SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Brahmanism 
ศาสนาพราหมณ์
เป็นศาสนาที่เก่าแก่ ไม่อาจนับจา นวน ปีที่ที่แน่นอนได้เพียงแต่ประมาณเวลาได้ 
เท่านั้น แบ่งตามแนวประวัติศาสตร์เป็น 7 ยุค คือ ยุคก่อนอารยัน ยุคอารยันเข้าอินเดีย 
ยุคฤคเวท ยุเวทต่าง ๆ ยุคพราหมณะ ยุอุปนิษัท และยุคพุทธกาล ศาสนาพราหมณ์ เกิด 
ในประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศาสนา ประมาณ 1,000 ปีขึ้นไป 
ศาสนาพราหมณ์ ไม่มีองค์พระศาสดาผู้ก่อตั้งศาสนาที่เป็นมนุษย์เหมือนศาสนาอื่น ๆแต่ก่อ 
รูปขึ้นจากลัทธิบูชาธรรมชาติ และวิวัฒนาการเป็นลัทธิบูชาเทพเจ้า ต่าง ๆ หลายองค์ดังที่ 
เป็นอยู่ในปัจจุบัน
ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาธรรมชาติ แรกเริ่มชาวอารยันนับถือการบูชา 
ธรรมชาติเชื่อว่า มีเทพเจ้าประจา ธรรมชาตินั้น ๆ ทา นองเดียวกันกับ การเชื่อ หรือ 
การนับถือผีปู่ยา ตายาย ของไทยเราในสมัยโบราณ เช่น ในสมัยพระเวท 
ตอนต้น ชาวอารยัน จัดเทพเจ้า เป็น 3 หมวด คือ พวกที่หนึ่งอยู่บนสวรรค์ได้แก่ 
วรุณ คือ ฝน ไทยเรียก “พระพิรุณ” สูรย์ คือ พระอาทิตย์ พวกที่สองอยู่บน 
ฟ้า เป็นเทวดาประจา อากาศ ได้แก่ อินทระ คือ พระอินทร์ ในศาสนาพุทธ เรียก 
ท้าวสักกะ เจ้าแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มารุต คือลม พวกที่สามอยู่บนพื้นโลก เป็น 
เทวดาประจา แผ่นดิน ได้แก่ อัคนี คือ ไฟ ปฤถวี คือ แผ่นดิน และยม คือ พระ 
ยม เป็นต้น ในสมัยพระเวท นับถือพระอินทร์ว่า เป็นเทพเจ้า สูงสุด มีสายฟ้าเป็น 
อาวุธ สามารถทา ลายศัตรูให้พินาศราบคาบลงได้ชั่วพริบตา
1. สมัยพระเวท เป็นสมัยที่มีความเชื่อในเรื่องเทพเจ้ามากมายหลายพระองค์แบ่ง 
ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ เทพบนพื้นโลก เทพบนอากาศ และเทพบนสวรรค์ ซึ่งมีเทพเจ้าที่มีความสา คัญ 
และถูกยกให้ยิ่งใหญ่ กว่าเทพเจ้าองค์อื่น ๆ คือ พระอินทร์ พระวรุณ และพระพฤหัสบดีฯลฯ 
2. สมัยพราหมณ์ความเชื่อของมนุษย์ในสมัยนี้ ก้าวไกลออกไปถึงการหาเทพ ผู้ยิ่งใหญ่ 
ผู้สร้างโลกและสร้างสรรพสิ่งเทพเจ้าองค์ใหม่นี้ เรียกว่า "พระพรหม"เป็นผู้สร้างทุกสรรพสิ่ง เกิดจาก 
พระองค์เมื่อตายแล้ว ก็ต้องกลับคืนสู่พระพรหม นอกจากนี้ ยังมีเทพเจ้า ผู้ยิ่งใหญ่ อีก 2 องค์ คือ พระ 
วิษณุ และ พระศิวะ ทพเจ้าทั้ง 2 องค์ นี้ ได้รับการนับถือเทียบเท่ากับพระพรหม ทา ให้เรียกเทพเจ้าทั้ง 3 
พระองค์ว่า "ตรีมูรติ" ซึ่งแปลว่า "รูปสาม" 
• พระพรหม เทพผู้สร้าง 
•พระวิษณุหรือพระนารายณ์เทพผู้รักษา 
•พระศิวะหรือพระอิศวร เทพผู้ทา ลาย
1. พิธีศราทธ์ คือ พิธีทา บุญให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว 
2. พิธีประจา บ้าน ได้แก่ 
- พิธีอุปนยัน คือ พิธีเริ่มการศึกษา ถ้าเป็นหญิงยกเว้น 
- พิธีวิวาหะ คือ พิธีแต่งงาน 
3. ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับวรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพทศย์ศูทร แต่ละวรรณะมีการดา เนินชีวิต 
ที่ต่างกันจึงต้องปฏิบัติตามวรรณะของตน เช่น การแต่งงาน การแต่งกาย เป็นต้น 
4. พิธีบูชาเทพเจ้า แต่ละวรรณะจะมีการปฏิบัติต่างกันในเทศกาลต่าง ๆ เช่น งานศิวะราตรี (พิธี 
ลอยบาป) งานบูชาเจ้าแม่ลักษมี (เทวีแห่งสมบัติและความงาม) เป็นต้น
1. หลักธรรม 10 ประการ 
1. ธฤติ คือ ความพอใจ 
2. กษมา คือ ความอดทน 
3. ทมะ คือ ความข่มใจ 
4.อัสเตยะ คือ การไม่กระทา เย่ยีงโจร 
5. เศาจะ คือ ความบริสุทธ์ิ 
6. อินทรียนิครหะ คือ การสา รวมอินทรีย์ (ร่างกาย) 
7. ธีคือ ความรู้ (ปัญญา) 
8. วิทยา คือ ความรู้ (ปรัชญา) 
9. สัตยะ คือ ความซื่อสัตย์ 
10. อโกธะ คือ ความไม่โกรธ
2. หลักอาศรม 4 
1. พรหมจารี คือ เป็นวัยศึกษาเล่าเรียน 
2. คฤหัสถ์ คือ เป็นวัยครองเรือน 
3. วานปรัสถ์คือ เป็นวัยออกไปอยู่ป่า 
4. สันยาสี คือ เป็นวัยสุดท้ายของชีวิต ออกบวชเป็นสันยาสี บา เพ็ญเพียรเพื่อความหลุดพ้น 
3. หลักปรมาตมัน และโมกษะ 
1. หลักปรมาตมัน มีความเชื่อว่า ปรมาตมัน หมายถึง พลังธรรมชาติ เป็นอมตะไม่มีเบื้องต้น 
และสิ้นสุด ส่วนวิญญาณย่อยเรียกว่า อาตมัน สามารถไปรวมกับปรมาตมันได้เมื่อบรรลุ 
โมกษะ 
2. หลักโมกษะ เป็นหลักปฏิบัติเพื่อหลุดพ้นจากวัฏจักรแห่งชีวิต ด้วยการนาอาตมันของตนเข้า 
สู่ปรมาตมัน
4. หลักปรัชญาภควัทคีตา ได้แก่ 
1. กรรมโยคะ การทา ความดีโดยไม่หวังผลตอบแทน 
2. ชยานโยคะ การปฏิบัติเพื่อให้เกิดปัญหา ความรู้แจ้ง 
3. ภักติโยคะ ความรัก ความภักดีอุทิศตนต่อพระเจ้าเพื่อนาไปสู่การหลุดพ้น 
5. หลักทรรศนะหก ได้แก่ 
1. สางขยะ ทรรศนะเกี่ยวกับชีวิต 
2. โยคะ ทรรศนะเกี่ยวกับการปฏิบัติโดยสา รวมอินทรีย์ ทา จิตใจให้บริสุทธ์ิ 
3. นยายะ ทรรศนะเกี่ยวกับความรู้ 
4. ไวเศษิกะ ทรรศนะเกี่ยวกับสิ่งที่มีอยู่จริงชั่วนิรันดร 9 อย่าง คือ ดิน น้า ลม ไฟ อากาศ 
กาลเทศะ อาตมัน มนะ 
5. มางสา ทรรศนะเกี่ยวกับปรัชญาน่าเชื่อถือ 
6. เวทานตะ ทรรศนะเกี่ยวกับอุปนิษัท (อุปนิษัท คือ คัมภีร์ในส่วนสุดท้ายของพระเวท เป็น 
คัมภีร์ที่เป็นหลักปรัชญาลึกซึ้ง)
1. นิกายพรหม นับถือพระพรหมเป็นเทพเจ้าสูงสุด 
2. นิกายไวษณพ (ลัทธิอวตาร) นับถือพระวิษณุ 
3. นิกายไศวะ นับถือพระศิวะ มีศิวลึงค์เป็นสัญลักษณ์ 
4. นิกายศากติ นับถือเทพเจ้าท่เีป็นสตรี
สัญลักษณ์: โอม 
ความหมาย: เป็นคา ศักด์ิสิทธ์ิในลัทธิโยคะ ใช้สา หรับบริกรรม (ท่องซ้า ๆ ) เพื่อให้ 
เกิดความรู้ถึงสิ่งสูงสุด และเพื่อป้องกันอุปสรรค ในการบา เพ็ญโยคะ
ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ Padvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามthnaporn999
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 

What's hot (20)

ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
2
22
2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 

Similar to ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาlinda471129101
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 

Similar to ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕ (20)

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 

ศาสนาพราหมณ์ บจ.๕

  • 2. เป็นศาสนาที่เก่าแก่ ไม่อาจนับจา นวน ปีที่ที่แน่นอนได้เพียงแต่ประมาณเวลาได้ เท่านั้น แบ่งตามแนวประวัติศาสตร์เป็น 7 ยุค คือ ยุคก่อนอารยัน ยุคอารยันเข้าอินเดีย ยุคฤคเวท ยุเวทต่าง ๆ ยุคพราหมณะ ยุอุปนิษัท และยุคพุทธกาล ศาสนาพราหมณ์ เกิด ในประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศาสนา ประมาณ 1,000 ปีขึ้นไป ศาสนาพราหมณ์ ไม่มีองค์พระศาสดาผู้ก่อตั้งศาสนาที่เป็นมนุษย์เหมือนศาสนาอื่น ๆแต่ก่อ รูปขึ้นจากลัทธิบูชาธรรมชาติ และวิวัฒนาการเป็นลัทธิบูชาเทพเจ้า ต่าง ๆ หลายองค์ดังที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน
  • 3. ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาธรรมชาติ แรกเริ่มชาวอารยันนับถือการบูชา ธรรมชาติเชื่อว่า มีเทพเจ้าประจา ธรรมชาตินั้น ๆ ทา นองเดียวกันกับ การเชื่อ หรือ การนับถือผีปู่ยา ตายาย ของไทยเราในสมัยโบราณ เช่น ในสมัยพระเวท ตอนต้น ชาวอารยัน จัดเทพเจ้า เป็น 3 หมวด คือ พวกที่หนึ่งอยู่บนสวรรค์ได้แก่ วรุณ คือ ฝน ไทยเรียก “พระพิรุณ” สูรย์ คือ พระอาทิตย์ พวกที่สองอยู่บน ฟ้า เป็นเทวดาประจา อากาศ ได้แก่ อินทระ คือ พระอินทร์ ในศาสนาพุทธ เรียก ท้าวสักกะ เจ้าแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มารุต คือลม พวกที่สามอยู่บนพื้นโลก เป็น เทวดาประจา แผ่นดิน ได้แก่ อัคนี คือ ไฟ ปฤถวี คือ แผ่นดิน และยม คือ พระ ยม เป็นต้น ในสมัยพระเวท นับถือพระอินทร์ว่า เป็นเทพเจ้า สูงสุด มีสายฟ้าเป็น อาวุธ สามารถทา ลายศัตรูให้พินาศราบคาบลงได้ชั่วพริบตา
  • 4. 1. สมัยพระเวท เป็นสมัยที่มีความเชื่อในเรื่องเทพเจ้ามากมายหลายพระองค์แบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ เทพบนพื้นโลก เทพบนอากาศ และเทพบนสวรรค์ ซึ่งมีเทพเจ้าที่มีความสา คัญ และถูกยกให้ยิ่งใหญ่ กว่าเทพเจ้าองค์อื่น ๆ คือ พระอินทร์ พระวรุณ และพระพฤหัสบดีฯลฯ 2. สมัยพราหมณ์ความเชื่อของมนุษย์ในสมัยนี้ ก้าวไกลออกไปถึงการหาเทพ ผู้ยิ่งใหญ่ ผู้สร้างโลกและสร้างสรรพสิ่งเทพเจ้าองค์ใหม่นี้ เรียกว่า "พระพรหม"เป็นผู้สร้างทุกสรรพสิ่ง เกิดจาก พระองค์เมื่อตายแล้ว ก็ต้องกลับคืนสู่พระพรหม นอกจากนี้ ยังมีเทพเจ้า ผู้ยิ่งใหญ่ อีก 2 องค์ คือ พระ วิษณุ และ พระศิวะ ทพเจ้าทั้ง 2 องค์ นี้ ได้รับการนับถือเทียบเท่ากับพระพรหม ทา ให้เรียกเทพเจ้าทั้ง 3 พระองค์ว่า "ตรีมูรติ" ซึ่งแปลว่า "รูปสาม" • พระพรหม เทพผู้สร้าง •พระวิษณุหรือพระนารายณ์เทพผู้รักษา •พระศิวะหรือพระอิศวร เทพผู้ทา ลาย
  • 5. 1. พิธีศราทธ์ คือ พิธีทา บุญให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว 2. พิธีประจา บ้าน ได้แก่ - พิธีอุปนยัน คือ พิธีเริ่มการศึกษา ถ้าเป็นหญิงยกเว้น - พิธีวิวาหะ คือ พิธีแต่งงาน 3. ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับวรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพทศย์ศูทร แต่ละวรรณะมีการดา เนินชีวิต ที่ต่างกันจึงต้องปฏิบัติตามวรรณะของตน เช่น การแต่งงาน การแต่งกาย เป็นต้น 4. พิธีบูชาเทพเจ้า แต่ละวรรณะจะมีการปฏิบัติต่างกันในเทศกาลต่าง ๆ เช่น งานศิวะราตรี (พิธี ลอยบาป) งานบูชาเจ้าแม่ลักษมี (เทวีแห่งสมบัติและความงาม) เป็นต้น
  • 6. 1. หลักธรรม 10 ประการ 1. ธฤติ คือ ความพอใจ 2. กษมา คือ ความอดทน 3. ทมะ คือ ความข่มใจ 4.อัสเตยะ คือ การไม่กระทา เย่ยีงโจร 5. เศาจะ คือ ความบริสุทธ์ิ 6. อินทรียนิครหะ คือ การสา รวมอินทรีย์ (ร่างกาย) 7. ธีคือ ความรู้ (ปัญญา) 8. วิทยา คือ ความรู้ (ปรัชญา) 9. สัตยะ คือ ความซื่อสัตย์ 10. อโกธะ คือ ความไม่โกรธ
  • 7. 2. หลักอาศรม 4 1. พรหมจารี คือ เป็นวัยศึกษาเล่าเรียน 2. คฤหัสถ์ คือ เป็นวัยครองเรือน 3. วานปรัสถ์คือ เป็นวัยออกไปอยู่ป่า 4. สันยาสี คือ เป็นวัยสุดท้ายของชีวิต ออกบวชเป็นสันยาสี บา เพ็ญเพียรเพื่อความหลุดพ้น 3. หลักปรมาตมัน และโมกษะ 1. หลักปรมาตมัน มีความเชื่อว่า ปรมาตมัน หมายถึง พลังธรรมชาติ เป็นอมตะไม่มีเบื้องต้น และสิ้นสุด ส่วนวิญญาณย่อยเรียกว่า อาตมัน สามารถไปรวมกับปรมาตมันได้เมื่อบรรลุ โมกษะ 2. หลักโมกษะ เป็นหลักปฏิบัติเพื่อหลุดพ้นจากวัฏจักรแห่งชีวิต ด้วยการนาอาตมันของตนเข้า สู่ปรมาตมัน
  • 8. 4. หลักปรัชญาภควัทคีตา ได้แก่ 1. กรรมโยคะ การทา ความดีโดยไม่หวังผลตอบแทน 2. ชยานโยคะ การปฏิบัติเพื่อให้เกิดปัญหา ความรู้แจ้ง 3. ภักติโยคะ ความรัก ความภักดีอุทิศตนต่อพระเจ้าเพื่อนาไปสู่การหลุดพ้น 5. หลักทรรศนะหก ได้แก่ 1. สางขยะ ทรรศนะเกี่ยวกับชีวิต 2. โยคะ ทรรศนะเกี่ยวกับการปฏิบัติโดยสา รวมอินทรีย์ ทา จิตใจให้บริสุทธ์ิ 3. นยายะ ทรรศนะเกี่ยวกับความรู้ 4. ไวเศษิกะ ทรรศนะเกี่ยวกับสิ่งที่มีอยู่จริงชั่วนิรันดร 9 อย่าง คือ ดิน น้า ลม ไฟ อากาศ กาลเทศะ อาตมัน มนะ 5. มางสา ทรรศนะเกี่ยวกับปรัชญาน่าเชื่อถือ 6. เวทานตะ ทรรศนะเกี่ยวกับอุปนิษัท (อุปนิษัท คือ คัมภีร์ในส่วนสุดท้ายของพระเวท เป็น คัมภีร์ที่เป็นหลักปรัชญาลึกซึ้ง)
  • 9. 1. นิกายพรหม นับถือพระพรหมเป็นเทพเจ้าสูงสุด 2. นิกายไวษณพ (ลัทธิอวตาร) นับถือพระวิษณุ 3. นิกายไศวะ นับถือพระศิวะ มีศิวลึงค์เป็นสัญลักษณ์ 4. นิกายศากติ นับถือเทพเจ้าท่เีป็นสตรี
  • 10. สัญลักษณ์: โอม ความหมาย: เป็นคา ศักด์ิสิทธ์ิในลัทธิโยคะ ใช้สา หรับบริกรรม (ท่องซ้า ๆ ) เพื่อให้ เกิดความรู้ถึงสิ่งสูงสุด และเพื่อป้องกันอุปสรรค ในการบา เพ็ญโยคะ