถอยู่ร่วมกันได้ใน ดินแดนแถบนัน้ และ สงครามครูเสดทาให้ ความขัดแย้งเหล่านัน้ ยังคงหลงเหลือมาจนถึง ปัจจุบัน
  • 26. • แต่ผลของสงครามครูเสดนัน้ ทา ให้ยุโรปเกิดความเปลี่ยนแปลงไป มากมาย ทาให้เกิดการติดต่อ ระหว่าง โลกตะวันตกและ ตะวันออก ในรูปแบบการทา การค้า ซึ่งเรียกว่า ยุคปฏิรูป การค้า และ ทาให้เกิดยุก ฟื้นฟู ศิลปะวิทยาการ การการสร้าง สถาปตยกรรมที่รวมกันของสอง ศาสนา ตลอดจนความรู้ การศึกษาขึน้มาด้วย
  • 27. สงครามครูเสดครั้งที่ 2 (1147–1149) • ลัทธิศักดินา (Feudalism) ที่พวกครูเสด นามาใช้ในเอเชีย น้อย (Asia Minor )นีไ้ด้ ระบาดในหมู่พวก มุสลิมเช่นกัน พวก มุสลิมชนชาติต่าง ๆ ในตะวันออก กลางต่างก็แก่งแย่ง ถืออานาจกัน แตก ออกเป็นหลายนคร
  • 28. • อิมาดุดดีน ซังกี(Imaduddin Zangi) ผู้เป็นบุตรคนหนงึ่ของ อัก สุนกูร อัลฮาญิบ ซงึ่เป็น เจ้าเมืองฮะลับ หรืองอเลปโป (ภาษาละติน: Aleppo) ภายใต้อาณาจักรของ มะลิกซาห์ใน ค.ศ. 1127 ได้เป็นอะตาเบก (เจ้านคร) แห่งโมสุล และต่อมา 1128 ก็ได้รวบรวมอเลปโปเข้าอยู่ ใต้อานาจของตน โดยเข้าข้างกษัตริย์แห่งสัลญูก ซึ่งกาลังแย่งชิงเขตแดนต่าง ๆ ของอาณาจักร อับบาสียะหฺในปี ค.ศ. 1135 เขาพยายามตีนครดามัสคัส เมื่อรวบรวมให้อยู่ใต้อานาจ แต่ก็ไม่ สาเร็จ ระหว่างทางที่ถอยทัพกลับไปอเลปโป ก็ได้เข้าตีนครฮิมสฺเพื่อยึดมาเป็นของตน แต่ตีไม่ สาเร็จ สองปีต่อมา ซังกีย้อนกลับมาตีนครฮิมสอฺีกครัง้ แต่ก็ไม่สาเร็จอีกเช่นกัน ทางนคร ดามัสคัสเมื่อกลัวว่าซังกีจะยกทัพมาประชิตเมืองอีกครัง้ ก็ได้ผูกสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรเยรู ซาเลมของพวกครูเสด
  • 29. • ซังกียกทัพไปตีพวกครูเสด จนเกิด ปะทะกันที่บารีน ฟูล์ก เจ้า ราชอาณาจักรเยรูซาเลมพ่ายแพ้ พา กองทัพที่รอดตายหนีออกจากนคร เยรูซาเลม ซังกีได้ผูกสัมพันธไมตรี กับนครดามัสคัส เมื่อเห็นว่าตนไม่มี ความสามารถที่จะเอาชนะได้ ประกอบกับได้ข่าวว่า จักรพรรดิ ยอห์น คอมเนนุส (John Comnenus) ได้ยึดเอานครอัน ติออก ที่พวกครูเสดปกครองอยู่นัน้ เข้ามาอยู่ในอาณาจักรไบแซนไทน์ และได้ส่งกองทัพมาประชิตเมืองอ เลปโปของตน
  • 30. • พวกครูเสดที่ส่งมาโดยจักรพรรดิยอห์น คอมเนนุส (John Comnenus) พวกนียึ้ดเมืองบุ ซาอะ (Buzaa) ได้ฆ่าพวกผู้ชายทัง้หมดแล้วกวาดต้อนผู้หญิงและเด็กไปเป็นทาส • แม้ซังกีจะวางแผนการเพื่อยึดนครดามัสคัสอีกในเวลาต่อมา ถึงขัน้กับสมรสกับนางซมุรุรุด มารดาเจ้านคร ด้วยการยกเมืองฮิมสฺเป็นสินสอด และต่อมาเจ้านครก็ถูกลอบสังหาร ซังกีก็ไม่ อาจจะยึดเอานครดามัสคัสเป็นของตนได้ เวลาต่อมา นครดามัสคัสก็กลับไปรือ้ฟื้น ความสัมพันธ์กับพวกครูเสดอีกครัง้ และได้ร่วมกันโจมตีกองทัพของซังกีที่บานิยาส
  • 31. • ซังกีได้ยกทัพเข้าตีนครเอเดสสาที่อยู่ภายใต้พวกครูเสดแตกเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1114 จุดนีเ้ป็นจุดเริ่มต้นของสงครามครูเสดครัง้ที่ 2 • ซังงีถูกทาสรับใช้ของตน ซึ่งเป็นชาวแฟรงก์ ลอบสังหารเมื่อวันที่ 5 เราะบีอุษษานีย์541 ตรงกับ วันที่ 14 กันยายน 1146 ซังงีมีบุตร 4 คน ล้วนเป็นคนมีความสามารถทัง้สนิ้ ในระหว่างความ ยุ่งยากนีพ้วกคริสต์ในเมืองเอเดสสา คิดกบฏฆ่าทหารมุสลิมที่รักษาเมืองและได้รับความ ช่วยเหลือจากพวกแฟรงก์ ภายใต้การนาของโยสเซลิน (Joscellin) ยึดเมืองเอเดสสาได้ แต่ บุตรสองคนของซังงีชื่อ นูรุดดีน มะฮฺมูด (ฝรั่งเรียก Noradius) ตีเมืองเอเดสสากลับคืนมา ได้ พวกที่ก่อกบฏและทหารแฟรงก์ถูกฆ่า พวกอาร์มิเนียนที่เป็นต้นคิดกบฏถูกเนรเทศ และนูรุด ดีนสงั่ให้รือ้กาแพงเมือง ผู้คนต่างหนีออกจากเมืองจนเมืองเอเดสสากลายเป็นเมืองร้าง
  • 32. • การสูญเสียเมืองเอเดสสาเป็นครัง้ที่ 2 นี้ได้ก่อให้เกิด การโฆษณาขนานใหญ่ในยุโรป นักบุญเซ็นต์เบอร์นาร์ด (Bernard Clairvaux) ซึ่งฉลาดในการพูดและได้ ฉายาว่า ปีเตอร์นักพรตคนที่สอง ได้เที่ยวเทศนาปลุกใจ นักรบ ให้ร่วมกันป้องกันสถานกาเนิดแห่งศาสนาคริสต์ เหตุนีท้าให้พวกคริสเตียนตกใจกลัวยิ่งนักว่า พวกสัลญูกตุรกีจะยกทัพมาตียุโรป และตนจะไม่ได้เป็น เจ้าของศาสนสถานในปาเลสไตน์อีก การปลุกใจครัง้นี้ ไม่เร้าใจแต่เพียงขุนนาง อัศวินและสามัญชน ซึ่งเป็น ส่วนในสงครามครูเสดครัง้แรกเทา่นัน้ พวกกษัตริย์ต่าง ๆ ก็พลอยนิยมไปด้วย พระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศสได้ ถือเอาสงครามครูเสดเป็นเครื่องเบี่ยงบ่ายการกระทาอัน โหดร้าย ต่อพลเมืองบางพวกที่เป็นกบฏต่อพระองค์ กษัตริย์คอนราดที่ 3 แห่งเยอรมันเข้าร่วมทัพด้วย เหตุการณ์นีเ้กิดขึน้ใน ค.ศ. 1147 ข้างพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส มีพระมเหสีร่วมไปในกองทัพด้วย ชื่ออิ เลนอร์(Eleanor of Guienne มเหสีคนนีต้่อมา ไปสมรสกับพระเจ้าเฮนรี่ที่ 2 ของอังกฤษ) การที่ราชินี เข้าร่วมกองทัพด้วยทาให้ผู้หญิงฝรั่งเศสอีกจานวนมาก อาสาเข้ากองทัพครูเสด ซงึ่คราวนัน้มีพลประมาณ 900,000 คน พวกฝรั่งเศสได้กระทาชู้กับหญิงในกองทัพ อย่างเปิดเผย กองทัพของสองกษัตริย์ได้รับการต่อต้าน และเสียหายอย่างหนัก
  • 33. • ส่วนหนึ่งกองทัพของกษัตริย์คอนราดถูกทาลายที่ เมืองลาซิกียะหฺ(ภาษาละติน: Laodicea หรือ Latakia) ส่วนกองทัพของพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ที่ยก มาทางทะเลก็ถูกโจมตียับเยินโดยเฉพาะที่เมืองก็ อดมูส (Babadagh ปัจจุบันในตุรกี ภาษาละติน: Cadmus) อย่างไรก็ตามเนื่องจากพวกครูเสดมี กาลังพลมาก จึงเหลือรอดมาถึงเมืองอันติออก ซึ่ง เวลานัน้พวกขุนนางและอัศวินจานวนมากพักอยู่ใน เมืองอันติออก ซงึ่เวลานัน้เรย์มอง ผู้เป็นลุงของราชินี อเีลนอร์เป็นผู้ปกครองเวลานัน้พวกขุนนางและ อัศวินจานวนมากพักอยู่ในเมืองอันติออกเช่น เคาน์ เตสแห่งดูลูส (Countess of blois) เคาน์เตส แห่งรูสสี (Countess of Roussi) ดัชเชสแห่ง บุยยอง (Duchess of Bouillon), Sybille แห่งฟแลนเดอร์ส และสตรีของผู้สูงศักดิ์อื่น ๆ อีก แต่ จอมราชินีของพวกเขา คือมเหสีของพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 เมื่อพักผ่อนและสนุกสนานกับพวกผู้หญิงเพียงพอ แล้ว พวกครูเสดก็ยกทัพเข้าล้อมเมืองดามัสคัส แต่ไม่ สาเร็จ เพราะนูรุดดีน และสัยฟุดดีน อัลฆอซี บุตรทัง้ สองของซังกีได้ยกทัพมาช่วย ทัง้กษัตริย์คอนราด แห่งเยอรมนีและพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 แห่งฝรั่งเศสได้ เลิกทัพกลับยุโรป พวกครูเสดต้องล่าทัพกลับ บ้านเมืองด้วยความผิดหวังและสูญเสียอย่างหนัก
  • 34. • ส่วนพวกครูเสดที่มาจากพวกยุโรปเหนือ ก็ได้เคลื่อนทัพจนถึงโปรตุเกส แล้วได้ร่วมมือกับ กษัตริย์อัลฟอนโซ เพื่อโจมตีนครลิสบอน และขับไล่พวกมุสลิมออกจากนครนีใ้นปี1147 • กองทัพครูเสดจากเยอรมันได้เข้าไปโจมตีพวกสลาฝที่อยู่รอบอาณาเขตอาณาจักรเยอรมัน
  • 35. สงครามครูเสดครั้งที่ 3 (1187–1192) • ศอลาฮุดดีน อัลอัยยูบีย์ได้ตีเอานครเยรูซาเลมกลับคืนมาเป็น ของพวกมุสลิมอีกครัง้ในปี 1187 • เมื่อศอลาฮุดดีนได้ข่าวพวกแฟรงก์ยกทัพมา จึงประชุมนายทัพ โดยให้ความเห็นว่าจะโจมตีพวกนีข้ณะเดินทัพอยู่ แต่พวกนาย พลว่าให้ตีเมื่อมาถึงชานเมืองอักกะ (Acre) พวกครูเสดได้ตัง้ ทัพล้อมเมืองนีไ้ว้ และปีกข้างหนึ่งจดทะเล ทาให้สามารถรับ เสบียงจากยุโรปได้สะดวก ถ้าศอลาฮุดดีนได้เริ่มโจมตีพวกนี้ ขณะเดินทาง ก็คงไม่ประสบสถาณะคับขันเช่นนี้พวกตุรกีจาก เมืองใกล้ ๆ ก็ยกทัพมาช่วย และในวันที่ 1 ชะอฺบาน 585 (14 กันยายน 1189 ) ศอลาฮุดดีนได้เริ่มโจมตีพวกครูเสด หลานชาย ของท่านคนหนึ่งชื่อ ตะกียุดดีน ได้แสดงความกล้าหาญมากใน การรบ ตอนนีท้หารศอลาฮุดดีนมีกาลังน้อยกว่าพวกครุเสดมาก เพราะต้องกระจายกาลังป้องกันเมืองหน้าด่านต่าง ๆ เช่นที่ ยืนยันเขตแดนติดเมืองตริโปลี, เอเดสสา, อันติออก อเล็กซานเด รีย ฯลฯ ในรอบนอกเมืองอักกานัน้ พวกครูเสดถูกฆ่าราว 10,000 คน ได้เกิดโรคระบาดขึน้เพราะด้วยศพทหารเหล่านี้เนื่องจากติด พันอยู่การสงคราม ไมส่ามารถรักษาที่รบให้สะอาดได้ ศอลาฮุดดี นเองได้รับโรคระบาดนีด้้วย แพทย์แนะนาให้ถอนทหารและได้ยก ทัพไปตัง้มนั่อยู่ที่ อัลคอรรูบะหฺพวกครูเสดจึงยกทัพเข้าเมืองอัก กาและเริ่มขุดคูรอบตัวเมือง
  • 36. • ศอลาฮุดดีนได้มีหนังสือไปยังสุลฎอนของมอร็อคโคให้ยกทัพมาสมทบชว่ยแต่พวกนีไ้ด้ปฏิเสธ ในฤดูใบไม้ผลิศอลาฮุดดีนได้ยก ทัพมาโจมตีเมืองอักกาอีก พวกครูเสดได้เสริมกาลังมนั่และสร้างหอคอยหลายแห่ง แต่ทัง้หมดถูกกองทัพศอลาฮุดดีนยิงด้วยด้วย ลูกไฟ เกิดไฟไหม้ทาลายหมด ตอนนีก้าลังสมทบจากอียิปต์มาถึงทางเรือและกาลังการรบจากที่อื่นมาด้วย พวกแฟรงก์เสียกาลัง การรบทางแก่อียิปต์อย่างยับเยิน พวกครูเสดถูกฆ่าและเสียกาลังทัพมาก แต่ในปลายเดือนกรกฎาคม 1190 เคานต์เฮนรี่แห่งแชม เปญ ผู้มีสายสัมพันธ์กับพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสได้ยกทัพหนุนมาถึง ศอลาฮุดดีนได้ถอยทัพไปตัง้มนั่ที่อัลคอรรูบะหฺอีก ได้ทิง้กอง ทหารย่อย ๆ ไว้ ซงึ่ได้ต่อสู้พวกครูเสดอย่างกล้าหาญ ตอนนีพ้วกครูเสดไมส่ามารถคืบหน้าได้ จึงจดหมายไปยงัโปีปขอให้จัดทัพ หนุนมาช่วย พวกคริสเตียนได้หลงั่ไหลกลับมาสมทบพวกครูเสดอีกครัง้ เพราะถือว่าการรบ"พวกนอกศาสนา"ครัง้นีท้าให้ตนถูก เว้นบาปกรรมทัง้หมดและได้ขึน้สวรรค์ ศอลาฮุดดีนจัดทัพรับมือพวกนีอ้ย่างเต็มที่ ให้ลูกชายของตนชื่อ อะลีย์อษุมาน และฆอซี อยู่กลางทัพ ส่วนปีกทางขวาให้น้องชายชื่อสัยฟุดดีนเป็นแม่ทัพ ทางซ้ายให้เจ้านครต่าง ๆ คุม แต่ในวันประจัญบานกันนัน้ตัวศอ ลาฮุดดีนเองป่วย จึงได้เฝ้าดูการสุ้รบจากยอดเขาแห่งหนึ่ง พวกครูเสดถูกตีฟ่ายตกทะเลได้รับความเสียหายอยา่งหนัก พวกนีเ้ริ่ม ขาดแคลนอาหารและโดยที่ฤดูหนาวย่างเข้ามา จึงพักการรบ
  • 37. • เมื่อถึงต้นฤดูใบไม้ผลิ คือเดือนเมษายน 1191 พวกครูเสดได้รับทัพหนุนเพิ่มขึน้อีก โดยพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสได้ยกทัพมา พร้อม กันนัน้พระเจ้าริชาร์ดใจสิงห์แห่งอังกฤษก็ยกทัพมาอีกด้วย มีเรือรบมา 20 ลา เต็มไปด้วยทหารและกระสุน กาลังหนุนของศอลา ฮุดดีนมาไมพ่ร้อม ทหารมุสลิมในเมืองอักกามีกาลังน้อยกว่าจึงขอยอมแพ้พวกครุเสด โดยแม่ทัพมุสลิมมีนคนหนึ่งชื่อ มัชตูบ ผู้ คุมกาลังป้องกันอักกาได้อุทรต่อพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสแต่ถูกปฏิเสธเว้นแต่ พวกมุสลิมจะยอมยกเมืองเยรูซาเลมให้ พวกมุสลิม จึงกลับสู้รบอีกจนสุดชีวิต ขณะการล้อมเมืองและการสู้รบอยู่เป็นเชน่นีไ้ด้เกิดโรคระบาดเกิดขึน้ ในที่สุดมีเงื่อนไขว่า พวกมุสลิม จะต้องคืนไม้กางเขน(ดัง้เดิมสมัยพระเยซู) และต้องเสียค่าปรับเป็นทอง 200,000 แท่ง แต่เนื่องจากต้องเสยีเวลาหาทองจานวน เท่านี้กษัตริย์ริชาร์ดใจสิงห์แห่งอังกฤษ ผู้ที่นักประวัติศาสตร์เคยยกย่องและชื่นชมกันนัน้ได้จับทหารมุสลิมจานวน 27,000 คน ออกจากเมืองและสับตอ่หน้าต่อตาคนทัง้หลาย เมืองอักกาตกอยู่ในมือพวกครูเสดที่บ้าศาสนาเหล่านี้ส่วนทัพศอลาฮุดดนีต้อง ถอยทัพไปตัง้ที่อื่นเพราะกาลังน้อยกว่าและกาลังหนุนไมมี่พอ ตอนหนึ่งมีเรือจากอียิปต์ลาเลยีงเสบียงมาช่วย แต่เกือบถูกครูเสด ยึดได้ นายเรือจึงสงั่ให้จมเรือพร้อมทัง้คนในเรือทัง้หมด
  • 38. • กองทัพครูเสดภายใต้การนาของพระ เจ้าริชาร์ดใจสิงห์ได้บุกไปยังอัสก็อ ลาน (ภาษาละติน: Ascolon) ศอ ลาฮุดดีนได้ยกกองทัพไปยันไว้ได้มี การรบกันอย่างกล้าหาญถึง 11 ครัง้ ในการรบที่อัรสูฟ ศอลาฮุดดีนเสียท หารราว 8,000 คน ซงึ่เป็นทหารชัน้ดี และพวกกล้าตาย เมื่อเห็นว่าอ่อน กาลังป้องกันปาเลสไตน์ไม่ได้ จึงยก ทัพไปยังอัสก็ออลาน อพยพผู้คนออก หมดแล้วรือ้อาคารทงิ้ เมื่อพระเจ้าริ ชาร์ดมาถึง ก็เห็นแต่เมืองร้าง จึงทา สัญญาสงบศึกด้วย โดยได้ส่งทหารไป พบน้องชายศอลาฮุดดีนชื่อ สัยฟุดดีน (ภาษาละติน: Saphadin) ทัง้สอง ได้พบกัน ลูกของเจ้านครครูเสดคน หนึ่งเป็นล่าม พระเจ้าริชาร์ดจึงให้ บอกความประสงค์ที่อยากให้ทา สัญญาสงบศึก พร้อมทัง้บอกเงื่อนไข ด้วย ซึ่งเป็นเงือนไขที่ฝ่ายมุสลิม ยอมรับไม่ได้ การพบกันครัง้นัน้ไม่ ได้ผล
  • 39. • ฝ่ายมาร์ควิสแห่งมองเฟอร์รัดผู้ร่วมมาใน กองทัพด้วยเห็นว่าการทาสัญญาโอ้เอ้ จึง ส่งสารถึงศอลาฮุดดีน โดยระบุเงื่อนไข บางอย่าง แต่สัญญานีไ้ม่เป็นผลเช่นกัน ต่อมาพระเจ้าริชาร์ดขอพบศอลาฮุดดีน และเจรจาเรื่องสัญญาสงบศึกอีก โดย เสนอเงื่อนไขว่า พวกครูเสดต้องมีสิทธิ ครอบครองเมืองต่าง ๆ ที่ได้ตีไว้ และฝ่าย มุสลิมต้องคืนเยรูซาเลมให้พวกครูเสด พร้อมกับไม้กางเขนที่ทาด้วยไม้ ซึ่งพวก เขาเชื่อว่าเป็นไม้ที่พระเยซูถูกพวกยิวตรึง ทรมานด้วย ศอลาฮุดดีนปฏิเสธที่จะยก เมืองเยรูซาเลมให้พวกครูเสด แต่ยอมใน เรื่องให้เอาไม้กางเขนที่กล่าวในเงื่อนไข ที่ว่า พวกครูเสดต้องปฏิบัติตามสัญญา ของตนอย่างเคร่งครัด การเจรจานีก้็ไม่ เป็นผลอีกเช่นกัน พระเจ้าริชาร์ดจึงหันไป เจรจากับสัยฟุดดีนใหม่โดยให้ความเห็น ว่าการเจรจานี้จะเป็นผลบังคับเมื่อศอลา ฮุดดีนยินยอมด้วยในปั้นปลาย
  • 40. เงื่อนไขมีว่า • กษัตริย์ริชาร์ดยินดียกน้องสาวของเขาผู้ เป็นแม่หม้าย(แต่เดิมเป็นมเหสีของ กษัตริย์ครองเกาะสิซิลี)ให้แก่สัยฟุดดีน (น้องชายศอลาฮุดดีน) • ของหมัน้ในการสมรสนีคื้อ กษัตริย์ริชาร์ด จะยกล้อเล่นในเมื่องที่พระองค์ตีได้ ตาม ชายทะเลให้น้องสาวของตน และศอลา ฮุดดีนก็ต้องยกเมืองต่าง ๆ ที่ยึดได้ให้ น้องชายเป็นการทาขวัญเช่นกัน • ให้ถือเมืองเยรูซาเลมเป็นเมืองกลาง ยก ให้แก่คู่บ่าวสาวนี้และศาสนิกของทัง้สอง ฝ่ายมีสิทธิ์ที่จะใปมาพานัก อยู่ในเมืองนี้ อย่างเสรี บ้านเมืองและอาคารทาง ศาสนาที่ปรักหังพัง ต่างช่วยกันซ่อมแซม
  • 41. • ศอลาฮุดดีนยอมตามเงื่อนไขนี้แต่ สัญญาก็ไม่เป็นผลอีก เพราะพวก พระในศาสนาคริสต์ไม่ยอมให้พวกค ริสเตียนยกลูกสาว, น้องสาว หรือ ผู้หญิงฝ่ายตนไปแต่งงานกับมุสลิมผู้ ที่พวกเขาถือว่าเป็น“พวกนอก ศาสนา” พวกบาทหลวงได้ชุมนุมกัน ที่จะขับพระเจ้าริชาร์ดออกจาก ศาสนาคริสต์ให้ตกเป็นคน นอก ศาสนาไปด้วย และได้ขู่เข็ญน้องสาว ของพระองค์ต่าง ๆ นานา
  • 42. • กษัตริย์ริชาร์ดจึงได้เข้าพบสัยฟุดดีนอีก ขอให้ เปลี่ยนจากการนับถืออิสลามมาเป็นคริสเตียน แต่สัยฟุดดีนปฏิเสธ ในขณะเดียวกันกษัตริย์ริ ชาร์ดเกิดการราคาญการแทรกแซงของมาร์ควิ สแหง่มอง เฟอรัด จึงจ้างให้ชาวพืน้เมืองลอบฆ่า เมื่อเรื่องมาถงึเช่นนี้กษัตริย์ริชาร์ดก็ท้อใจอยาก ยกทัพกลับบ้าน เพราะตีเอาเยรูซาเลมไม่ได้ ได้ เสนอเงื่อนไขที่จะทาสัญญาสงบศึกกับศอลาฮุด ดีนไม่ยอมต่อเงื่อนไขบางข้อ เพราะบางเมืองที่ กล่าวนัน้มีความสาคัญต่อการป้องกันอาณาจักร อย่างยิ่ง ไม่สามารถปล่อยให้หลุดมือไปได้ แต่ ความพยายามของนักรบทัง้สองนียั้งคงมีต่อไป จนในที่สุดเมื่อวันที่ 22 ชะอฺบาน 588 (2 กันยายน 1192) ทัง้สองฝ่ายได้ทาสัญญาสงบ ศึกเป็นการถาวรและกษัตริย์ริชาร์ดได้ยกทัพ กลับบ้านเมือง เขายกทัพผ่านทางตะวันออกของ ยุโรปโดยปลอมตัว แต่กลับถูกพวกเป็นคริส เตียนจับไว้ได้คุมขังไว้ ทางอังกฤษต้องส่งเงิน จานวนมากเพื่อไถ่ตัวเขา
  • 43. • สงครามครูเสดครัง้ที่ 3 ก็ยุติลงเพียงนี้ด้วการสูญเสียชีวิตมนุษย์นับแสน ผู้คนนับ ล้านไร้ที่อยู่ บ้านเมืองถูกทาลาย หลังจากนัน้ศอลาฮุดดีนได้ยกทหารกองเล็ก ๆ ไปตรวจตามเมืองชายฝั่ง และซ่อมแซมสถานที่ต่าง ๆ และได้กลับมาพักที่ ดามัสคัสพร้อมครอบครัว จนกระทงั่ถึงแก่ความตาย เมื่อวันที่ 27 ศอฟัร 589 (4 มีนาคม 1193) มีอายุเพียง 55 ปี
  • 44. การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ • การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE) เกิดในช่วง เวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 คือ ปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ ถือ ว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ (TRANSITIONAL PERIOD) ของ ประวัติศาสตร์สองยุค การฟื้นฟู ศิลปวิทยาการเริ่มขึน้ที่นครรัฐต่างๆ บนคาบสมุทรอิตาลี ซงึ่มีความ มงั่คงั่ และร่ารวยจากการค้าขาย ต่อมาจึง แพร่หลายไปสู่บริเวณอื่นๆ ในยุโรป
  • 45. • คาว่า RENAISSANCE แปลว่า เกิดใหม่ (REBIRTH) หมายถึง การนาเอา ศิลปวิทยาการของ กรีกและโรมันมาศึกษาใหม่ ทาให้ศิลปวิทยาการกรีก-โรมัน เจริญรุ่งเรืองอีกครัง้หนงึ่ เป็นสมัยที่ ชาวยุโรปเกิดความกระตือรือร้นสนใจอารยธรรม กรีก-โรมัน จึงถือว่าเป็นยุคเจริญรุ่งเรืองที่ ชาวยุโรปมีสิทธิและเสรีภาพ ช่วงเวลานีจึ้ง ถือว่าเป็นขบวนการขัน้สุดท้ายที่จะปลดปล่อยยุโรปจาก สังคมในยุคกลางที่เคยถูก จากัดโดยกฏเกณฑ์และข้อบังคับของคริสต์ศาสนาสาเหตุและความเป็นมาของการ ฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
  • 46. สาเหตุและความเป็นมาของการ ฟื้นฟูศิลปวิทยาการ มีดังนี้ • 1. การขยายตัวทางการค้า ทาให้ พ่อค้าชาวยุโรปและบรรดาเจ้าผู้ครอง นครในนครรัฐ อิตาลีมีความมงั่คงั่ขึน้ เช่น เมืองฟลอเรนซ์เมืองมิลาน หัน มาสนใจศิลปะและวิทยาการความ เจริญในด้านต่างๆ ประกอบกับที่ตัง้ ของนครรัฐในอิตาลีเป็นศูนย์กลาง ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก มาก่อน ทาให้นักปราชญ์และศิลปินต่างๆ ใน อิตาลีจึงให้ความสนใจศิลปะและ วิทยาการของโรมัน
  • 47. • 2. ความเจริญทางเศรษฐกิจและการ เกิดรัฐชาติในปลายยุคกลาง ทาให้เกิด การ เปลี่ยนแปลงหลายด้าน ทัง้ด้าน องค์กรทางการเมือง องค์กรทาง เศรษฐกิจซงึ่ต้องใช้ความรู้ความ สามารถมาบริหารจัดการ แต่ การศึกษาแบบเดิมเน้นปรัชญาทาง ศาสนาและสังคมในระบบฟิวดัล จึงไม่ สามารถตอบสนองความต้องการของ สังคมได้ ดังนัน้นักปราชญ์สาขาต่างๆ จึงหันมาศึกษา อารยธรรมกรีกและ โรมัน เช่น นักกฎหมายศึกษา กฎหมายโรมันโบราณเพื่อนามาใช้ พิพากษาคดี ทางการค้า นักรัฐศาสตร์ ศึกษาตาราทางการเมือง เพื่อนามาใช้ ในการทูตและความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ รวมทัง้นักประวัติศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ก็ ค้นหาความจริงและสนใจ ศึกษาอารย ธรรมกรีก-โรมันเช่นกัน เป็นต้น
  • 48. • 3. ทัศนคติของชาวยุโรปในช่วงปลายสมัยกลางต่อการดาเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป จากเดมิ จากการที่เคร่งครัดต่อคาสงั่สอนทางคริสต์ศาสนา มุ่งแสวงหาความสุขใน โลกหน้า ใฝ่ใจ ที่จะหาทางพ้นจากบาป และปฏิบัติทุกอย่างเพื่อเสริมสร้างกุศลให้แก่ ตนเอง ได้เปลี่ยนมาเป็นการ มองโลกในแง่ดี และเบื่อหน่ายกับระเบียบสังคมที่เข้มงวด กวดขันของคริสตจักร รวมทัง้มีอคติต่อ การกระทามิชอบของพวกพระ จึงหันไปสนใจ ผลงานสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ของมนุษยชาติ และเห็น ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาชีวิต ตนเองให้ดีและมีคุณค่าขึน้ได้ ซงึ่แนวคดิดังกล่าวเป็นที่มาของแนวคิด แบบมนุษยนิยม (HUMANISM) ที่สนใจโลกปัจจุบันมากกว่าหนทางมุ่งหน้าไปสู่สวรรค์ดังเช่นเคย
  • 49. • 4. การล่มสลายของ จักรวรรดิไบแซนไทน์หรือ จักรวรรดิโรมันตะวันออก เพราะถูกพวก มุสลิมเติร์ก ยึดครองใน ค.ศ. 1453 ทา ให้วิทยาการแขนงต่างๆ ที่ จักรวรรดิไบแซนไทน์สืบ ทอดไว้ หลงั่ไหลคืนสู่ยุโรป ตะวันตก ความเจริญในสมัยฟื้นฟู ศิลปวิทยาการ
  • 50. • การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นการศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมัน ทัง้ด้านวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และวิทยาการด้านต่างๆ โดยให้ความสาคัญของมนุษย์กับการดาเนิน- ชีวิตในโลกปัจจุบัน ที่ เรียกว่า มนุษยนิยม (HUMANISM) โดยผู้ที่มีความคิดความเชื่อเช่นนีเ้รียก ตนเองว่า นักมนุษย นิยม (HUMANISTS) ซงึ่ได้พยายามปลดเปลอื้งตนเองจากการครอบงาของ คริสตจักรและระบบ ฟิวดัล ลักษณะที่ให้ความสาคัญของความเจริญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ คือ ถึงแม้จะเป็นความ สนใจศึกษาความรู้จากอารยธรรมกรีก-โรมัน แต่มิใช่การลอกเลียนแบบ จุดมุ่งหมายสาคัญ คือ การศึกษาความรู้เพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสร้างสรรค์สงิ่ใหม่ๆ ขึน้มา
  • 51. ผลงานสาคัญ ได้แก่ • 1. วรรณคดีประเภทคลาสสิก นักมนุษยนิยมที่กระตุ้น จินตนาการของชาวยุโรปให้มาสนใจงานวรรณคดีและปรัชญา ได้รับการ ยกย่องว่าเป็น บิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรานเซสโก เพทราร์ก (FRANCESCO PETRARCA : ค.ศ. 1304-1374) ชาวอิตาลี ผู้ซงึ่ชีค้วาม งดงามของ ภาษาละตินและการใช้ภาษาละตินให้ถูกต้อง ผู้ที่สนใจและ นิยมงานเขียนวรรณคดีประเภทคลาสสิกจะค้นคว้าศึกษางานของ ปราชญ์สมัย โรมันตามห้องสมุดของวัดและโบสถ์วิหารในยุโรป แล้วนา มาคัดลอกรวมทัง้นาวรรณคดีและแนวคิดของปรัชญากรีกมาแปลเป็น ภาษาละติน เผยแพร่ทวั่ไป นอกจากนียั้งมีผลงานของนิคโคโล มา- เคียเวลลี (NICCOLO MACHIAVELLI : ค.ศ. 1469-1527) เรื่องเจ้าผู้ครอง นคร (THE PRINCE) กล่าวถึงลักษณะการเป็นผู้ปกครองรัฐที่ดี และ เซอร์ธอมัส มอร์(SIR THOMAS MORE : ค.ศ. 1478-1536) เขียน เรื่อง ยูโทเปีย (UTOPIA) กล่าวถึงเมืองในอุดมคติที่ปราศจากความเลวร้าย ซงึ่ผลงานของนักมนุษยนิยมเหล่านีน้าไปสู่การต่อต้านการ ปกครองและ วิธีปฏิบัติของคริสตจักรที่ขัดต่อคัมภีร์ไบเบิล ซงึ่ส่งผลทาให้เกิดการ ปฏิรูปศาสนาขนึ้ใน ค.ศ. 1517 ส่วนงานวรรณกรรมที่เป็นบท ละคร นักประพันธ์ที่สาคัญ คือ วิลเลียม เช็กสเปียร์(WILLIAM SHAKESPEARE: ค.ศ. 1564-1616) ซึ่งเขียนบทละครที่มีชื่อเสียง คือ โรมิโอและ จูเลียต (ROMEO AND JULIET) และเวนิสวาณิช (THE MARCHANT OF VENICE)
  • 52. • 2. ศิลปกรรม ในยุคกลางศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะ ทาให้ ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการอย่างเสรีได้ ผลงานส่วนใหญ่ จึงขาดชีวิตชีวา แต่ศิลปกรรมในสมัย ฟื้นฟูศิลปวิทยานิยมงานศิลปะของกรีก- โรมันที่เป็นธรรมชาติ จึงให้ความสนใจความสวยงามใน สรีระของมนุษย์ มิติของ ภาพ สี และแสงในงานประติมากรรมและจิตรกรรมให้สมจริง สมดุล และ กลมกลืนสอดคล้องมากขึน้ ศิลปินที่สาคัญ เช่น
  • 53. • - ไมเคิลแอนเจโล บูโอนาร์โรตี (MICHELANGELO BUONARROTI : ค.ศ. 1475- 1564) เป็นศิลปินที่มีผลงานทัง้ด้าน จิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรม ผลงานประติมากรรมที่ สาคัญและมีชื่อเสียง คือ รูปสลักเดวิด (DAVID) เป็นชายหนุ่มเปลือยกาย และปิเอตา (PIETA) เป็นรูปสลักพระ มารดากาลังประคองพระเยซูในอ้อม พระกร ส่วน ผลงานจิตรกรรมที่มี ชื่อเสียง คือ จิตรกรรมฝาผนังที่เขียนไว้ บน เพดานและฝาผนังของโบสถ์ซีสติน (SISTINE CHAPEL) ในมหาวิ หารเซนต์ปีเตอร์ที่กรุงโรม ที่มีลักษณะ งดงามมาก
  • 54. • – เลโอนาร์โด ดา วินชี (LEONARDO DA VINCI : ค.ศ. 1452-1519) เป็นศิลปินที่ มี ผลงานเป็นเลิศในสาขาต่างๆ ภาพเขียนที่มีชื่อเสียง คือ ภาพ อาหารมือ้สุดท้าย (THE LAST SUPPER) ซึ่งเป็นภาพพระเยซู กับสาวกนงั่ที่โต๊ะอาหารก่อนที่ พระเยซูจะถูกนาไปตรึงไม้ กางเขน และภาพโมนาลิซ่า (MONALISA) เป็นภาพหญิง สาวที่มีรอยยมิ้ปริศนากับ บรรยากาศของธรรมชาติ
  • 55. • – ราฟาเอล (RAPHAEL : ค.ศ. 1483-1520) เป็นจิตรกรที่วาดภาพเหมือน จริง ภาพที่มี ชื่อเสียง คือ ภาพพระมารดาและพระบุตร พร้อมด้วยนักบุญจอห์น (MADONNA AND CHILD WITH ST. JOHN)
  • 56. • 3. ด้านวิทยาการความเจริญอื่นๆ ได้แก่ - ด้านดาราศาสตร์ เป็นสาขาวิชาที่ ชาวยุโรปสนใจกันมากในช่วงเวลานี้ นัก ดาราศาสตร์ที่สาคัญ คือ คอ เปอร์นิคัส (ค.ศ. 1473-1543) ได้ เสนอทฤษฎีที่ขัดแย้งกับคาสอนของ คริสต์ศาสนา โดยระบุว่าโลกไม่ได้ แบนและไม่ได้เป็นศูนย์กลางของ จักรวาล แต่เป็นบริวารที่โคจร รอบ ดวงอาทิตย์
  • 57. • - ด้านการพิมพ์ ในช่วงสมัยนีไ้ด้มีการ คิดค้นการพิมพ์ที่ใช้วิธีการเรียง ตัวอักษรได้ สาเร็จเป็นครัง้แรก โดยโย ฮัน กูเตนเบิร์ก ( JOHANNES GUTENBURG : ค.ศ. 1400- 1468) ชาว เมืองไมนซ์(MAINZ) ในเยอรมนี ทาให้ราคาหนังสือถูกลง และเผยแพร่ไปได้อย่างกว้างขวาง
  • 58. ผลของการ ฟื้นฟูศิลป วิทยาการ • ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ศิลปกรรมและวิทยาการต่างๆ ได้เจริญก้าวหน้ามากขึน้ส่งผล ให้คนยุโรปมีลักษณะ ดังนี้
  • 59. • 1. ความสนใจในโลกปัจจุบัน ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ชาวยุโรปยังคงนับถือศรัทธา ใน พระเจ้า แต่จากการได้รับอิทธิพลจากแนวคิดแบบมนุษยนิยม ทาให้ชาวยุโรปมี แนวคิดในการ ดาเนินชีวิตในโลกปัจจุบันให้ดีและสร้างสิ่งต่างๆ เพื่อความสุขและ ความมนั่คงให้แก่ตน ทัง้หมดนี้สะท้อนในงานศลิปกรรมต่างๆ ที่สร้างขึน้เพื่อนสนอง ความพึงพอใจของตนเอง เช่น สร้างบ้าน เรือนอย่างวิจิตรสวยงาม การมีรูปปั้นประดับ อาคารบ้านเรือน การวาดภาพเหมือนของมนุษย์ เป็นต้น
  • 60. • 2. ความต้องการแสวงหาความรู้ การที่ มนุษย์ต้องการหาความรู้และความ สะดวกสบาย ให้แก่ชีวิต ทาให้ต้องมีการ คิดสร้างสรรค์ผลงานและวิทยาการ ต่างๆ ดังนัน้มนุษย์ในสมัยฟื้นฟู ศิลป วิทยาการ จึงมีการส่งเสริมและ สนับสนุนการศึกษา การคิคค้น การ ทดลอง การพิพากษ์ วิจารณ์อย่างมี เหตุผล เป็นผลให้วิทยาการด้านต่างๆ พัฒนามากขึน้ สภาพสังคมของมนุษย์ ในสมัย นีคื้อการตื่นตัวในการค้นหา ความจริงของโลก ทาให้มนุษย์ต้องการ แสวงหาความรู้และสารวจดิน แดน ต่างๆ อันนาไปสู่การปฏิรูปศาสนา การ สารวจทางทะเล และการปฏิวัติทาง วิทยาศาสตร์ใน เวลาต่อมา