SlideShare a Scribd company logo
1 of 133
ศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
1. โฉมหน้าอินเดีย
1.1 ภูมิประเทศและประชากร
- อินเดียประกอบด้วยพื้นที่ 3,287,263
ตารางกิโลเมตร
- ใหญ่เป็นอันดับ 7 ของโลก
- เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหญ่อันดับ 10
ของโลก
- เป็นลำาดับที่ 6 ที่ออกไปสำารวจอวกาศได้
รถไฟในอินเดีย
1.2 ประวัติศาสตร์ ภาษา และวัฒนธรรม
- อินเดียนับเป็นแหล่งอารยธรรม
โบราณแห่งหนึ่ง
- อาณาจักรโมเฮ็นโจ ดาโร และ
ฮารัปปา เคยเจริญรุ่งเรืองอยู่เป็นเวลา
กว่า 2,000 ปี
- วัฒนธรรมอินเดียมีความผูกพันกับ
ศาสนา และยังรับเอาวัฒนธรรมจากต่าง
ถิ่น เข้ามาผสมผสานกันกับวัฒนธรรม
1.4 ศาสนา
อินเดียเป็นแหล่งแห่งศาสนาที่ยิ่งใหญ่ มี
ศาสนาต่างๆ มากมายที่เกิดขึ้นในอินเดีย เช่น
ศาสนาพราหมณ์ พุทธ เชน ซิกส์ นอกนั้น ยัง
เป็นบ่อเกิดแห่งลัทธิทางปรัชญาต่างๆ อีก
มากมาย
แม่นำ้าคงคา
แม่นำ้าคงคา
• ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเป็นศาสนาที่ยังคงดำารง
อยู่ได้และเก่าแก่ที่สุดในโลก กล่าวกันว่า เป็น
ศาสนาที่เผยโดยเทพเจ้า จะกล่าวว่าเป็นลม
หายใจของเทพเจ้าก็ว่าได้ (Inspired by
divine revelations or by the breath of
God)
• ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เนื่องจากไม่มีศาสดาผู้ตั้ง
ศาสนา จึงไม่สามารถระบุวันเวลาแน่นอนได้ว่า
ได้เริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไร แต่อาจกล่าวถึง
วิวัฒนาการได้ 2 ช่วง คือ ช่วงแรก สมัยก่อน
ประวัติ
ความเป็น
มา
• ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เริ่มขึ้นจากลัทธิประจำา
เผ่า และพัฒนาขึ้นมาเป็นศาสนาประจำาเผ่า
อารยัน (Tribal Religion ) และกลายเป็น
ศาสนาระดับชาติในที่สุด กล่าวคือ เดิมเป็นลัทธิ
บูชาเทพเจ้าของเผ่าอารยัน
• ชนเผ่าอารยันที่อพยพลงมาจากตอนกลางของ
ทวีปเอเชีย มายังลุ่มแม่นำ้าสินธุ ได้รบชนะชาว
พื้นเมืองอินเดียที่เรียกว่า มิลักขะ หรือ ทัสยุ
• ได้ขับไล่พวกมิลักขะเจ้าของท้องถิ่นเดิมออกไป
แล้วตั้งถิ่นฐานที่อยู่ครอบครองลุ่มนำ้าสินธุและ
ประวัติ
ความเป็น
มา
เมืองโมเหนโจดาโร : อารยธรรมโบราณลุ่ม
แม่นำ้าสินธุ
ของพวกดราวิเดียน
เมืองฮารัปปา : อารยธรรมโบราณลุ่มแม่นำ้าสินธุ
ของพวกดราวิเดียน
ลำาดับชื่อของศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู• “สนาตนธรรม” (Sanatana Dharma) แปล
ว่า ศาสนาที่ดำารงอยู่นิจนิรันดร ไม่มีวันเสื่อม
(Eternal or Universal Righteousness)
• ต่อมาเกิดคัมภีร์พระเวท เรียกว่า “ไวทิกธรรม”
แปลว่า ธรรมที่ได้จากพระเวท
• ภายหลังได้เปลี่ยนเป็น “อารยธรรม” แปลว่า
ธรรมอันดีงาม
• เมื่อพวกพราหมณ์มีอิทธิพลทางศาสนาจึงได้ชื่อ
ว่า “พราหมณธรรม” แปลว่า คำาสอนของ
พราหมณาจารย์
การแบ่งยุคสมัยของศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
•ยุคดึกดำาบรรพ์ - ก่อนพระเวท
•ยุคพระเวท (อยู่ในช่วงประมาณ
๑,๐๐๐-๑๐๐ ปี ก่อนพุทธกาล)
•ยุคพราหมณ์ (ประมาณ ๑๐๐ ปี ก่อน
พุทธกาล ถึง พ.ศ.๗๐๐)
•ยุคฮินดู (ตั้งแต่ พ.ศ. ๗๐๐ เป็นต้นมา)
๑. –ยุคดึกดำาบรรพ์ ก่อนมี
คัมภีร์พระเวท >> ความเชื่อ
ดั้งเดิมของชาวอารยัน
- ศาสนาพราหมณ์ เกิดในประเทศอินเดีย
ประมาณ 1,455-957 ปีก่อน พ.ศ. นับ
ตั้งแต่ชาวอารยันเข้ามาอยู่ในอินเดีย
• ชาวอารยันนับถือเทพเจ้าหลายองค์ เช่น
พระสาวิตรี พระวรุณ พระอัคนี พระรุทระ
เป็นต้นและได้นำาความเชื่อของตนไปผสม
ผสานกับของชาวพื้นเมืองมิลักขะ ที่นับถือ
เทพเจ้าประจำาโลกธาตุทั้ง 4 จึงก่อเกิด
คัมภีร์พระเวท และวิวัฒนาการเป็น
๒. ยุคพระเวท
• ยุคพระเวท เป็นยุคที่นับตั้งแต่เริ่มเกิดมีพระเวท
ขึ้น คัมภีร์พระเวทเริ่มมีขึ้นประมาณ 1,000 ปี
ก่อนพุทธกาล หรือ ๑,๕๐๐ ปี ก่อน ค.ศ.
• เป็นปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ เกิดจากการ
ผสมผสานความเชื่อของชนพื้นเมืองอินเดีย คือ
พวกทราวิท หรือ ดราวิเดียน กับ ความเชื่อของ
ผู้บุกรุก คือ พวกอารยัน กลายเป็นศาสนาและ
ปรัชญาตามแนวคำาสอนของคัมภีร์พระเวท
• ชาวอารยันได้รวบรวมบทสวดอ้อนวอนเทวะขึ้น
“ ”เป็นหมวดหมู่เป็นคัมภีร์ เรียกว่า เวท คือ วิทยา
คัมภีร์พระเวท
คัมภีร์พระเวททั้ง 4 ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่
ได้ยินได้ฟังมาจากพระเป็นเจ้าโดยตรง
ไม่มีผู้แต่ง แต่เป็นการค้นพบของฤาษี
ทั้งหลาย เป็นของที่มีอยู่ชั่วนิรันดร
เป็นลมหายใจของพระผู้เป็นเจ้า เป็น
สัจธรรมที่แสดงถึงประสบการณ์ทาง
วิญญาณของฤาษีทั้งหลาย ใน
อดีตกาลที่ยาวนาน พระเวทแบ่งออก
เป็น 4 คัมภีร์ คือ
1) ฤคเวท เป็นคัมภีร์เก่าแก่ที่สุด เป็น
บทเพลงสวดหรือมนต์สรรเสริญ
อ้อนวอนพระผู้เป็นเจ้าและเทวี มี
บทเพลงสวด 1,017 บท แสดงให้เห็น
ถึงการยกย่องอำานาจธรรมชาติในการ
ต่อสู้ระหว่างแสงสว่างกับความมืด
ความร้อนกับความหนาว อำานาจ
ธรรมชาติถูกยกฐานะเป็นเทพเจ้า มี
เทพเจ้าสำาคัญ ๆ คือ อัคนี อินทร์ สูรยะ
วรุณ อุษา อัศวิน มรุต รุทระ ยมะ
2) ยชุรเวท เป็นคัมภีร์ที่เป็น
คู่มือประกอบพิธีกรรมของ
พราหมณ์ ซึ่งเป็นบทร้อยแก้วที่
อธิบายวิธีประกอบพิธีกรรม
บวงสรวงและการทำาพิธีบูชายัญ
จัดตามลำาดับเพลงสวด ซึ่งส่วน
มากเอามาจากฤคเวท ถือว่าเป็น
คัมภีร์ที่จะต้องศึกษาเป็นพิเศษ
และมีสาขาแตกขยายไปเป็น
3) สามเวท เป็นคัมภีร์ที่
รวบรวมบทสวด ซึ่งเป็นบท
ร้อยกรองมีทั้งหมดถึง
1,549 บท โดยนำามาจาก
ฤคเวทเป็นส่วนมาก ที่แต่ง
ขึ้นใหม่ มีประมาณ 78 บท
จะใช้สำาหรับสวดในพิธี
ถวายนำ้าโสมและขับกล่อม
4) อถรรพเวท เป็นคัมภีร์
ที่แต่งขึ้นใหม่ในปลายสมัย
พราหมณ์ เป็นคาถาอาคม
มนต์ขลังศักดิ์สิทธิ์ สำาหรับทำา
พิธีขับไล่เสนียดจัญไร และ
อัปมงคลให้กลับมาเป็นสวัสดิ
มงคล นำาความชั่วร้ายไป
บังเกิดแก่ศัตรู
• พระเวทแต่ละคัมภีร์ แบ่งออกเป็น 4 ตอน คือ
• 1. มันตระ : รวบรวมมนต์ร้อยกรอง สำาหรับ
ใช้สวดสรรเสริญ สดุดีเทพเจ้า เป็นคาถาใช้
ในพิธีบูชายัญ
• 2. พราหมณะ : เป็นร้อยแก้ว อธิบาย
ระเบียบการประกอบพิธีกรรม เป็นคู่มือของ
พราหมณ์
• 3. อารัณยกะ : เรียบเรียงในป่าที่เงียบสงัด
เกิดแนวคิดทางปรัชญา
เนื้อหาเป็นเรื่องลึกลับเกี่ยวกับการประกอบพิธี
บูชายัญ ต้องศึกษาคัมภีร์ในป่าเพื่อความ
• 4. อุปนิษัท : ประมวลแนวความ
คิดทางปรัชญาในคัมภีร์พระเวท
ไว้ทั้งหมด ว่าด้วยความรู้
ในเรื่องธรรมชาติอันแท้จริงของ
โลก , พรหม หรือ พรหมัน หรือ
อาตมัน
• อุปนิษัท เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
เวทานตะ แปลว่าที่สุดแห่ง
พระเวท เพราะเป็นตอนสุดท้าย
ของพระเวทอย่างหนึ่ง และเป็น
ประมวลส่วนที่สำาคัญที่สุดของ
พระเวทอย่างหนึ่ง
• “ ” –ชาวฮินดูเชื่อว่าคัมภีร์พระเวทเป็น ศรุติ
พระวจนะของพระเจ้าที่ทรงสั่งสอนถ่ายทอด
ให้แก่พวกฤาษีอินเดียในสมัยโบราณ ฤาษีทั้ง
หลายเมื่อได้เรียนรู้พระเวทจากพระเจ้าแล้วก็
สั่งสอนถ่ายทอดให้แก่สานุศิษย์ต่อๆ มา
• ในเตวิชชสูตร : ฤาษี 10 ตน ผู้เป็นบูรพาจารย์
ผู้สอนคัมภีร์พระเวทให้แก่พวกพราหมณ์
ได้แก่ ฤาษีอัฏฐกะ, ฤาษีวามกะ, ฤาษีวาม
เทวะ, ฤาษีเวสสามิตร,ฤาษียมตัคคี, ฤาษีอังคี
รส, ฤาษีภารทวาชะ, ฤาษีวาเสฎฐะ, ฤาษี
กัสสปะ และฤาษีภคุ
ความคิดทางด้านศาสนาและ
ปรัชญา
ในคัมภีร์พระเวท
• คนพื้นเมืองเดิมของอินเดีย นับถือ บูชาโลก
ธาตุ 4 และธรรมชาติ มีแนวคิดแบบ
“ ”วิญญาณนิยม (Animism)
• เมื่อพวกอารยันเข้ามารุกราน จึงเกิดการผสม
ผสานแนวความคิด และความเชื่อของพวก
อารยันและชนพื้นเมืองเข้าด้วยกัน จนกลาย
ป็นศาสนาและปรัชญาตามแนวคำาสอนของ
คัมภีร์พระเวทในยุคต่อมา
• ในยุคพระเวทเกิดมีเทพเจ้าใหม่ๆ เป็น
เทพเจ้าประจำาธรรมชาติ >> เทพเจ้าประจำา
พระสาวิตรี
พระวรุณ เทพผู้ควบคุมกฎ
ฤตะ
พระอินทร์ พระผู้สร้างโลก
พระยม เทพแห่งความตาย
พระอัคนี
พัฒนาการทางศาสนาใน
ยุคพระเวท
• พหุเทวนิยม (Polytheism)
• อติเทวนิยม
(Henotheism)
• เอกเทวนิยม
(Monotheism )
การเกิดขึ้นของ
วรรณะ ๔
สิ่งที่สำาคัญประการหนึ่งในสมัยพระเวท คือ
การแบ่งบุคคลในสังคมออกเป็น ๔ ประเภท
เรียกว่า “วรรณะ” คำาว่า วรรณะ แปลว่า
สีผิว สันนิษฐานว่า การแบ่งชั้นคนในระยะ
แรกน่าจะถือตามสีผิว ซึ่งแต่เดิมมีเพียง ๒
วรรณะ คือ พวกผิวดำา ได้แก่ พวกทราวิท
(ดราวิเดียน) กับ พวกผิวขาว ได้แก่ ชาว
อารยัน ซึ่งในเวลาต่อมาได้แบ่งออกเป็น ๔
วรรณะ
วรรณะ
พราหมณ์
วรรณะพราหมณ์ มีหน้าที่ติดต่อกับ
เทพเจ้า สั่งสอนศาสนาและประกอบ
พิธีกรรมแก่ประชาชนทุกวรรณะ
นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ศึกษา จดจำา และ
สืบต่อคัมภีร์พระเวท และเป็นปุโรหิต
ให้แก่กษัตริย์ พราหมณ์มักจะถือว่าตน
เป็นวรรณะสูงสุดในสังคม เพราะเกิด
วรรณะ
กษัตริย์
วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ นักรบ ทำา
หน้าที่ป้องกันชาติบ้านเมืองและทำา
ศึกสงครามขยายเขตแดน ในคัมภีร์
ฤคเวทกล่าวว่า วรรณะกษัตริย์เกิด
จากพระพาหา (แขน) ของพระผู้
เป็นเจ้า
วรรณะ
แพศย์
วรรณะแพศย์ เป็นวรรณะของคน
ส่วนใหญ่ในสังคม ได้แก่ ผู้
ประกอบพาณิชยกรรม
เกษตรกรรม และศิลปหัตถกรรม
ต่าง ๆ วรรณะแพศย์เกิดจากพระ
โสณี (สะโพก) ของพระผู้เป็นเจ้า
วรรณะ
ศูทร
วรรณะศูทร เป็นวรรณะของพวก
กรรมกร ผู้ทำางานรับจ้างที่ต้องใช้
แรงงานแบกหาม หรือให้บริการแก่
วรรณะอื่น ๆ วรรณะศูทรถือเป็น
วรรณะตำ่าสุด เพราะเกิดจาก
พระบาท (เท้า) ของพระผู้เป็นเจ้า
นอกจากนี้ ยังมีพวกนอกวรรณะซึ่ง
เกิดจากการแต่งงานข้ามวรรณะ เรียกว่า
“จัณฑาล” (Dalit แปลว่า มืดมน ไร้
อนาคต) พวกนี้เป็นที่รังเกียจของทุก
วรรณะ
บ่อนำ้าร้อนตโปทาราม
๒. ยุคพราหมณะ
• ประมาณ ๓๐๐ ปีก่อนพุทธกาล เป็นสมัยที่
พราหมณ์เรืองอำานาจ มีอิทธิพลเหนือวรรณะอื่น
• เป็นยุคที่เกิดเทพองค์ใหม่ขึ้น คือ “พระ
”พรหม ยกย่องเป็นเทพผู้บริสุทธิ์ ผู้สร้าง
สรรพสิ่งรวมทั้งวรรณะ ๔ เพื่อความสงบ
และสันติของการอยู่ร่วมกันในสังคม
มนุษย์ โดยกำาหนดหน้าที่กำากับให้วรรณะ
ถือเป็นจริยธรรมของตนได้ เป็นแนวคิด
แบบ “ ”เอกเทวนิยม
• โลกจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะ สำาคัญ ๓
คุณสมบัติของพราหมณ์
• ๑) ศมะ >> มีความสุภาพภายในจิตใจ ไม่ปั่น
ป่วนด้วยความโลภ โกรธ หลง
• ๒) ทมะ >> ระงับจิตไว้ได้ รำาลึกในความเมตตา
อยู่เสมอ
• ๓) ตปะ >> ผจญต่อความลำาบาก
• ๔) เศาจะ >> ทำาตัวเองให้บริสุทธิ์ทั้งร่างกาย
และจิตใจ
• ๕) กษมา >> มีความอดทน มีเมตตา กรุณาเป็น
ที่ตั้ง
หน้าที่ของพราหมณ์
• ๑) ปฐนำ >> รับการศึกษา
ชั้นสูง
• ๒) ปาฐนำ >> ให้การศึกษา
แก่คนอื่น
• ๓) ยชนำ >> ทำาพิธีบูชา
ต่างๆ ของตนเอง
• ๔) ยาชนำ >> ทำาพิธีบูชา
ต่างๆ เพื่อคนอื่น
• ๕) ทานำ >> ทำาบุญให้ทาน
คุณสมบัติของศูทร
• ๑) นันรดา > มีความ
สงบเสงี่ยมเจียมตน
• ๒) นิษกปฎตา > ไม่มี
ความเฉื่อยชา ตลบตะแลง
คดโกง
• ๓) เศาจะ > ทำาตัวเองให้
บริสุทธิ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
• ๔) อาสติกตา > จงรักภักดีต่อ
พรหม
• ๕) อสเตยยะ > ไม่ลักขโมย
แนวคิดเรื่องเทพเจ้าในยุค
พราหมณะ
• พระพรหม มีลักษณะเป็นตัวสำาแดงของพร
หมันที่ปรากฏตนเองให้สรรพสิ่งรับรู้
• ต่อมาพราหมณ์ได้สร้างแนวคิด “ ”ตรีมูรติ ขึ้น
เพื่อปฏิรูปความเชื่อในเรื่อง “ ”พหุเทวนิยม
เพื่อให้สามารถอธิบายสังสารวัฏหรือการ
หมุนเวียนของโลกและชีวิตได้ และได้สร้าง
ทฤษฎีอวตาร หรือ การแบ่งภาคมาเกิดในโลก
มนุษย์ของพระนารายณ์ เพื่อแสดงถึง
วิวัฒนาการหรืออำานาจของเทพผู้ยิ่งใหญ่
• ***ยุคนี้อาจเรียกว่า **ยุคฮินดู เพราะศาสนา
ตรีมูรติ : เทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ 3
องค์ของฮินดู
พระ
พรหม
พระศิวะ
พระ
ตรีมูรติ
พระพรหม พระศิวะ
พระพรหม : พระผู้สร้าง
Creato
r
• พระพรหมเมื่อแรกบังเกิด
เป็นไข่ฟองใหญ่ก่อน เกิด
ภายในปรพรหม พอไข่
แตกออกมาจึงเป็นองค์
พระพรหม>> เรียกว่า
“ ”พระสยัมภู แปลว่า
พระองค์ผู้เกิดเอง
• คัมภีร์ปุราณะ พระมหา
กาลได้ถูพระกรซ้ายด้วย
นิ้วพระหัตถ์ จนพองเป็น
รูปไข่สีทอง พระมหากาล
ได้ต่อยไข่ออกเป็น ๒
ภาค ภาคบนทำาเป็น
พระสรัสวตี
(Sarasvati)
เทพีเจ้าแห่ง
ศิลป์สร้างสรรค์
ทั้งปวง
พระศิวะ
(อิศวร)เทพเจ้าผู้
ทำาลายล้าง
Destroyer
พระแม่
อุมา
พระ
พิฆเนศ
พระแม่อุ
มาเทวี
พระวิษณุ
(นารายณ์)
เทพเจ้าผู้
คุ้มครองรักษา
Preserv
er
นารายณ์
อวตารปราบยุคเข็ญของ
มนุษย์
พระแม่ลักษมี
(Laksmi)
เทพีเจ้าแห่ง
ความรุ่งเรือง
พระแม่ตุลสิ (Tulsi)
Offering water
to Tulsi
• พระแม่ลักษมีถูกพระแม่ส
รัสวตีสาปให้เป็นต้นกระ
เพรา ไปเกิดอยู่บนโลก
ตลอดกาล แต่เมื่อคำา
สาบสูญสิ้นไปจึงกลับมา
สถิตอยู่กับพระวิษณุดัง
เดิม
• ชาวอินดูไวศวนิกาย
ถือว่า ต้นตุลสีเป็นต้น
ไม้ศักดิ์สิทธิ์ที่สุด ใช้
ประกอบพิธีกรรม ตุลสี
ได้ถูกยอมรับนับถือกัน
ทั่วไปในกลุ่มชาวฮินดู
Holy Cow
โค
นันทิNandi
•การฆ่าวัวบาปเท่ากับฆ่า
พราหมณ์
•การกินเนื้อวัวสำาหรับชาว
ฮินดูเป็นสิ่งชั่วร้ายยิ่งกว่า
กินเนื้อมนุษย์
Holy
Snake
Holy
Monkey
Ramayana
หนุมาน
Holy
Frogบูชากบเป็นสัตว์
ศักดิ์สิทธิ์ เป็นสัตว์
ที่บันดาลให้ฝนตก
ขั้นตอนการดำาเนิน
ชีวิต ๔ ขั้น
1.
พรหมจ
ารี
2. คฤหัสถ์
3. วน
อาศรม 4 (ในคัมภีร์มนู
ธรรมศาสตร์)
• –ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู ได้แบ่งขั้นตอนของ
ชีวิตออกเป็น 4 ขั้น
• 1. พรหมจารี : ขั้นตอนของชีวิตที่ยังศึกษา
เล่าเรียนในสำานักของอาจารย์ (วรรณะ
พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ เมื่ออายุ
๘,๑๑,๑๒ปี) - ศึกษากาล
• 2. คฤหัสถ์ : การครองเรือนโดยการ
แต่งงานและตั้งครอบครัว ต้องบำาเพ็ญมหา
ยัญ 5 อย่าง -- บริวารกาล
• 3. วนปรัสถ์ : ขั้นตอนการแยกจาก
“ครอบครัว เพื่อไปปฏิบัติธรรมในป่า เมื่อผู้
อาศรม 4 (ต่อ)
• 4. สันยาสี : เป็นขั้นตอนสุดท้ายของชีวิต
เป็นผู้ครองเพศบรรพชิต สละชีวิตทางโลก
โดยสิ้นเชิง อุทิศตนในการแสวงหาความจริง
เกี่ยวกับชีวิต แสวงหาอาหารด้วยการ
ภิกขาจาร รักษาพรหมจรรย์ ควบคุมกาย
วาจา ใจ มุ่งปฏิบัติขัดเกลา โดยมีความหลุด
พ้นจากทุกข์หรือ โมกษะ เป็นจุดหมายปลาย
ทาง -- วิศวกาล
หลักปุรุษารถะ --
ประโยชน์ 4
• การดำาเนินชีวิตที่ดี ควรมุ่ง
ประโยชน์ตามลำาดับ ดังนี้
• 1. อรรถะ : ความสมบูรณ์
พรั่งพร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
• 2. กามะ : การแสวงหา
ความสุขทางโลกตามควร
แก่ภาวะหรือวิสัยของผู้
ครองเรือน
• 3. ธรรมะ : การถึงพร้อม
ด้วยคุณธรรม
• 4. โมกษะ : การเข้าถึง
หลักธรรม ๑๐ ประการ
• ๑) ธฤติ >> ความพอใจ ความกล้าหาญ
ความมั่นคง การมีความสุข
• ๒) กษมา >> ความอดกลั้น หรือความ
อดทน
• ๓) ทมะ >> การระงับจิตใจของตนด้วย
ความสำานึกในเมตตา และมีสติอยู่เสมอ
• ๔) อัสเตยยะ >> การไม่ลักขโมย
• ๕) เศาจะ >> การทำาตนให้บริสุทธิ์ทั้ง
ร่างกายและจิตใจ
หลักธรรม ๑๐ ประการ (ต่อ)
• ๗) ธี >> ปัญญา สติ ความคิด
• ๘) วิทยา >> ความรู้ทางปรัชญา คือ มี
ความรู้เกี่ยวกับชีวะ มายา และพระพรหม
• ๙) สัตยะ >> ความจริง ความเห็นอันสุจริต
• ๑๐) อโกธะ >> ความไม่โกรธ
ปรัชญาอุปนิษัท
ปรัชญาอุปนิษัท
• อุปนิษัทเป็นตอนสุดท้ายของคัมภีร์พระเวท เรียกอีก
“ ”อย่างหนึ่งว่า เวทานตะ
• อุปนิษัท แปลว่า การนั่งลงใกล้อาจารย์ของผู้เป็น
ศิษย์ เพื่อรับคำาสอนอย่างตั้งใจ เกี่ยวกับเรื่องความ
จริง หรือสัจธรรม ที่จะบรรเทาความสงสัย หรือ ทำา
ลายอวิทยาให้หมดไป
• ยุคอุปนิษัท เริ่มต้นเมื่อประมาณ 100 ปีก่อน
พุทธกาล และสิ้นสุดลงในราว พ.ศ. 700
• ความเชื่อแบบอติเทวนิยม เปลี่ยนเป็นความเชื่อแบบ
เอกเทวนิยม อย่างเต็มที่ คือ นับถือ พระประชาบดี
หรือ พระพรหม เป็นเทพผู้ยิ่งใหญ่สูงสุด
คัมภีร์อุปนิษัท
• เป็นคัมภีร์ที่ว่าด้วยความคิดทางปรัชญา นั่น
คือ ความนึกคิดเกี่ยวกับปัญหาเรื่องความมี
อยู่ของ พรหมัน หรือ อาตมัน (Supream
Soul) มายา / อวิทยา/ การสร้างโลก /
โมกษะ หรือความหลุดพ้น ความรู้ที่เป็นความ
จริง หรือทางนำาไปสู่ความเป็นเสรี
• ถือกันว่าอุปนิษัทเป็นคัมภีร์เล่มสุดท้ายของ
การศึกษา เป็นบทสนทนาโต้ตอบ ได้อธิบาย
ถึงธรรมชาติและจักรวาล วิญญาณของ
มนุษย์ การเวียนว่ายตายเกิด กฎแห่งกรรม
สาระแห่งปรัชญาอุปนิษัทสาระแห่งปรัชญาอุปนิษัท
• 1.) เรื่องปรมาตมัน - ปรมาตมัน คือ
วิญญาณดั้งเดิม หรือ ความจริงสูงสุดของ
โลกและชีวิต หรือ จักรวาล ซึ่งเรียกว่า
พรหมัน สรรพสิ่งมาจากพรหมัน และใน
ที่สุดก็จะกลับคืนสู่ความเป็นเอกภาพกับพร
หมัน มีลักษณะเป็นอัตตา อมตะนิรันดร
• 2.) เรื่องอาตมัน หรือ ชีวาตมัน - ซึ่ง
เป็นส่วนอัตตาย่อยหรือวิญญาณย่อยที่
ปรากฏแยกออกมาอยู่ในแต่ละคน ดังนั้นการ
ที่อาตมันหรือชีวาตมันย่อยนี้เข้าไปรวมกับ
สาระแห่งปรัชญาอุปนิษัทสาระแห่งปรัชญาอุปนิษัท
• 3.) เรื่องกรรม – การที่ชีวาตมันจะกลับคืน
สู่พรหมันเป็นเอกภาพอมตะได้นั้น ผู้นั้นจะ
ต้องบำาเพ็ญเพียร ทำาความดี และประกอบ
พิธีกรรมต่างๆ ที่เรียกว่า โยคะ คือ
• กรรมโยคะ ทำากรรมดี ภักติโยคะ มี
ศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า และชญาน
โยคะ หรือการศึกษาจนเข้าใจคัมภีร์
พระเวทอย่างถูกต้อง
• คำาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท ทำาให้ศาสนา
พราหมณ์เป็น เอกนิยม (Monism) เชื่อว่า
คำาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท
• 1.พระพรหมเป็นผู้ทรงความเที่ยงแท้
นิรันดร โลกทั้งปวงเป็นมายา และต้อง
ถึงความพินาศเมื่อสิ้นกัลป์ สรรพสิ่งรวม
ทั้งเทพเจ้าล้วนมีกำาเนิดมาจากพระ
พรหมทั้งสิ้น กรรมเป็นเหตุให้มนุษย์ต้อง
เวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน สังสาระ การ
พ้นจากสังสารวัฏและเข้าไปเป็น
เอกภาพของพระพรหมเป็นจุดหมาย
สูงสุด
• 2. วิญญาณของมนุษย์และสรรพสัตว์
ย่อมมาจากวิญญาณแรก คือ พร
หมัน เปรียบเหมือนประกายไฟที่กระเด็น
คำาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท
• 3. อาศัยกรรมดี กรรมชั่ว เป็นปัจจัยให้มี
การเวียนว่ายตายเกิด ถ้าใครสามารถหา
อุบายไม่ทำากรรมได้ ก็จะรอดพ้นจาก
ความเกิดกรรม เช่น ออกป่าถือเพศเป็น
ดาบสหรือนักพรตเข้าสู่ความเป็นผู้ไม่
ประกอบกรรม เพื่อให้วิญญาณเข้าใกล้
ชิดกับพรหมัน
• 4. เมื่อถึงกำาหนดสิ้นกัลป์หนึ่งซึ่งเป็น
คราวล้างโลก วิญญาณและโลกธาตุจะ
ต้องพินาศลงและเข้าสู่สภาวะเดิมคือ พร
หมัน เมื่อถึงเวลาของพรหมันสร้างโลก
ขึ้นมาใหม่ ธาตุนานาชนิดก็จะชุมนุมกัน
Birth and
Rebirth
ปรัชญาภควัท
คีตา
เพลงของพระผู้เป็นเจ้า
ปรัชญาภควัทคีตา
• ปรากฏอยู่ในมหากาพย์ เรื่อง มหาภาร
ตะ เป็นเรื่องว่าด้วย กษัตริย์ 2 วงศ์ คือ
วงศ์เการพ และวงศ์ปาณฑบ ซึ่งเป็น
ญาติกัน แต่ต้องมารบกัน พระกฤษณะ
ซึ่งเป็นพระนารายณ์อวตารปางที่ 8 ผู้
ทำาหน้าที่สารถีขับรถให้อรชุนซึ่งอยู่ใน
วงศ์ปาณฑบ ได้แสดงหลักปรัชญา
เรื่อง อาตมัน กับพรหมัน ไว้อย่าง
ชัดเจน จนทำาให้อรชุนมีกำาลังใจใน
การรบจนกระทั่งชนะฝ่ายศัตรู โดย
สอนเน้นเรื่องการทำาหน้าที่เพื่อหน้าที่
• “........พระอรชุนทรงยืนในท่าทรง
ศร ท่ามกลางสนามรบ คอยให้
สัญญาณให้ทหารลงมือรบ ขณะ
นั้น พระอรชุนมองเห็นกองทัพ
ฝ่ายตรงข้ามปรากฏอยู่ตรงหน้า
ซึ่งเป็นกองทัพของพวกที่เป็นญาติ
ของพระองค์เอง บรรดาแม่ทัพ
นายกอง ล้วนเป็นญาติใกล้ชิด
ของพระองค์อยู่หลายคน และส่วน
ใหญ่ก็เป็นบุคคลที่ตนนับถือยิ่ง
ส่วนคนในกองทัพของพระอรชุน
เองก็มีพระภาดา และญาติของ
พระองค์รวมอยู่ด้วย ทันใดนั้น
พระอรชุนก็ตกอยู่ในอาการ
ประหวั่นพรั่นพรึง ด้วยความสลด
พระทัยอย่างยิ่ง จึงถามตนเองว่า
จะมีประโยชน์อันใดกับราช
อาณาจักร เมื่อเรารบชนะก็จะได้
มา แต่จะต้องสูญเสียชีวิตและ
เลือดเนื้อของผู้คนเป็นอันมาก
เป็นการสมควรแล้วหรือที่จะ
• ปรัชญาภควัทคีตา.....มีจุดมุ่งหมายที่จะ
สอนคติปรัชญาแห่งการกระทำาหน้าที่ที่
ถูกต้อง โดยยกเอาเกียรติยศของบุคคล
ให้สูงขึ้น ซึ่งหมายถึง หน้าที่ที่บุคคลพึง
กระทำาโดยไม่คำานึงถึงผลประโยชน์ส่วน
ตัวเป็นที่ตั้ง หรือ ไม่มีจุดมุ่งหวังใดๆ จะ
ต้องทำาหน้าที่ของตนอย่างเคร่งครัด
• และเข้าใจว่าวิญญาณหรือชีวาตมัน
เท่านั้นเป็นสิ่งที่เป็นจริง และมีความคง
อยู่ชั่วนิรันดร วิญญาณของมนุษย์แต่ละ
คนเป็นส่วนย่อยของดวงวิญญาณสูงสุด
ซึ่งเป็นสิ่งที่เป็นจริงและเป็นต้นกำาเนิด
ของสรรพสิ่ง
• ดังนั้น วิญญาณ(อาตมัน) ไม่มีการถูก
• คัมภีร์ภควัทคีตา สอนจริยธรม คือ
โยคะ ๓ ประการ
• หรือ ทางแห่งการบรรลุความเป็น
เอกภาพกับพรหมัน 3 ทาง คือ
• 1.) การกระทำากรรมดี โดยการปฏิบัติ
หน้าที่ของตนในแต่ละวรรณะให้ถูก
ต้อง และละความยึดมั่นถือมั่นในการก
ระทำากรรม เรียกว่า “กรรมโยคะ”
• 2.) การภักดี หรือ อุทิศตนหรือการ
มอบตนด้วยศรัทธาต่อพระผู้เป็นเจ้า
เรียก “ภักติโยคะ”
• 3.) ความรู้ เริ่มต้นด้วยการศึกษา
พระเวท จนสามารถเข้าใจถึงธรรมชาติ
โมก
ษะ
ความรู้
การกระ
ทำา
ความ
ภักดี โยคะ แปลว่า การ
รวมอาตมันย่อย กับ อาตมัน
ชฺญาน
โยคะ
กรรม
โยคะ
ภักติ
โยคะ
การเข้าถึงความจริงอันติมะด้วย
ความรู้ (ไฟเมื่อก่อให้ลุกติดดีแล้ว
ย่อมสามารถทำาให้เชื้อเพลิงคง
เหลือแต่เถ้าธุลีฉันใด ไฟคือความรู้
ย่อมประหารกรรมทั้งมวลให้สูญ
สิ้นไปฉันนั้นส่วนประกอบของประกฤติ 3 อย่าง
คือ สัตวะ รชัส และตมัส ทำาให้เกิด
มีกิริยาหรือการกระทำา เอกภพ
ดำารงอยู่ได้ด้วยการกระทำาผู้ที่เอาแต่แสวงหาความสุขทางเนื้อหนัง
เป็นการดำารงชีวิตอยู่ด้วยความว่างเปล่า
การประกอบความภักดี ได้แก่ การ
ให้บริการแก่พระเป็นเจ้าโดย
ปราศจากการหวังผลตอบแทน
ภักดีต่อพระองค์ด้วยความบริสุทธิ์
ปล่อยวาง + หวังผล
ตอบแทน
ตัต ตวัม อสิ : ท่านคือ
“
สิ่งนั้น
อาตมัน
”
คือพรหมัน
จุดมุ่งหมายสูงสุด
• จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต
สำาหรับศาสนาพราหมณ์-
ฮินดู ก็คือ “การบรรลุถึงโมก
ษะ” คือ ความหลุดพ้นจาก
ความทุกข์ เป็นภาวะที่
วิญญาณ (ตัวตนย่อย หรือ ชี
วาตมัน) ได้กลับเข้าไปรวม
กับพรหมัน (ตัวตนใหญ่หรือ
ปรมาตมัน) ซึ่งเป็นพระเจ้า
สูงสุดอันมีสภาวะแห่งความ
สัญลักษณ์ศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
โอม สวัส
ดิกะ
ศิวลึง
ค์
โ
อ
ม1. เครื่องหมาย “โอม” เป็นสัญลักษณ์กลาง ๆ ที่
ทุกนิกายยอมรับ สัญลักษณ์นี้เป็นอักษรเทวนาค
รี คำาว่า “โอม” เป็นคำาศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู อันหมายถึง พระเป็นเจ้าทั้ง 3
องค์ คือ “อ” อักษร หมายถึง พระศิวะหรือ
พระอิศวร “อุ” อักษร หมายถึง พระวิษณุ
หรือพระนารายณ์ และ “ม” อักษร หมายถึง
พระพรหม เพราะฉะนั้น อ+อุ+ม เท่ากับ
“โอม” สัญลักษณ์ของ โอม (AUM) เป็น
ตัวแทนธรรมชาติแห่งพรหมัน ทำาให้เห็นเป็นรูป
สวัสดิก
ะ
2. เครื่องหมาย สวัสดิกะ เป็น
สัญลักษณ์มงคล เป็นตัวแทนความ
บริสุทธิ์ของวิญญาณ ความจริง
ความมั่งคง หรือหมายถึง
พระอาทิตย์ แฉกทั้งสี่ที่แยกออก
อาจหมายถึงทิศทั้ง 4 หรือพระเวท
ศิวลึ
งค์
3. ศิวลึงค์ สัญลักษณ์ศิวลึงค์
บนฐานโยนี อันเป็นตัวแทนของ
ศิวเทพ เกิดจากผลของการรวม
กันระหว่างชายและหญิง แสดง
ถึงพลังสร้างสรรค์ความอุดม
พิธีกรรมสำาคัญ
พิธีกรรมสำาคัญในศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
การ
แต่งง
าน
พิธี
ศราท
ธ์ พิธีทำาบุญอุทิศให้มารดาบิดา หรือบรรพบุรุษผู้
ล่วงลับไปแล้ว ในเดือน 10 ตั้งแต่วันแรม 1 คำ่า
ถึงวันแรม 15 คำ่า โดยมีลักษณะและขั้นตอน ดัง
ต่อไปนี้
การบูชากระทำาด้วยข้าวบิณฑ์ คือก้อน
ข้าวสุก โดยให้บุตรชายของผู้ตายเป็นผู้กระทำา
พิธีบวงสรวงบูชา เพราะมีความเชื่อว่าบุตรชาย
ช่วยให้ผู้ที่ล่วงลับพ้นจากนรกขุม “ปุตตะ” โดย
กระทำาก่อนวันนำาศพไปเผา และกระทำาตลอดไป
10 วัน หรือ 11 วัน และวันที่ 11 นั้นเป็นการ
รวมญาติ โดยญาติฝ่ายบิดา-มารดาซึ่งนับขึ้นไป
พิธีถวายข้าวบิณฑ์
นวราตรี1 คำ่า
เดือน 5
ศิวราตรี15 คำ่า
เดือน 3
เทศกาลโฮลี่แรม 1 คำ่า เดือน
4
ทีปวาลี (Dipavali)
(แถวแห่ง
ประทีป)Festival of light
แรม 13 คำ่า ต.ค.-
กุมภเมลา
(Kembhamela)
–นิกายในศาสนาพราหมณ์
ฮินดู 1) นิกายไวษณพ
• – นับถือพระวิษณุ หรือพระนารายณ์
ยกย่องว่าเป็นเทพเจ้าสูงสุด เป็นผู้สร้าง
โลก และสรรพสิ่ง
• เชื่อในการอวตารของพระนารายณ์ว่า
พระนารายณ์อวตาร ๒๔ ครั้ง เพื่อช่วย
มนุษย์ในคราวทุกข์เข็ญ
• อวตาร (Incarnation) หมายถึง การแบ่งภาค
ลงมาเกิดบนโลกมนุษย์ของเทพเจ้า เพื่อ
ทำาหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใด
• ในลัทธิไวษณพ ถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์
นิกายไศวะ
• เชื่อว่า พระอิศวร หรือพระศิวะเป็นเทพ
สูงสุดกว่าเทพเจ้าอื่นๆ เป็นเทพผู้สร้างโลก
และสรรพสิ่ง
• มีความหวังว่าในอนาคต พระศิวะจะ
อวตารลงมาเป็นบุรุษชื่อ ลกุลิศะ เพื่อ
โปรดปรานมนุษย์และสอนมนุษย์ถึงวิธีเข้า
ถึงพระศิวะ
• นิกายนี้ประพฤติตนตามแบบลัทธิอัตตกิลม
ถานุโยค (ทรมานตนเอง) ใช้ขี้เถ้าทาตาม
ร่างกาย และทำาเครื่องหมายที่หน้าผาก
นิกายย่อย อีกว่า ๕๗ นิกาย
• นิกายศักติ >> เป็นนิกายที่นับถือพระเทวี
หรือชายาของมหาเทพ เช่น พระสรัสวดี
พระแม่ลักษมี พระแม่อุมาเทวี ซึ่งชายา
ของมหาเทพเป็นผู้ทรงกำาลังหรืออำานาจ
“ ”ของเทพสามีไว้ จึงเรียกว่า ศักติ
• นิกายตันตระ >> เป็นนิกายลึกลับ เน้นหนัก
เรื่องเวทมนตร์คาถา ไสยศาสตร์ และ
กามารมณ์
• มีพิธีกรรมตามกฎ ๕ อย่าง เรียกว่า
“ ”ปัญจมการ แปล่าส่วนพิเศษขึ้นต้นด้วย
พิธีกรรมพราหมณ์กับประเพณี
ไทย
นักบว
ช
พราหมณ์
นาคา
บาบา
สามี
จิ
สา
ธุSadhus
จบแล้วค่ะ ^____^

More Related Content

What's hot

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 

What's hot (20)

ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 

Similar to บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดียPpor Elf'ish
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์sorrachat keawjam
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 

Similar to บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู (20)

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 

บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู