SlideShare a Scribd company logo
คำนำ 
โรงเรียนบ้านหมากแข้ง ได้จัดทาโครงการเพื่อให้ครูและนักเรียนได้มีโอกาสศึกษาดูงาน และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างประเทศทุกปี ในปีการศึกษา 2556 ได้นาครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศ อินโดนีเซีย และ ในปีการศึกษา 2557 นี้ ได้จัดทาโครงการศึกษาดูงานและฝึกทักษะภาษาอังกฤษที่ ประเทศสิงคโปร์ ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2557 ณ สถาบัน Academies Australasia ที่ประเทศ สิงคโปร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูและนักเรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะภาษาอังกฤษกับชาวต่างประเทศใน สถานการณ์จริงของการไปต่างประเทศ 
โรงเรียนบ้านหมากแข้ง จึงได้ทารายงานสรุปผลโครงการดังกล่าวขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการ ดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพต่อไป 
( นายสุรพล สุขประเสริฐ ) 
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง
สำรบัญ 
เรื่อง หน้ำ 
คานา 
สารบัญ 
บทที่ 1 บทนา 1 
บทที่ 2 สรุปผลการศึกษา 2 
ภาคผนวก 
โครงการ 5 
รายชื่อนักเรียน 8 
รายชื่อครู 9 
ข้อมูลทั่วไปประเทศสิงคโปร์ 10 
ข้อมูลทั่วไปของสถานที่ฝึกภาษาอังกฤษ 15 
ภาพการศึกษาดูงาน 17 
ผลงานนักเรียน 27 
คณะผู้จัดทา 31
บทที่ 1 
บทนำ 
1.1 หลักกำรและเหตุผล 
ในปี พ.ศ. 2558 จะมีการรวมกลุ่มอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
(Association of South East Asian Nation หรือ ASEAN) ประเทศไทยจาเป็นต้องพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ให้มีความพร้อมก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งอาเซียนได้กาหนดให้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ดังนั้น การเรียนรู้ภาษาอังกฤษซึ่งถือว่าเป็นภาษาหลักของการสื่อสารจึงมี บทบาทสาคัญมาก ไม่ว่าจะเป็นการใช้ในชีวิตประจาวัน การใช้เพื่อการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ในทุกระดับชั้น รวมถึงการเชื่อมความสัมพันธ์เพื่อผูกมิตรไมตรีกับชาวต่างชาติ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต และสื่อต่างๆ ดังนั้น เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ได้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความเป็นสากล ใฝ่เรียนรู้ให้ทันต่อสังคม โลก มีทักษะการคิดและการดาเนินชีวิตที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขทุกสถานการณ์ มีวินัย เห็นคุณค่า ของตนเอง ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม รวมทั้งการเพิ่มและเปิดโอกาสในการฝึกฝน นั่นคือ การ เพิ่มชั่วโมงบินด้วยการใช้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น อันจะส่งผลต่อการพัฒนาชีวิตอย่างยั่งยืนสืบไป 
จากที่กล่าวมาข้างต้น ทางโรงเรียนบ้านหมากแข้งจึงเห็นความสาคัญของการพัฒนาศักยภาพ 
นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนให้มีทักษะพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษที่ดียิ่งขึ้นไม่ใช่เฉพาะในห้องเรียน เท่านั้น แต่สามารถนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวัน การใช้เพื่อศึกษาต่อเพิ่มเติมหรือประกอบอาชีพในอนาคต ดังนั้น การจัดโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษโรงเรียน บ้านหมากแข้ง จะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพ ประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษ รวมถึงการใช้ชีวิตในต่าง แดน ซึ่งเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนได้เป็นอย่างดี 
1.2 วัตถุประสงค์ของกำรเดินทำงศึกษำดูงำน 1) เพื่อพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ของผู้เข้าร่วมโครงการให้ทัดเทียมกับ ประเทศเพื่อนบ้าน 2) เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ของคนในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์จากประสบการณ์ตรง 3) เพื่อให้ ครู นักเรียนเห็นความสาคัญของภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ใน การเรียน การสอน การติดต่อสื่อสารเมื่อเจอชาวต่างชาติได้เป็นอย่างดี 
1.3 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 
1) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 
2) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษจากต่างประเทศ 
3) ครู นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง สามารถพูดคุยกับชาวต่างชาติได้ดียิ่งขึ้น 
1
บทที่ 2 
สรุปผลกำรฝึกทักษะภำษำอังกฤษและศึกษำดูงำน 
2.1 กำรเข้ำรับกำรฝึกทักษะภำษำอังกฤษ 
วันที่ 28 สิงหาคม 2557 ได้นานักเรียนเข้ารับการฝึกประสบการณ์ทักษะทางภาษาต่างประเทศที่ ประเทศสิงคโปร์ ณ Academies Australasia Singapore ซึ่งตั้งอยู่ที่ 51 Middle Rd, Singapore 188959 เป็นอีก 1 สาขา ของ Academies Australasia ก่อตั้งมากว่า 103 ปี และจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ของออสเตรเลีย และก่อตั้งในประเทศสิงคโปร์มานานกว่า 20 ปี นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเด็กใน ท้องถิ่นและเด็กต่างชาติที่ต้องการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ซึ่งได้รับการรับรองโดย SQC-PEO & EduTrust ของประเทศสิงคโปร์ 
นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับ คาศัพท์ การอ่านและการพัฒนาความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ ส่งเสริมทักษะการเขียนที่มีประสิทธิภาพและความคิดสร้างสรรค์ โดยในช่วงแรกจะเป็นช่วง Ice-Breaking แนะนานักเรียนตัวเอง และทาความคุ้นเคยกับครู หลังจากนั้น ครูแจก worksheets จากหนังสือเรียน Headway Four edition ของ Oxford และเรียนโครงสร้าง ไวยากรณ์ present tense, past tense และ future tense ครูผู้สอนคือ Mr. Deniel 
วันที่ 29 สิงหาคม 2557 นักเรียนแยกกลุ่มเรียน เป็น 2 กลุ่ม เรียนปะปนกับชาวต่างชาติ ระหว่าง เวลา 09.00 – 12.00 น. ครูผู้สอนชาวไทย แยกเป็น 2 กลุ่มเช่นเดียวกัน ในเวลา 13.00 น. นักเรียนและครู กลับมารวมกันที่ห้องเดิม เลิกเรียนเวลา 16.00 น. รับเกียรติบัตร และกลับที่พัก 
2.2 กำรทัศนศึกษำประเทศสิงคโปร์ 
ในช่วงหลังเลิกเรียนได้นาครูและนักเรียนทัศนศึกษาสถานที่ ดังนี้ 1. Merlion Park รูปปั้นเมอร์ไลอ้อนสัญลักษณ์ของสิงคโปร์ 2. Suntec City และ Fountain of Wealth น้าพุแห่งความมั่งคั่ง แห่งเมืองสิงคโปร์ตั้งอยู่ ท่ามกลางหมู่ตึกซันเทคซิตี้ ซันเทค มาจากคาในภาษาจีน แปลว่าความสาเร็จชิ้นใหม่ หมู่ตึกซันเทค สร้างขึ้นโดยนักธุรกิจชาวฮ่องกงซึ่งนับเป็นโครงการพาณิชย์ขนาดใหญ่ที่สุดของเมือง พิเศษ 3. Marina Bay Sands อาคารสูง 57 ชั้น 3 หลังตั้งเรียงกัน โดดเด่นด้วยสระว่ายน้ากลางแจ้งใหญ่ ที่สุดในโลกตั้งอยู่ชั้นบน รีสอร์ทหรูใหญ่ที่สุดในสิงคโปร์ มารีน่า เบย์ แซนด์ส ประกอบไปด้วย ห้องพักและห้องสูทกว่า 2,561 ห้อง โรงแรมยังมีไฮไลท์ คือ The Sands Sky Park ตั้งอยู่ชั้นที่ 57 ของโรงแรม (ไม่รวมค่าขึ้น 20 เหรียญ ประมาณ 500 บาท) เป็นสถาปัตยกรรมรูปร่างคล้ายเรือ ตั้งอยู่บนอาคารทั้ง 3 แซนด์ส สกาย พาร์คนี้ถือว่าเป็นสวนลอยฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ กว้างขวางกว่า 12,400 ตร.ม. และจัดเป็นสวนลอยฟ้าที่มีความสูง200 ม. บนสวนได้รับการตกแต่ง อย่างสวยงาม มีต้นไม้ใหญ่ 250 ต้น และไม้ประดับอีก 650 ต้น มีร้านอาหารที่หรูหรา 
2
4. ล่องแม่น้าสิงคโปร์ด้วยเรือ Bumboat 5. Tan Si Chong Su Temple วัดจีนเก่าแก่ที่มีความสวยงามตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้าสิงคโปร์ 6. Gardens by the Bay สวนต้นไม้ ดอกไม้ และ พันธ์พืชนานาชนิด ที่ใหญ่ที่สุดในสิงคโปร์ 7. Universal Studio เป็นสวนสนุกยอดนิยมที่อยู่ในเกาะเซนโตซา ถือเป็นสวนสนุกแห่งที่สองของ เอเชียที่ยูนิเวอร์แซลสตูดิโอมาเปิด 
3
ภำคผนวก 
4
โครงการ ศึกษาดูงานและฝึกทักษะภาษาอังกฤษที่ประเทศสิงคโปร์ 
แผนงาน กลุ่มบริหารวิชาการ , กลุ่มบริหารงานบุคคล 
สนองกลยุทธ์ สพป. กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการ 
กระจายอานาจทางการศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจาก 
ทุกภาคส่วน และความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริม 
และสนับสนุนการจัดการศึกษา 
สนองตัวบ่งชี้ สมศ. ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา 
สถานศึกษา 
สนองกลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ที่ 7 แสวงหาภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 
ผู้รับผิดชอบ นายยรรยง พรหมสาขา ณ สกลนคร, นายวัชรินทร์ หลงมีวงศ์ 
นางอรุณรัสมิ์ บารุงจิตร เลขานุการ 
นางณัฐรียา ธานีวรรณ ผู้ช่วยเลขานุการ 
ระยะเวลาดาเนินการ 27 – 30 สิงหาคม 2557 
......................................................................................................................................................................... . หลักกำรและเหตุผล 
ในปี พ.ศ. 2558 จะมีการรวมกลุ่มอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nation หรือ ASEAN) ประเทศไทยจาเป็นต้องพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ให้มีความพร้อมก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งอาเซียนได้กาหนดให้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ดังนั้น การเรียนรู้ภาษาอังกฤษซึ่งถือว่าเป็นภาษาหลักของการสื่อสารจึงมี บทบาทสาคัญมาก ไม่ว่าจะเป็นการใช้ในชีวิตประจาวัน การใช้เพื่อการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ในทุกระดับชั้น รวมถึงการเชื่อมความสัมพันธ์เพื่อผูกมิตรไมตรีกับชาวต่างชาติ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต และสื่อต่างๆ ดังนั้น เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ได้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความเป็นสากล ใฝ่เรียนรู้ให้ทันต่อสังคม โลก มีทักษะการคิดและการดาเนินชีวิตที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขทุกสถานการณ์ มีวินัย เห็นคุณค่า ของตนเอง ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม รวมทั้งการเพิ่มและเปิดโอกาสในการฝึกฝน นั่นคือ การ เพิ่มชั่วโมงบินด้วยการใช้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น อันจะส่งผลต่อการพัฒนาชีวิตอย่างยั่งยืนสืบไป 
จากที่กล่าวมาข้างต้น ทางโรงเรียนบ้านหมากแข้งจึงเห็นความสาคัญของการพัฒนาศักยภาพ นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนให้มีทักษะพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษที่ดียิ่งขึ้นไม่ใช่เฉพาะในห้องเรียน เท่านั้น แต่สามารถนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวัน การใช้เพื่อศึกษาต่อเพิ่มเติมหรือประกอบอาชีพในอนาคต ดังนั้น การจัดโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษโรงเรียน บ้านหมากแข้ง จะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพ ประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษ รวมถึงการใช้ชีวิตในต่าง แดน ซึ่งเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนได้เป็นอย่างดี 
5
1. วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ของผู้เข้าร่วมโครงการให้ ทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบ้าน 2) เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ของคนในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์จากประสบการณ์ ตรง 3) เพื่อให้ ครู นักเรียนเห็นความสาคัญของภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปปรับใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการเรียน การสอน การติดต่อสื่อสารเมื่อเจอชาวต่างชาติได้เป็นอย่างดี 
2. เป้ำหมำย ด้านปริมาณ 1) ครู นักเรียนที่สนใจพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษ จานวน 44 คน ด้านคุณภาพ 1) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษดีขึ้น 2) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ตรงด้านภาษาอังกฤษจากประเทศ เพื่อนบ้าน 
3. วิธีกำรดำเนินงำน ลำดับที่ กิจกรรมที่ปฏิบัติ ระยะเวลำดำเนินงำน 1. สารวจความต้องการของผู้เรียนที่มีความสนใจในการ พัฒนาภาษาอังกฤษ และมีศักยภาพที่จะร่วมโครงการได้ พฤษภาคม 2557 2. ติดต่อประสานงานหาข้อมูลของโครงการ มิถุนายน 2557 3. ปรึกษาหารือ และแต่งตั้งคณะกรรมการ มิถุนายน 2557 4. เขียนโครงการและขออนุมัติ มิถุนายน 2557 5. ดาเนินการตามโครงการ ดังนี้ 1) ประชาสัมพันธ์โครงการ 2) รับสมัครผู้สนใจร่วมโครงการ 3) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต้นสังกัด 4) ติดต่อประสานงานกับโรงเรียนนานาชาติในสิงคโปร์ 5) ดาเนินการทาเอกสารการเดินทางไปต่างประเทศ 6) ร่วมกิจกรรมโครงการจนสิ้นสุดโครงการ มิถุนายน – สิงหาคม 2557 6. ประเมินผลโครงการ กันยายน 2557 7. รายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ ตุลาคม 2557 
6
4. งบประมำณ ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นครู นักเรียน โรงเรียนบ้านหมากแข้ง จ.อุดรธานี โดยใช้งบประมาณคนละ 29,500 บาท รวมทั้งสิ้น 1,298,000 จากโครงการครูต่างชาติ แบ่งเป็น 1) ค่าตั๋วเครื่องบินไป-กลับ อุดรธานี-กรุงเทพฯ-สิงคโปร์-กรุงเทพฯ-อุดรธานี 2) ค่ารถบัสในประเทศสิงคโปร์ 3) ค่าเข้าร่วมกิจกรรม 4) ค่าที่พัก 5) ค่าทัศนศึกษา รวมบัตรผ่านประตูและอาหาร 
9. กำรประเมินผลกำรดำเนินงำน 
ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ 
วิธีกำรวัดผล 
เครื่องมือที่ใช้ 
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 
- สอบถาม 
- ทดสอบ 
- แบบสอบถาม 
- แบบทดสอบ 
2. นักเรียนที่ร่วมโครงการมีประสบการณ์การ ใช้ชีวิตในต่างประเทศ 
- สัมภาษณ์ 
- แบบสัมภาษณ์ 
10. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 
1) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 
2) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษจากต่างประเทศ 
3) ครู นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง สามารถพูดคุยกับชาวต่างชาติได้ดียิ่งขึ้น 
7
บัญชีรำยชื่อนักเรียนที่ขออนุญำตไปต่ำงประเทศ โรงเรียน บ้านหมากแข้ง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 ตามโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อ เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ที่ Academies Australasia Singapore ณ ประเทศสิงคโปร์ จานวน 20 ราย มีกาหนด 3 คืน 4 วัน ตั้งแต่วันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2557 
ลาดับที่ 
ชื่อ – สกุล 
ชั้นเรียน 
1 
เด็กชายจารุทัศน์ มุงคุณคาชาว 
ป.5/1 
2 
เด็กหญิงจิรัชยา ทุนประเทือง 
ป.5/1 
3 
เด็กชายปฐวี ศรีสุวรรณ 
ป.5/2 
4 
เด็กชายชัชวัสส์ สุนารักษ์ 
ป.5/6 
5 
เด็กชายทักษพล กันหา 
ป.5/8 
6 
เด็กชายทวีพร ย่าพรหม 
ป.5/8 
7 
เด็กหญิงพัชรีภรณ์ โนนคู่เขตโขง 
ป.6/1 
8 
เด็กชายเทพรักษ์ กาสีใส 
ป.6/4 
9 
เด็กชายตรีภพ นามี 
ป.6/4 
10 
เด็กชายภูริศ เครือชารี 
ป.6/4 
11 
เด็กชายพรเทพ เบนฟอร์ด 
ม.1/1 
12 
เด็กชายปิยวัฒน์ ทวีสุข 
ม.1/1 
13 
เด็กหญิงธัญวรรณ แสงตรีสุ 
ม.1/1 
14 
เด็กหญิงภารดา หล่อตระกูล 
ม.2/2 
15 
เด็กชายอัครเดช เสโส 
ม.2/2 
16 
เด็กหญิงธนัญญา แซมโชติ 
ม.2/7 
17 
เด็กชายอรรณพ บาลี 
ม.3/2 
18 
เด็กหญิงเกวลีน ชัยวิรัตน์พงศ์ 
ม.3/2 
19 
เด็กชายพชรกมล จันทร์ตรี 
ม.3/2 
20 
เด็กชายจักรพงษ์ ศิริโส 
ม.4/1 
8
บัญชีรำยชื่อข้ำรำชกำรขออนุญำตไปต่ำงประเทศ โรงเรียน บ้านหมากแข้ง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 ตามโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อ เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ที่ Academies Australasia Singapore ณ ประเทศสิงคโปร์ จานวน 24 ราย มีกาหนด 3 คืน 4 วัน ตั้งแต่วันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2557 
ลาดับที่ 
ชื่อ – สกุล 
ตาแหน่ง / โรงเรียน 
1 
นายสุรพล สุขประเสริฐ 
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
2 
นายวัชรินทร์ หลงมีวงศ์ 
รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
3 
นายสานิตย์ ศรีโพธิ์วัง 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
4 
นายสวัสดิ์ สิทธิมาตย์ 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
5 
นางอรุณรัสมิ์ บารุงจิตร 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
6 
นางณัฐรียา ธานีวรรณ 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
7 
นางนันทนา วันเพ็ญ 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
8 
นางพัชนี จาปี 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
9 
นางนันท์นภัส เรืองสินธุสถาพร 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
10 
นางนุชรี ดวงมณี 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
11 
นางสายฝน สิงห์เชิดชูวงศ์ 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
12 
นางศรัญญา อัตปัญญา 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
13 
นางสาวอรรถยา โกกิลานันท์ 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
14 
นางเชาวรัตน์ ไชยนา 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
15 
นางนิภา ต่ายดารงค์ 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
16 
นางเอวาลีน ชัยวิรัตน์พงศ์ 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
17 
นางบุญศรี หิรัญรักษ์ 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
18 
นางกัลยาณี พงศาวลี 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
19 
นางประเสริฐศรี ใจประสาท 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
20 
นางอุบลรัตน์ จงรักษ์ 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
21 
นางวิมล คามุกชิก 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
22 
นางโฉมยงค์ รอดแพง 
ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
23 
นางสาวลักษณา โพธิ์มลิวัลย์ 
ครู โรงเรียนบ้านเชียงยืน 
24 
นางสาวศิริจิตร จาปี 
9
ข้อมูลทั่วไปของประเทศสิงคโปร์ ชื่อทำงกำร สาธารณรัฐสิงคโปร์ เมืองหลวง สิงคโปร์ พื้นที่ 697.1 ตารางกิโลเมตร ยอดเขาสูงที่สุดคือ Bukit Timah แม่น้าสายหลักคือ Singapore และ Rochor สิงคโปร์มีถนน และรถไฟเชื่อมกับมาเลเซีย ณ Singapore/Johor Causeway ระยะทางประมาณ 6 กม. ประชำกร 4.2 ล้านคน (ชาวจีน 76% ชาวมาเลย์ 13.7% ชาวอินเดีย 8.4% และอื่นๆ 1.9% ) ซึ่งอยู่กันโดยไม่มี ปัญหา ความขัดแย้งด้านเชื้อชาติ นอกจากนี้สิงคโปร์ยังเป็นประเทศในเอเชียที่มีการวางแผนครอบครัวได้ดี มาก จนทาให้จานวนประชากรลดลง และก่อให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงานในอนาคต ภำษำ ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย์ จีนกลาง ทมิฬ และอังกฤษ สิงคโปร์ส่งเสริมให้ประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่องานและในชีวิตประจาวัน ศำสนำ ศาสนาที่ประชาชนนับถือมีทั้งศาสนาพุทธ,ขงจื้อ,เต๋า,อิสลาม,คริสเตียนและฮินดู ไม่มีศาสนาประจา ชาติของสิงคโปร์อย่างไรก็ตาม ผู้คนในสิงคโปร์มีอิสระในการนับถือศาสนาที่กลาวมาแล้ว ก็ยังมีศาสนา อื่นๆ ที่เป็นกลุ่มเล็กอีกด้วย ได้แก่ ซิกซ์, ยิว ในบรรดาตึกเก่า ๆ ในสิงคโปร์ก็จะรวมไปถึง สุเหล่า, โบสถ์ และ วัดต่าง ๆด้วย ในปี1990มีการเก็บสถิตปรากฎว่าประชากรที่อายุ10ปีขึ้นไปจะนับถือศาสนาพุทธและเต๋ามาก โดยในจานวนนี้จะเป็นคนจีนเสียส่วนใหญ่ และอาจมีการผสมผสานในความเชื่อของศาสนา แต่ละแห่งเข้าไป ด้วย มีประมาณ 15 เปอร์เซนต์นับถือศาสนาอิสลาม 13 เปอร์เซนต์นับถือศาสนาคริสต์เตียน และ 4 เปอร์เซนต์นับถือศาสนาฮินดู ซึ่งในจานวนนี้เกือบทั้งหมดเป็นชาวอินเดีย กำรปกครอง ระบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุข และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล รัฐสภามีวาระ คราวละ 5 ปี นโยบายต่างประเทศสิงคโปร์เน้นด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและการลงทุนจากต่างประเทศ อำกำศ ร้อนชื้น มีฝนตกตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.8 องศาเซลเซียส สภำพภูมิอำกำศ ประเทศสิงคโปร์มีสภาพภูมิอากาศคงที่มีอุณหภูมิสม่าเสมอและมีฝนตกชุก สิงคโปร์ถูกจัดให้อยู่ใน กลุ่มสภาพภูมิอากาศแบบป่าเขตร้อน ไม่มีการแบ่งฤดูเหมือนประเทศอื่นๆมีการแบ่งเป็น ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ ผลิ ฤดูใบไม้ร่วง หรือ ฤดูหนาว ด้วยความที่สิงคโปร์มีภูมิอากาศที่คงที่ จึงเป็นการดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเข้า มาท่องเที่ยวตลอดปี โดยอุณหภูมิ จะอยู่ระหว่าง 22 ถึง 34 องศาเซลเซียสค่าความชื้นโดยเฉลี่ยนอยู่ที่ 85% 
10
- 90% ในช่วงเช้า และ 55%-60% ในช่วงเที่ยง หากมีฝนตกชุกมาก ค่าความชื้นอาจสูงได้ถึง 100% ช่วง กลางปี ในเดือนมิถุนายน และ กรกฎาคม จัดเป็นเดือนที่ร้อนที่สุด และ เดือนพฤศจิกายน และธันวาคม เป็นช่วงฤดูมรสุม ซึ่งวัดจากพื้นดินที่ชุ่มชื้นและค่าความชื้นสูง อุณหภูมิต่าสุดที่เคยวัดได้ คือ 19.4องศา เซลเซียส และมากที่สุด คือ 35.8องศาเซลเซียส ประเทศสิงคโปร์ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ทาให้ภูมิอากาศมี ความคงที่อยู่ตลอดปี สภาพภูมิอากาศมักมีส่วนสาคัญเวลานักท่องเที่ยวเลือกที่จะไปท่องเที่ยวในที่ใดๆ และ สิงคโปร์ดูจะตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวได้ดีที่สุด บางคนไม่ชอบอากาศชื้นในเดือน พฤศจิกายน และธันวาคม แต่ 10เดือนที่เหลือก็ยังมีสภาพอากาศที่ดีให้กับนักท่องเที่ยวได้ สวน พฤกษศาสตร์ที่นี่ได้รับการดูแลอย่างดี เป็นจุดท่องเที่ยวที่สวยงามสาหรับนักท่องเที่ยวและชาวสิงคโปร์เอง ด้วยสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมนี้ ทาให้นักท่องเที่ยวจากที่ต่างๆปรารถนาจะมาท่องเที่ยวที่สิงคโปร์อย่าง น้อยสักครั้งหนึ่งในชีวิต ที่นี่เป็นเกาะที่ทาให้คุณรู้สึกเหมือนอยู่ที่บ้าน ตอบสนองความต้องการของทุกคน การบริการ และความเป็นมิตรของชาวสิงคโปร์ ทาให้การมาท่องเที่ยวที่นี่มีคุณค่าอย่างแท้จริง ในขณะที่ กระแสโลกาภิวัฒน์ได้เกิดขึ้นในโลก และประเทศต่างๆเริ่มกลายเป็นเป็นประเทศอุตสาหกรรม และ วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศนั้นๆเริ่มเสื่อมถอยลง เศรษฐกิจ สิงคโปร์จัดอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่เช่นเดียวกับ ฮ่องกง ไต้หวัน และเกาหลีใต้ ผลิตภัณฑ์ส่งออก หลัก คือ ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์นาเข้าส่วนใหญ่ ได้แก่ พลังงาน ( 40% ของการ นาเข้าทั้งหมด) และอาหาร นอกจากนั้น การท่องเที่ยวก็นารายได้เข้าประเทศมากเช่นกัน สังคม ชาวสิงคโปร์ถือว่ามาตรฐานการครองชีพของตนดีกว่าประเทศอื่น แต่ขณะเดียวกันความกลัวในจิตใจ คือ กลัวความล้มเหลวกับกลัวการเสียเปรียบ -หน่วยรำชกำรของสิงคโปร์มีประสิทธิภำพและรวดเร็วในกำรทำงำน โดยมีเวลาทางาน จันทร์- ศุกร์ 08.30-13.00 และ 14.00-16.30 น. และเสาร์ 08.00-13.00 น. -กำรบริกำรทำงกำรแพทย์ในสิงคโปร์แพงกว่ำประเทศไทยมำก และการซื้อยารักษาโรคประเภทยา ปฏิชีวนะและยาอันตราย จะต้องมีใบสั่งแพทย์ แต่ยารักษาโรคพื้นฐานสามารถหาซื้อได้ตามร้านขายยาทั่วไป 
วัฒนธรรมและประชำกร 
จากการที่มีประชากรหลายเชื้อชาติ สิงคโปร์จึงมีผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ คือ พระพุทธศาสนา ศาสนา ฮินดู คริสต์ศาสนา และลัทธิเต๋าประชากรหนาแน่นสุดในภูมิภาค และเป็นประเทศเล็กที่สุดในภูมิภาค เป็น ประเทศที่หนาแน่นเป็นอันดับ 2 ของโลก มีจานวนประชากรประมาณ 4.24 ล้านคน (2547) ประกอบด้วยชาวจีน (76.5%) ชาวมาเลย์ (13.8%) ชาวอินเดีย (8.1%) และอื่น ๆ (1.6%) นอกจากนี้สิงคโปร์ยังเป็นประเทศในเอเชียที่มีการวางแผนครอบครัวได้ดีมาก จนทาให้จานวน ประชากรลดลง และก่อให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงานในอนาคต 
11
ระบบกำรศึกษำในประเทศสิงคโปร์ 1. กำรศึกษำก่อนวัยเรียน 
การศึกษาตามปกติจะเริ่มเมื่อเด็กอายุได้ 4 ปี เด็กอายุระหว่าง 4-6 ปี จะเข้ารับการศึกษาก่อนวัย เรียน ซึ่งมีโรงเรียนอนุบาลทั้งของรัฐและเอกชน โดยเรียนตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์ ราว 3-4 ชั่วโมงในแต่ละ วัน เรียน 2 คาบต่อวัน 
2. โรงเรียนประถมศึกษำ 
เด็กอายุ 7-12 ปี ทุกคนในสิงคโปร์จะต้องใช้เวลาเรียน 6 ปีในระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย การเรียนชั้นประถมต้น (foundation stage) 4 ปี ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษำปีที่ 1-4 และชั้นประถมปลาย (orientation stage) อีก 2 ปี ในชั้นประถมศึกษำปีที่ 5-6 วิชาในระดับนี้ประกอบด้วย ภาษาอังกฤษ ภาษาแม่ (Mother Tongue อันได้แก่ ภาษาจีน มาเลย์ หรือ ทามิล ตามเชื้อชาติของตนเอง) วิทยาศาสตร์ (เรียนตั้งแต่ชั้นประถมปีที่ 3 ) คณิตศาสตร์ ดนตรี ศิลปหัตถกรรม และการแกะสลัก วิชาพลเมืองและ ศีลธรรม สุขศึกษา สังคมศึกษา และฟิสิกส์ เมื่อเรียนจบชั้นประถมปีที่ 6 นักเรียนจะต้องทาข้อสอบ Primary School Leaving Examination (PSLE) คะแนนที่ได้จะตัดสินว่านักเรียนจะเรียนต่อมัธยมศึกษา ที่โรงเรียนใด 
3. โรงเรียนมัธยมศึกษา 
นักเรียนที่อายุตั้งแต่ 13-16/17 ปี จะเข้ารับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งมีทั้งหมด 5 แผน คือ หลักสูตร Special, Express, Normal, Integrated และ Specialised Program นักเรียนในแผนการ เรียน Special และ Express เมื่อเรียนจบในปีที่ 4 แล้วต้องเข้าทาข้อสอบระดับ ‘O’ levels (United Kingdom Cambridge ‘Ordinary’ Levels) สาหรับนักเรียนในแผนการเรียน Normal เมื่อเรียนจบในปี ที่ 4 ต้องเข้าทาข้อสอบระดับ ‘N’ levels นักเรียนกลุ่มนี้จะสามารถเข้าสอบระดับ ‘O’ levels ได้ในปี ถัดไป หากผลสอบของ ‘N’ levels อยู่ในระดับที่ดีพอ หลักสูตรวิชาในระดับชั้นมัธยมศึกษาจะประกอบด้วย วิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ภาษาแม่ (จีน มาเลย์ หรือทมิฬ) วิทยาศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 นักเรียนสามารถเลือกได้ว่า จะเรียนทางสายศิลป์ วิทยาศาสตร์ ธุรกิจการค้าหรือสายวิชาชีพ หลักสูตรการเรียนการสอนในระดับชั้น มัธยมศึกษาในสิงคโปร์ได้รับการยอมรับในระดับโลกว่า ทาให้นักเรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์และมี ความคิดสร้างสรรค์ การรับนักเรียนต่างชาตินั้นขึ้นอยู่กับจานวนที่นั่งว่างในแต่ละโรงเรียน 
4. จูเนียร์ คอลเลจ/ เตรียมอุดมศึกษำ 
เมื่อนักเรียนสอบ GCE ‘O’ Level ผ่านได้แล้ว นักเรียนสามารถสมัครเข้าศึกษาต่อในระดับ จูเนียร์ คอลเลจ เป็นเวลา 2 ปี หรือศึกษาที่สถำบันกลำงกำรศึกษำ (centralised institute) เป็นเวลา 3 ปี เพื่อเตรียมศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย จูเนียร์ คอลเลจ และ สถำบันกลำงกำรศึกษำจะสอนทุกอย่าง เพื่อเตรียมตัวให้นักเรียนเข้าศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยได้ หลักสูตรหลักแบ่งเป็น 2 หลักสูตร คือ วิชา ความรู้ทั่วไป (General Paper) และภาษาแม่ เมื่อเรียนจบจูเนียร์ คอลเลจ นักเรียนจะต้องสอบ 
12
Singapore-Cambridge General Certificate of Education ‘Advanced’ (GCE ‘A’ Level) โดย เลือกวิชาสอบสูงสุดได้ 4 วิชา จากวิชาในหมวดศิลปะ วิทยาศาสตร์และธุรกิจการค้า การรับนักเรียน ต่างชาติก็ขึ้นอยู่กับที่นั่งว่างในโรงเรียนเช่นกัน 
ผลสอบระดับ ‘A’ levels นี้จะเป็นตัวตัดสินว่า นักเรียนจะไปเรียนต่อระดับอุดมศึกษาได้หรือไม่ ซึ่งมีมหาวิทยาลัยแห่งชาติให้เลือก 4 แห่ง กล่าวคือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (NUS) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีนันยาง (NTU) มหาวิทยาลัยการจัดการแห่งสิงคโปร์ (SMU) มหาวิทยาลัยการจัดการระหว่าง ประเทศสิงคโปร์ (SIM) นักเรียนสามารถเลือกที่จะเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตร ในโรงเรียนโพลีเทคนิค แห่งใดแห่งหนึ่งใน 5 แห่ง (เทียบเท่าระดับอุดมศึกษา) หรือเรียนในสาขาวิชาชีพที่สถาบันเทคนิคศึกษา (ITE) ซึ่งเป็นสถาบันระดับเตรียมอุดมศึกษา 
ค่ำเล่ำเรียน 
สาหรับโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนที่สนับสนุนโดยรัฐบาล ค่ำเล่ำเรียน ปี 2013 ต่อเดือนจะเป็น ดังนี้ 
 ชั้นประถม 350 เหรียญสิงคโปร์ 
 ชั้นมัธยม 450 เหรียญสิงคโปร์ 
 ชั้นจูเนียร์ คอลเลจ/ เตรียมอุดม 650 เหรียญสิงคโปร์ 
เทอมกำรศึกษำในประเทศสิงคโปร์ ปี 2014 
Semester 1 
เทอม 1 2 มกราคม – 14 มีนาคม 
เทอม 2 24 มีนาคม – 30 พฤษภาคม 
Semester 2 
เทอม 3 30 มิถุนายน – 5 กันยายน 
เทอม 4 15 กันยายน – 14 พฤศจิกายน 
ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ ประเทศสิงคโปร์ (Ministry of Education, Singapore) 
โดยปกติ นักเรียนไทยนิยมไปเรียนที่สิงคโปร์ในระดับประถมปลายและมัธยมต้น เพราะเป็นช่วงที่ นักเรียนปรับตัวได้ง่ายและตอบรับกับระบบการเรียนใหม่ ๆ ได้รวดเร็ว จะสังเกตได้ว่า เทอมการศึกษาของ โรงเรียนรัฐบาลในสิงคโปร์จะเริ่มต้นจากต้นปี จึงทาให้นักเรียนไทยไม่สามารถเข้าเรียนหลังจากจบปี การศึกษาไทยได้ในทันที นักเรียนที่ต้องการจะไปเรียนต่อโรงเรียนรัฐบาลส่วนใหญ่จึงจะเข้าเรียนในโรงเรียน เตรียมความพร้อมในช่วงเดือนมีนาคม หรือ เมษายน เพื่อให้มีศักยภาพที่ดีพอในการสอบเข้าโรงเรียน รัฐบาล (AEIS) ในช่วงเดือนกันยายนหรือตุลาคมของทุกปี และสามารถเข้าเรียนเทอมที่ 1 ของปีการศึกษา ถัดไป 
13
ค่ำครองชีพ มาตรฐานคุณภาพชีวิตของสิงคโปร์อยู่ในระดับต้นๆของเอเชีย เทียบกับประเทศอื่นๆในตะวันตกแล้ว ค่าครองชีพที่สิงคโปร์นับว่าไม่สูงมากนัก ราคาสินค้าพื้นฐานอย่างอาหาร หรือเสื้อผ้าก็นับว่าสมเหตุสมผล นักเรียนต่างชาติในสิงคโปร์มีค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย 750 ถึง 2,000 เหรียญสิงคโปร์ ต่อเดือน ซึ่งอาจ ต่างกันไปตามไลฟ์สไตล์และหลักสูตรวิชาที่เลือกเรียนของแต่ละคน ข้อมูลจำเพำะ เวลำ เวลาของสิงคโปร์เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง (GMT +8.00) ไฟฟ้ำ สาหรับกระแสไฟทางสิงคโปร์ใช้เหมือนบ้านเราคือ 220 โวลต์ แต่ความแตกต่างนั้นคือ สิงคโปร์ ใช้เต้าเสียบแบบ 3 ขา (บ้านเราใช้ 2 ขา) ฉะนั้นอย่าลืมว่า ต้องนาปลั๊กต่อไปด้วย สกุลเงินตรำ หน่วยเงินตราของสิงคโปร์คือ ดอลลาร์ (Singapore Dollar) โดยแบ่งค่าเงินต่าง ๆ ออกเป็นดังนี้ ธนบัตรมูลค่า S$2, S$5, S$10, S$20, S$50, S$100, S$500, S$1,000 และ S$10,000 เงินเหรียญมี ตั้งแต่ 1, 5, 10, 20 และ 50 เซนต์ รวมถึง S$ 1 กฎหมำย สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีชื่อเสียงเป็นที่กล่าวขานในเรื่องความปลอดภัย ความสะอาด ประชากรมี มาตรฐานความเป็นอยู่ที่สูง เนื่องจากสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีกฎหมายลงโทษร้ายแรง คือ การประหารชีวิต หรือโทษจาคุกระยะยาว เช่น ที่สิงคโปร์นั้น ห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะอย่างเด็ดขาด หากฝ่าฝืนปรับถึง S$1,000 การทิ้งเศษขยะลงพื้น ฝ่าฝืน ครั้งแรกถูกปรับ S$1,000 ครั้งต่อไป S$2,000 และต้องทาความสะอาดในที่สาธารณะด้วย กฎหมายนี้ รวมถึงการห้ามถ่มน้าลายในที่สาธารณะ และห้ามเคี้ยวหมากฝรั่งด้วย ดังนั้น ไม่ควรนาหมากฝรั่งไปที่สิงคโปร์ การเสพหรือจาหน่ายยาเสพติดในประเทศสิงคโปร์นั้นมี ความผิดขั้นร้ายแรงถึงประหารชีวิต 
14
ข้อมูลทั่วไปของสถำนที่ฝึกทักษะภำษำอังกฤษ 
โรงเรียนเตรียมควำมพร้อมเพื่อสอบเข้ำเรียนโรงเรียนรัฐบำล 
สถาบันเตรียมตัวเข้าเรียนในโรงเรียนรัฐบาลจัดเป็นด่านแรกที่สาคัญสาหรับนักเรียนต่างชาติ ที่ ต้องการจะเรียนต่อในโรงเรียนรัฐบาลของประเทศสิงคโปร์ สถาบันเหล่านี้จะทาหน้าที่เตรียมนักเรียนให้มี ความพร้อมทั้งทางด้านภาษา และปรับพื้นฐาน ความรู้ของนักเรียนต่างชาติให้เข้าใจและมีความพร้อมที่จะ เรียนในโรงเรียนรัฐบาลสิงคโปร์ต่อไป อีกทั้ง ยังช่วยจัดหาโรงเรียนรัฐบาลที่เหมาะสมพร้อมกับพานักเรียนไป สอบตามโรงเรียนเหล่านั้นเมื่อจบหลักสูตรอีกด้วย 
Academies Australasia Singapore 
เป็นสถาบันที่ได้รับการยอมรับและยกย่องไปทั่วโลก Academies Australasia ได้เปิดดาเนินการ สอนมามากกว่า 103 ปี มีประสบการณ์อันยาวนานและประสบความสาเร็จในการศึกษาทาให้สถาบันมี มาตรฐานที่สูง Academies Australasia เปิดทาการเรียนการสอนเพื่อเตรียมนักเรียนต่างชาติมามากกว่า 20 ปี และมีชื่อเสียงในการเตรียมนักเรียนต่างชาติในการเข้ามาศึกษาที่โรงเรียนรัฐบาลของประเทศสิงค์โปร์ เตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนที่จะเข้าเรียนทั้งในโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่เป็นของรัฐบาล สิงค์โปร์โปรแกรมได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาที่จาเป็น ภาษาอังกฤษสาหรับ เยาวชนนักเรียนนักศึกษาเพื่อเตรียมพวกเขาสาหรับผู้ที่สาคัญทั้งหมดเข้าสอบ โดยจะให้ความสาคัญเป็น พิเศษถูกวางไว้ดังต่อไปนี้ 
 เรียนรู้โครงสร้างไวยากรณ์ที่สาคัญ 
 เรียนรู้และขยายขอบเขตคาศัพท์ 
 ความเชื่อมั่นในการอ่านและการพัฒนาความเข้าใจ 
 ส่งเสริมทักษะการเขียนที่มีประสิทธิภาพและความคิดสร้างสรรค์ 
ปีการศึกษาของแบ่งออกเป็นสี่เทอมของแต่เทอมมีระยะเวลาสามเดือน ในแต่ละเทอมนักเรียนจะได้ เรียนรู้และพัฒนาทักษะความรู้ใหม่ มีการเรียนรู้ในของหัวข้อที่น่าตื่นเต้นและกระตุ้นให้นักเรียนมีการปฏิบัติ คาแนะนาส่วนบุคคลที่จะใช้ทักษะเหล่านี้ในการอ่านการเขียนและการพูด สถาบันมีการดาเนินการเพื่อ ประเมินความก้าวหน้าของนักเรียนแต่ละคน ผู้ปกครองจะได้รับรายงานของนักเรียนในแต่ละเทอม 
15
ภำพกำรศึกษำดูงำน 
16
ที่พัก Goldkist Beach Resort 
17
นักเรียนฝึกทักษะภำษำอังกฤษที่ Academies Australasia Singapore 
Merlion 
18
National Library of Singapore 
ล็อกเกอร์เก็บสัมภำระ กำหนดรหัสเอง 
ข้อกำหนดกำรใช้ห้องสมุด ติดไว้ใต้พื้นบันไดเลื่อน 
ทำงเข้ำหอสมุดแห่งชำติสิงคโปร์ 
19
Merlion 
20
Marina Bay Sand 
21
Gargens by the Bay 
22
China Town 
23
Tan Si Chong Su Temple 
24
Universal Studio 
25
ผลงำนนักเรียน 
26
27
28
29
30
ที่ปรึกษำ 
นายสุรพล สุขประเสริฐ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
นายบุญเลิศ นิกร รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
นายยรรยง พรหมสาขา ณ สกลนคร รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
นายวัชรินทร์ หลงมีวงศ์ รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
นายเจียรนัย ไชยนา รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง 
ผู้จัดทำรำยงำน 
นางอรุณรัสมิ์ บารุงจิตร ครูชานาญการพิเศษ ผู้รับผิดชอบโครงการ 
นางณัฐรียา ธานีวรรณ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการโครงการ 
นางนันทนา วันเพ็ญ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการโครงการ 
นางพัชนี จาปี ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้ดูแลนักเรียนในโครงการ 
Mrs. Emalyn Bofill Chaiviratphong ครูชาวฟิลิปปินส์ ครูผู้ดูแลนักเรียนในโครงการ 
นางสาวมัตติกา เหล่าลาภะ ลูกจ้างชั่วคราว ผู้ดูแลเอกสารโครงการ 
นางสาวอรอุมา สิทธิบูรณ์ ลูกจ้างชั่วคราว ออกแบบปก 
31

More Related Content

What's hot

กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
Looktan Kp
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
DuangdenSandee
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
Thanawut Rattanadon
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณา
Pinmanas Kotcha
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
Phanuwat Somvongs
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
มะ สิ
 

What's hot (20)

กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณา
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
 

Viewers also liked

โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
Thidarat Termphon
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
krx7
 
388 ข้อมูล asean 2558 ไทย
388 ข้อมูล asean 2558 ไทย388 ข้อมูล asean 2558 ไทย
388 ข้อมูล asean 2558 ไทยYing Kanya
 
Dance
DanceDance
Dance
leemeanxun
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
arunrat bamrungchit
 
Sar2553
Sar2553Sar2553
Sar2553
Komsun See
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
Pandit Chan
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
Medical Student, GCM
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56krupornpana55
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
พัน พัน
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
Manoonpong Srivirat
 

Viewers also liked (20)

คค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
388 ข้อมูล asean 2558 ไทย
388 ข้อมูล asean 2558 ไทย388 ข้อมูล asean 2558 ไทย
388 ข้อมูล asean 2558 ไทย
 
Dance
DanceDance
Dance
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
 
Sar2553
Sar2553Sar2553
Sar2553
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
 
ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
ปก+รายงาน..[1]
ปก+รายงาน..[1]ปก+รายงาน..[1]
ปก+รายงาน..[1]
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
 

Similar to รายงานการเดินทางไปประเทศสิงคโปร์

Writing lesson plan
Writing lesson planWriting lesson plan
Writing lesson planBelinda Bow
 
รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010Sopa
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5Suwakhon Phus
 
Information kc school
Information kc schoolInformation kc school
Information kc school
Thawatchai Rustanawan
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
นายไพโรจน์ พันธุศิลป์
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
คมสัน คงเอี่ยม
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
Suparat Boonkum
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยPiyatida Prayoonprom
 
โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556
Wes Yod
 
Speaking plan
Speaking planSpeaking plan
Speaking plan
Meow Gochkorn
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
oraneehussem
 

Similar to รายงานการเดินทางไปประเทศสิงคโปร์ (20)

Writing lesson plan
Writing lesson planWriting lesson plan
Writing lesson plan
 
รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
2 53
2 532 53
2 53
 
Information kc school
Information kc schoolInformation kc school
Information kc school
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
 
รายการรูป
รายการรูปรายการรูป
รายการรูป
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556
 
Speaking plan
Speaking planSpeaking plan
Speaking plan
 
คุรุสดุดี
คุรุสดุดี คุรุสดุดี
คุรุสดุดี
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏
 

More from arunrat bamrungchit

เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
arunrat bamrungchit
 
รายงานผลการปฏิบัติงานตาม วฐ.2
รายงานผลการปฏิบัติงานตาม วฐ.2 รายงานผลการปฏิบัติงานตาม วฐ.2
รายงานผลการปฏิบัติงานตาม วฐ.2
arunrat bamrungchit
 
Annouce
AnnouceAnnouce
ฟอร์มหลักสูตรระดับชั้นเรียน เอกสาร ว21 ด้านที่ 1 แฟ้มที่ 1 - 2
ฟอร์มหลักสูตรระดับชั้นเรียน เอกสาร ว21 ด้านที่ 1 แฟ้มที่ 1 - 2ฟอร์มหลักสูตรระดับชั้นเรียน เอกสาร ว21 ด้านที่ 1 แฟ้มที่ 1 - 2
ฟอร์มหลักสูตรระดับชั้นเรียน เอกสาร ว21 ด้านที่ 1 แฟ้มที่ 1 - 2
arunrat bamrungchit
 
ตัวอย่าง Interactive notebook
ตัวอย่าง Interactive notebookตัวอย่าง Interactive notebook
ตัวอย่าง Interactive notebook
arunrat bamrungchit
 
ตัวอย่าง Flash cards
ตัวอย่าง Flash cardsตัวอย่าง Flash cards
ตัวอย่าง Flash cards
arunrat bamrungchit
 
Math-Eng grade 2 addition
Math-Eng grade 2 additionMath-Eng grade 2 addition
Math-Eng grade 2 addition
arunrat bamrungchit
 
Math-Eng grade 1
Math-Eng grade 1Math-Eng grade 1
Math-Eng grade 1
arunrat bamrungchit
 
freebie
freebiefreebie
Measurement grade 2
Measurement grade 2Measurement grade 2
Measurement grade 2
arunrat bamrungchit
 
ว7, PA
ว7, PAว7, PA
STEM catapult challenge
STEM catapult challengeSTEM catapult challenge
STEM catapult challenge
arunrat bamrungchit
 
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
arunrat bamrungchit
 
Arunrat full text article for ISEEC 2014
Arunrat full text article for ISEEC 2014Arunrat full text article for ISEEC 2014
Arunrat full text article for ISEEC 2014
arunrat bamrungchit
 
LMS for ISEEC 2014 Presentation
LMS for ISEEC 2014 PresentationLMS for ISEEC 2014 Presentation
LMS for ISEEC 2014 Presentation
arunrat bamrungchit
 
My fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skills
My fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skillsMy fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skills
My fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skills
arunrat bamrungchit
 
Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)
arunrat bamrungchit
 
Phd. Learning Management Strategy
Phd. Learning Management StrategyPhd. Learning Management Strategy
Phd. Learning Management Strategy
arunrat bamrungchit
 
Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1
arunrat bamrungchit
 
EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4
arunrat bamrungchit
 

More from arunrat bamrungchit (20)

เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
 
รายงานผลการปฏิบัติงานตาม วฐ.2
รายงานผลการปฏิบัติงานตาม วฐ.2 รายงานผลการปฏิบัติงานตาม วฐ.2
รายงานผลการปฏิบัติงานตาม วฐ.2
 
Annouce
AnnouceAnnouce
Annouce
 
ฟอร์มหลักสูตรระดับชั้นเรียน เอกสาร ว21 ด้านที่ 1 แฟ้มที่ 1 - 2
ฟอร์มหลักสูตรระดับชั้นเรียน เอกสาร ว21 ด้านที่ 1 แฟ้มที่ 1 - 2ฟอร์มหลักสูตรระดับชั้นเรียน เอกสาร ว21 ด้านที่ 1 แฟ้มที่ 1 - 2
ฟอร์มหลักสูตรระดับชั้นเรียน เอกสาร ว21 ด้านที่ 1 แฟ้มที่ 1 - 2
 
ตัวอย่าง Interactive notebook
ตัวอย่าง Interactive notebookตัวอย่าง Interactive notebook
ตัวอย่าง Interactive notebook
 
ตัวอย่าง Flash cards
ตัวอย่าง Flash cardsตัวอย่าง Flash cards
ตัวอย่าง Flash cards
 
Math-Eng grade 2 addition
Math-Eng grade 2 additionMath-Eng grade 2 addition
Math-Eng grade 2 addition
 
Math-Eng grade 1
Math-Eng grade 1Math-Eng grade 1
Math-Eng grade 1
 
freebie
freebiefreebie
freebie
 
Measurement grade 2
Measurement grade 2Measurement grade 2
Measurement grade 2
 
ว7, PA
ว7, PAว7, PA
ว7, PA
 
STEM catapult challenge
STEM catapult challengeSTEM catapult challenge
STEM catapult challenge
 
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
 
Arunrat full text article for ISEEC 2014
Arunrat full text article for ISEEC 2014Arunrat full text article for ISEEC 2014
Arunrat full text article for ISEEC 2014
 
LMS for ISEEC 2014 Presentation
LMS for ISEEC 2014 PresentationLMS for ISEEC 2014 Presentation
LMS for ISEEC 2014 Presentation
 
My fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skills
My fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skillsMy fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skills
My fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skills
 
Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)
 
Phd. Learning Management Strategy
Phd. Learning Management StrategyPhd. Learning Management Strategy
Phd. Learning Management Strategy
 
Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1
 
EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4
 

รายงานการเดินทางไปประเทศสิงคโปร์

  • 1.
  • 2. คำนำ โรงเรียนบ้านหมากแข้ง ได้จัดทาโครงการเพื่อให้ครูและนักเรียนได้มีโอกาสศึกษาดูงาน และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างประเทศทุกปี ในปีการศึกษา 2556 ได้นาครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศ อินโดนีเซีย และ ในปีการศึกษา 2557 นี้ ได้จัดทาโครงการศึกษาดูงานและฝึกทักษะภาษาอังกฤษที่ ประเทศสิงคโปร์ ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2557 ณ สถาบัน Academies Australasia ที่ประเทศ สิงคโปร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูและนักเรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะภาษาอังกฤษกับชาวต่างประเทศใน สถานการณ์จริงของการไปต่างประเทศ โรงเรียนบ้านหมากแข้ง จึงได้ทารายงานสรุปผลโครงการดังกล่าวขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการ ดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพต่อไป ( นายสุรพล สุขประเสริฐ ) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คานา สารบัญ บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 สรุปผลการศึกษา 2 ภาคผนวก โครงการ 5 รายชื่อนักเรียน 8 รายชื่อครู 9 ข้อมูลทั่วไปประเทศสิงคโปร์ 10 ข้อมูลทั่วไปของสถานที่ฝึกภาษาอังกฤษ 15 ภาพการศึกษาดูงาน 17 ผลงานนักเรียน 27 คณะผู้จัดทา 31
  • 4. บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักกำรและเหตุผล ในปี พ.ศ. 2558 จะมีการรวมกลุ่มอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nation หรือ ASEAN) ประเทศไทยจาเป็นต้องพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ให้มีความพร้อมก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งอาเซียนได้กาหนดให้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ดังนั้น การเรียนรู้ภาษาอังกฤษซึ่งถือว่าเป็นภาษาหลักของการสื่อสารจึงมี บทบาทสาคัญมาก ไม่ว่าจะเป็นการใช้ในชีวิตประจาวัน การใช้เพื่อการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ในทุกระดับชั้น รวมถึงการเชื่อมความสัมพันธ์เพื่อผูกมิตรไมตรีกับชาวต่างชาติ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต และสื่อต่างๆ ดังนั้น เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ได้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความเป็นสากล ใฝ่เรียนรู้ให้ทันต่อสังคม โลก มีทักษะการคิดและการดาเนินชีวิตที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขทุกสถานการณ์ มีวินัย เห็นคุณค่า ของตนเอง ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม รวมทั้งการเพิ่มและเปิดโอกาสในการฝึกฝน นั่นคือ การ เพิ่มชั่วโมงบินด้วยการใช้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น อันจะส่งผลต่อการพัฒนาชีวิตอย่างยั่งยืนสืบไป จากที่กล่าวมาข้างต้น ทางโรงเรียนบ้านหมากแข้งจึงเห็นความสาคัญของการพัฒนาศักยภาพ นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนให้มีทักษะพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษที่ดียิ่งขึ้นไม่ใช่เฉพาะในห้องเรียน เท่านั้น แต่สามารถนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวัน การใช้เพื่อศึกษาต่อเพิ่มเติมหรือประกอบอาชีพในอนาคต ดังนั้น การจัดโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษโรงเรียน บ้านหมากแข้ง จะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพ ประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษ รวมถึงการใช้ชีวิตในต่าง แดน ซึ่งเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนได้เป็นอย่างดี 1.2 วัตถุประสงค์ของกำรเดินทำงศึกษำดูงำน 1) เพื่อพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ของผู้เข้าร่วมโครงการให้ทัดเทียมกับ ประเทศเพื่อนบ้าน 2) เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ของคนในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์จากประสบการณ์ตรง 3) เพื่อให้ ครู นักเรียนเห็นความสาคัญของภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ใน การเรียน การสอน การติดต่อสื่อสารเมื่อเจอชาวต่างชาติได้เป็นอย่างดี 1.3 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษจากต่างประเทศ 3) ครู นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง สามารถพูดคุยกับชาวต่างชาติได้ดียิ่งขึ้น 1
  • 5. บทที่ 2 สรุปผลกำรฝึกทักษะภำษำอังกฤษและศึกษำดูงำน 2.1 กำรเข้ำรับกำรฝึกทักษะภำษำอังกฤษ วันที่ 28 สิงหาคม 2557 ได้นานักเรียนเข้ารับการฝึกประสบการณ์ทักษะทางภาษาต่างประเทศที่ ประเทศสิงคโปร์ ณ Academies Australasia Singapore ซึ่งตั้งอยู่ที่ 51 Middle Rd, Singapore 188959 เป็นอีก 1 สาขา ของ Academies Australasia ก่อตั้งมากว่า 103 ปี และจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ของออสเตรเลีย และก่อตั้งในประเทศสิงคโปร์มานานกว่า 20 ปี นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเด็กใน ท้องถิ่นและเด็กต่างชาติที่ต้องการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ซึ่งได้รับการรับรองโดย SQC-PEO & EduTrust ของประเทศสิงคโปร์ นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับ คาศัพท์ การอ่านและการพัฒนาความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ ส่งเสริมทักษะการเขียนที่มีประสิทธิภาพและความคิดสร้างสรรค์ โดยในช่วงแรกจะเป็นช่วง Ice-Breaking แนะนานักเรียนตัวเอง และทาความคุ้นเคยกับครู หลังจากนั้น ครูแจก worksheets จากหนังสือเรียน Headway Four edition ของ Oxford และเรียนโครงสร้าง ไวยากรณ์ present tense, past tense และ future tense ครูผู้สอนคือ Mr. Deniel วันที่ 29 สิงหาคม 2557 นักเรียนแยกกลุ่มเรียน เป็น 2 กลุ่ม เรียนปะปนกับชาวต่างชาติ ระหว่าง เวลา 09.00 – 12.00 น. ครูผู้สอนชาวไทย แยกเป็น 2 กลุ่มเช่นเดียวกัน ในเวลา 13.00 น. นักเรียนและครู กลับมารวมกันที่ห้องเดิม เลิกเรียนเวลา 16.00 น. รับเกียรติบัตร และกลับที่พัก 2.2 กำรทัศนศึกษำประเทศสิงคโปร์ ในช่วงหลังเลิกเรียนได้นาครูและนักเรียนทัศนศึกษาสถานที่ ดังนี้ 1. Merlion Park รูปปั้นเมอร์ไลอ้อนสัญลักษณ์ของสิงคโปร์ 2. Suntec City และ Fountain of Wealth น้าพุแห่งความมั่งคั่ง แห่งเมืองสิงคโปร์ตั้งอยู่ ท่ามกลางหมู่ตึกซันเทคซิตี้ ซันเทค มาจากคาในภาษาจีน แปลว่าความสาเร็จชิ้นใหม่ หมู่ตึกซันเทค สร้างขึ้นโดยนักธุรกิจชาวฮ่องกงซึ่งนับเป็นโครงการพาณิชย์ขนาดใหญ่ที่สุดของเมือง พิเศษ 3. Marina Bay Sands อาคารสูง 57 ชั้น 3 หลังตั้งเรียงกัน โดดเด่นด้วยสระว่ายน้ากลางแจ้งใหญ่ ที่สุดในโลกตั้งอยู่ชั้นบน รีสอร์ทหรูใหญ่ที่สุดในสิงคโปร์ มารีน่า เบย์ แซนด์ส ประกอบไปด้วย ห้องพักและห้องสูทกว่า 2,561 ห้อง โรงแรมยังมีไฮไลท์ คือ The Sands Sky Park ตั้งอยู่ชั้นที่ 57 ของโรงแรม (ไม่รวมค่าขึ้น 20 เหรียญ ประมาณ 500 บาท) เป็นสถาปัตยกรรมรูปร่างคล้ายเรือ ตั้งอยู่บนอาคารทั้ง 3 แซนด์ส สกาย พาร์คนี้ถือว่าเป็นสวนลอยฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ กว้างขวางกว่า 12,400 ตร.ม. และจัดเป็นสวนลอยฟ้าที่มีความสูง200 ม. บนสวนได้รับการตกแต่ง อย่างสวยงาม มีต้นไม้ใหญ่ 250 ต้น และไม้ประดับอีก 650 ต้น มีร้านอาหารที่หรูหรา 2
  • 6. 4. ล่องแม่น้าสิงคโปร์ด้วยเรือ Bumboat 5. Tan Si Chong Su Temple วัดจีนเก่าแก่ที่มีความสวยงามตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้าสิงคโปร์ 6. Gardens by the Bay สวนต้นไม้ ดอกไม้ และ พันธ์พืชนานาชนิด ที่ใหญ่ที่สุดในสิงคโปร์ 7. Universal Studio เป็นสวนสนุกยอดนิยมที่อยู่ในเกาะเซนโตซา ถือเป็นสวนสนุกแห่งที่สองของ เอเชียที่ยูนิเวอร์แซลสตูดิโอมาเปิด 3
  • 8. โครงการ ศึกษาดูงานและฝึกทักษะภาษาอังกฤษที่ประเทศสิงคโปร์ แผนงาน กลุ่มบริหารวิชาการ , กลุ่มบริหารงานบุคคล สนองกลยุทธ์ สพป. กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการ กระจายอานาจทางการศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วน และความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา สนองตัวบ่งชี้ สมศ. ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา สนองกลยุทธ์โรงเรียน กลยุทธ์ที่ 7 แสวงหาภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ผู้รับผิดชอบ นายยรรยง พรหมสาขา ณ สกลนคร, นายวัชรินทร์ หลงมีวงศ์ นางอรุณรัสมิ์ บารุงจิตร เลขานุการ นางณัฐรียา ธานีวรรณ ผู้ช่วยเลขานุการ ระยะเวลาดาเนินการ 27 – 30 สิงหาคม 2557 ......................................................................................................................................................................... . หลักกำรและเหตุผล ในปี พ.ศ. 2558 จะมีการรวมกลุ่มอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nation หรือ ASEAN) ประเทศไทยจาเป็นต้องพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ให้มีความพร้อมก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งอาเซียนได้กาหนดให้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ดังนั้น การเรียนรู้ภาษาอังกฤษซึ่งถือว่าเป็นภาษาหลักของการสื่อสารจึงมี บทบาทสาคัญมาก ไม่ว่าจะเป็นการใช้ในชีวิตประจาวัน การใช้เพื่อการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ในทุกระดับชั้น รวมถึงการเชื่อมความสัมพันธ์เพื่อผูกมิตรไมตรีกับชาวต่างชาติ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต และสื่อต่างๆ ดังนั้น เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ได้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความเป็นสากล ใฝ่เรียนรู้ให้ทันต่อสังคม โลก มีทักษะการคิดและการดาเนินชีวิตที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขทุกสถานการณ์ มีวินัย เห็นคุณค่า ของตนเอง ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม รวมทั้งการเพิ่มและเปิดโอกาสในการฝึกฝน นั่นคือ การ เพิ่มชั่วโมงบินด้วยการใช้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น อันจะส่งผลต่อการพัฒนาชีวิตอย่างยั่งยืนสืบไป จากที่กล่าวมาข้างต้น ทางโรงเรียนบ้านหมากแข้งจึงเห็นความสาคัญของการพัฒนาศักยภาพ นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนให้มีทักษะพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษที่ดียิ่งขึ้นไม่ใช่เฉพาะในห้องเรียน เท่านั้น แต่สามารถนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวัน การใช้เพื่อศึกษาต่อเพิ่มเติมหรือประกอบอาชีพในอนาคต ดังนั้น การจัดโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษโรงเรียน บ้านหมากแข้ง จะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพ ประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษ รวมถึงการใช้ชีวิตในต่าง แดน ซึ่งเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนได้เป็นอย่างดี 5
  • 9. 1. วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน ของผู้เข้าร่วมโครงการให้ ทัดเทียมกับประเทศเพื่อนบ้าน 2) เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ของคนในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์จากประสบการณ์ ตรง 3) เพื่อให้ ครู นักเรียนเห็นความสาคัญของภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปปรับใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการเรียน การสอน การติดต่อสื่อสารเมื่อเจอชาวต่างชาติได้เป็นอย่างดี 2. เป้ำหมำย ด้านปริมาณ 1) ครู นักเรียนที่สนใจพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษ จานวน 44 คน ด้านคุณภาพ 1) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษดีขึ้น 2) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ตรงด้านภาษาอังกฤษจากประเทศ เพื่อนบ้าน 3. วิธีกำรดำเนินงำน ลำดับที่ กิจกรรมที่ปฏิบัติ ระยะเวลำดำเนินงำน 1. สารวจความต้องการของผู้เรียนที่มีความสนใจในการ พัฒนาภาษาอังกฤษ และมีศักยภาพที่จะร่วมโครงการได้ พฤษภาคม 2557 2. ติดต่อประสานงานหาข้อมูลของโครงการ มิถุนายน 2557 3. ปรึกษาหารือ และแต่งตั้งคณะกรรมการ มิถุนายน 2557 4. เขียนโครงการและขออนุมัติ มิถุนายน 2557 5. ดาเนินการตามโครงการ ดังนี้ 1) ประชาสัมพันธ์โครงการ 2) รับสมัครผู้สนใจร่วมโครงการ 3) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต้นสังกัด 4) ติดต่อประสานงานกับโรงเรียนนานาชาติในสิงคโปร์ 5) ดาเนินการทาเอกสารการเดินทางไปต่างประเทศ 6) ร่วมกิจกรรมโครงการจนสิ้นสุดโครงการ มิถุนายน – สิงหาคม 2557 6. ประเมินผลโครงการ กันยายน 2557 7. รายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ ตุลาคม 2557 6
  • 10. 4. งบประมำณ ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นครู นักเรียน โรงเรียนบ้านหมากแข้ง จ.อุดรธานี โดยใช้งบประมาณคนละ 29,500 บาท รวมทั้งสิ้น 1,298,000 จากโครงการครูต่างชาติ แบ่งเป็น 1) ค่าตั๋วเครื่องบินไป-กลับ อุดรธานี-กรุงเทพฯ-สิงคโปร์-กรุงเทพฯ-อุดรธานี 2) ค่ารถบัสในประเทศสิงคโปร์ 3) ค่าเข้าร่วมกิจกรรม 4) ค่าที่พัก 5) ค่าทัศนศึกษา รวมบัตรผ่านประตูและอาหาร 9. กำรประเมินผลกำรดำเนินงำน ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ วิธีกำรวัดผล เครื่องมือที่ใช้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 - สอบถาม - ทดสอบ - แบบสอบถาม - แบบทดสอบ 2. นักเรียนที่ร่วมโครงการมีประสบการณ์การ ใช้ชีวิตในต่างประเทศ - สัมภาษณ์ - แบบสัมภาษณ์ 10. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2) ครู นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษจากต่างประเทศ 3) ครู นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง สามารถพูดคุยกับชาวต่างชาติได้ดียิ่งขึ้น 7
  • 11. บัญชีรำยชื่อนักเรียนที่ขออนุญำตไปต่ำงประเทศ โรงเรียน บ้านหมากแข้ง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 ตามโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อ เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ที่ Academies Australasia Singapore ณ ประเทศสิงคโปร์ จานวน 20 ราย มีกาหนด 3 คืน 4 วัน ตั้งแต่วันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2557 ลาดับที่ ชื่อ – สกุล ชั้นเรียน 1 เด็กชายจารุทัศน์ มุงคุณคาชาว ป.5/1 2 เด็กหญิงจิรัชยา ทุนประเทือง ป.5/1 3 เด็กชายปฐวี ศรีสุวรรณ ป.5/2 4 เด็กชายชัชวัสส์ สุนารักษ์ ป.5/6 5 เด็กชายทักษพล กันหา ป.5/8 6 เด็กชายทวีพร ย่าพรหม ป.5/8 7 เด็กหญิงพัชรีภรณ์ โนนคู่เขตโขง ป.6/1 8 เด็กชายเทพรักษ์ กาสีใส ป.6/4 9 เด็กชายตรีภพ นามี ป.6/4 10 เด็กชายภูริศ เครือชารี ป.6/4 11 เด็กชายพรเทพ เบนฟอร์ด ม.1/1 12 เด็กชายปิยวัฒน์ ทวีสุข ม.1/1 13 เด็กหญิงธัญวรรณ แสงตรีสุ ม.1/1 14 เด็กหญิงภารดา หล่อตระกูล ม.2/2 15 เด็กชายอัครเดช เสโส ม.2/2 16 เด็กหญิงธนัญญา แซมโชติ ม.2/7 17 เด็กชายอรรณพ บาลี ม.3/2 18 เด็กหญิงเกวลีน ชัยวิรัตน์พงศ์ ม.3/2 19 เด็กชายพชรกมล จันทร์ตรี ม.3/2 20 เด็กชายจักรพงษ์ ศิริโส ม.4/1 8
  • 12. บัญชีรำยชื่อข้ำรำชกำรขออนุญำตไปต่ำงประเทศ โรงเรียน บ้านหมากแข้ง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 ตามโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อ เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ที่ Academies Australasia Singapore ณ ประเทศสิงคโปร์ จานวน 24 ราย มีกาหนด 3 คืน 4 วัน ตั้งแต่วันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2557 ลาดับที่ ชื่อ – สกุล ตาแหน่ง / โรงเรียน 1 นายสุรพล สุขประเสริฐ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง 2 นายวัชรินทร์ หลงมีวงศ์ รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง 3 นายสานิตย์ ศรีโพธิ์วัง ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 4 นายสวัสดิ์ สิทธิมาตย์ ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 5 นางอรุณรัสมิ์ บารุงจิตร ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 6 นางณัฐรียา ธานีวรรณ ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 7 นางนันทนา วันเพ็ญ ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 8 นางพัชนี จาปี ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 9 นางนันท์นภัส เรืองสินธุสถาพร ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 10 นางนุชรี ดวงมณี ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 11 นางสายฝน สิงห์เชิดชูวงศ์ ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 12 นางศรัญญา อัตปัญญา ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 13 นางสาวอรรถยา โกกิลานันท์ ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 14 นางเชาวรัตน์ ไชยนา ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 15 นางนิภา ต่ายดารงค์ ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 16 นางเอวาลีน ชัยวิรัตน์พงศ์ ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 17 นางบุญศรี หิรัญรักษ์ ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 18 นางกัลยาณี พงศาวลี ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 19 นางประเสริฐศรี ใจประสาท ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 20 นางอุบลรัตน์ จงรักษ์ ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 21 นางวิมล คามุกชิก ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 22 นางโฉมยงค์ รอดแพง ครู โรงเรียนบ้านหมากแข้ง 23 นางสาวลักษณา โพธิ์มลิวัลย์ ครู โรงเรียนบ้านเชียงยืน 24 นางสาวศิริจิตร จาปี 9
  • 13. ข้อมูลทั่วไปของประเทศสิงคโปร์ ชื่อทำงกำร สาธารณรัฐสิงคโปร์ เมืองหลวง สิงคโปร์ พื้นที่ 697.1 ตารางกิโลเมตร ยอดเขาสูงที่สุดคือ Bukit Timah แม่น้าสายหลักคือ Singapore และ Rochor สิงคโปร์มีถนน และรถไฟเชื่อมกับมาเลเซีย ณ Singapore/Johor Causeway ระยะทางประมาณ 6 กม. ประชำกร 4.2 ล้านคน (ชาวจีน 76% ชาวมาเลย์ 13.7% ชาวอินเดีย 8.4% และอื่นๆ 1.9% ) ซึ่งอยู่กันโดยไม่มี ปัญหา ความขัดแย้งด้านเชื้อชาติ นอกจากนี้สิงคโปร์ยังเป็นประเทศในเอเชียที่มีการวางแผนครอบครัวได้ดี มาก จนทาให้จานวนประชากรลดลง และก่อให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงานในอนาคต ภำษำ ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย์ จีนกลาง ทมิฬ และอังกฤษ สิงคโปร์ส่งเสริมให้ประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่องานและในชีวิตประจาวัน ศำสนำ ศาสนาที่ประชาชนนับถือมีทั้งศาสนาพุทธ,ขงจื้อ,เต๋า,อิสลาม,คริสเตียนและฮินดู ไม่มีศาสนาประจา ชาติของสิงคโปร์อย่างไรก็ตาม ผู้คนในสิงคโปร์มีอิสระในการนับถือศาสนาที่กลาวมาแล้ว ก็ยังมีศาสนา อื่นๆ ที่เป็นกลุ่มเล็กอีกด้วย ได้แก่ ซิกซ์, ยิว ในบรรดาตึกเก่า ๆ ในสิงคโปร์ก็จะรวมไปถึง สุเหล่า, โบสถ์ และ วัดต่าง ๆด้วย ในปี1990มีการเก็บสถิตปรากฎว่าประชากรที่อายุ10ปีขึ้นไปจะนับถือศาสนาพุทธและเต๋ามาก โดยในจานวนนี้จะเป็นคนจีนเสียส่วนใหญ่ และอาจมีการผสมผสานในความเชื่อของศาสนา แต่ละแห่งเข้าไป ด้วย มีประมาณ 15 เปอร์เซนต์นับถือศาสนาอิสลาม 13 เปอร์เซนต์นับถือศาสนาคริสต์เตียน และ 4 เปอร์เซนต์นับถือศาสนาฮินดู ซึ่งในจานวนนี้เกือบทั้งหมดเป็นชาวอินเดีย กำรปกครอง ระบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุข และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล รัฐสภามีวาระ คราวละ 5 ปี นโยบายต่างประเทศสิงคโปร์เน้นด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและการลงทุนจากต่างประเทศ อำกำศ ร้อนชื้น มีฝนตกตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.8 องศาเซลเซียส สภำพภูมิอำกำศ ประเทศสิงคโปร์มีสภาพภูมิอากาศคงที่มีอุณหภูมิสม่าเสมอและมีฝนตกชุก สิงคโปร์ถูกจัดให้อยู่ใน กลุ่มสภาพภูมิอากาศแบบป่าเขตร้อน ไม่มีการแบ่งฤดูเหมือนประเทศอื่นๆมีการแบ่งเป็น ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ ผลิ ฤดูใบไม้ร่วง หรือ ฤดูหนาว ด้วยความที่สิงคโปร์มีภูมิอากาศที่คงที่ จึงเป็นการดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเข้า มาท่องเที่ยวตลอดปี โดยอุณหภูมิ จะอยู่ระหว่าง 22 ถึง 34 องศาเซลเซียสค่าความชื้นโดยเฉลี่ยนอยู่ที่ 85% 10
  • 14. - 90% ในช่วงเช้า และ 55%-60% ในช่วงเที่ยง หากมีฝนตกชุกมาก ค่าความชื้นอาจสูงได้ถึง 100% ช่วง กลางปี ในเดือนมิถุนายน และ กรกฎาคม จัดเป็นเดือนที่ร้อนที่สุด และ เดือนพฤศจิกายน และธันวาคม เป็นช่วงฤดูมรสุม ซึ่งวัดจากพื้นดินที่ชุ่มชื้นและค่าความชื้นสูง อุณหภูมิต่าสุดที่เคยวัดได้ คือ 19.4องศา เซลเซียส และมากที่สุด คือ 35.8องศาเซลเซียส ประเทศสิงคโปร์ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ทาให้ภูมิอากาศมี ความคงที่อยู่ตลอดปี สภาพภูมิอากาศมักมีส่วนสาคัญเวลานักท่องเที่ยวเลือกที่จะไปท่องเที่ยวในที่ใดๆ และ สิงคโปร์ดูจะตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวได้ดีที่สุด บางคนไม่ชอบอากาศชื้นในเดือน พฤศจิกายน และธันวาคม แต่ 10เดือนที่เหลือก็ยังมีสภาพอากาศที่ดีให้กับนักท่องเที่ยวได้ สวน พฤกษศาสตร์ที่นี่ได้รับการดูแลอย่างดี เป็นจุดท่องเที่ยวที่สวยงามสาหรับนักท่องเที่ยวและชาวสิงคโปร์เอง ด้วยสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมนี้ ทาให้นักท่องเที่ยวจากที่ต่างๆปรารถนาจะมาท่องเที่ยวที่สิงคโปร์อย่าง น้อยสักครั้งหนึ่งในชีวิต ที่นี่เป็นเกาะที่ทาให้คุณรู้สึกเหมือนอยู่ที่บ้าน ตอบสนองความต้องการของทุกคน การบริการ และความเป็นมิตรของชาวสิงคโปร์ ทาให้การมาท่องเที่ยวที่นี่มีคุณค่าอย่างแท้จริง ในขณะที่ กระแสโลกาภิวัฒน์ได้เกิดขึ้นในโลก และประเทศต่างๆเริ่มกลายเป็นเป็นประเทศอุตสาหกรรม และ วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศนั้นๆเริ่มเสื่อมถอยลง เศรษฐกิจ สิงคโปร์จัดอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่เช่นเดียวกับ ฮ่องกง ไต้หวัน และเกาหลีใต้ ผลิตภัณฑ์ส่งออก หลัก คือ ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์นาเข้าส่วนใหญ่ ได้แก่ พลังงาน ( 40% ของการ นาเข้าทั้งหมด) และอาหาร นอกจากนั้น การท่องเที่ยวก็นารายได้เข้าประเทศมากเช่นกัน สังคม ชาวสิงคโปร์ถือว่ามาตรฐานการครองชีพของตนดีกว่าประเทศอื่น แต่ขณะเดียวกันความกลัวในจิตใจ คือ กลัวความล้มเหลวกับกลัวการเสียเปรียบ -หน่วยรำชกำรของสิงคโปร์มีประสิทธิภำพและรวดเร็วในกำรทำงำน โดยมีเวลาทางาน จันทร์- ศุกร์ 08.30-13.00 และ 14.00-16.30 น. และเสาร์ 08.00-13.00 น. -กำรบริกำรทำงกำรแพทย์ในสิงคโปร์แพงกว่ำประเทศไทยมำก และการซื้อยารักษาโรคประเภทยา ปฏิชีวนะและยาอันตราย จะต้องมีใบสั่งแพทย์ แต่ยารักษาโรคพื้นฐานสามารถหาซื้อได้ตามร้านขายยาทั่วไป วัฒนธรรมและประชำกร จากการที่มีประชากรหลายเชื้อชาติ สิงคโปร์จึงมีผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ คือ พระพุทธศาสนา ศาสนา ฮินดู คริสต์ศาสนา และลัทธิเต๋าประชากรหนาแน่นสุดในภูมิภาค และเป็นประเทศเล็กที่สุดในภูมิภาค เป็น ประเทศที่หนาแน่นเป็นอันดับ 2 ของโลก มีจานวนประชากรประมาณ 4.24 ล้านคน (2547) ประกอบด้วยชาวจีน (76.5%) ชาวมาเลย์ (13.8%) ชาวอินเดีย (8.1%) และอื่น ๆ (1.6%) นอกจากนี้สิงคโปร์ยังเป็นประเทศในเอเชียที่มีการวางแผนครอบครัวได้ดีมาก จนทาให้จานวน ประชากรลดลง และก่อให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงานในอนาคต 11
  • 15. ระบบกำรศึกษำในประเทศสิงคโปร์ 1. กำรศึกษำก่อนวัยเรียน การศึกษาตามปกติจะเริ่มเมื่อเด็กอายุได้ 4 ปี เด็กอายุระหว่าง 4-6 ปี จะเข้ารับการศึกษาก่อนวัย เรียน ซึ่งมีโรงเรียนอนุบาลทั้งของรัฐและเอกชน โดยเรียนตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์ ราว 3-4 ชั่วโมงในแต่ละ วัน เรียน 2 คาบต่อวัน 2. โรงเรียนประถมศึกษำ เด็กอายุ 7-12 ปี ทุกคนในสิงคโปร์จะต้องใช้เวลาเรียน 6 ปีในระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย การเรียนชั้นประถมต้น (foundation stage) 4 ปี ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษำปีที่ 1-4 และชั้นประถมปลาย (orientation stage) อีก 2 ปี ในชั้นประถมศึกษำปีที่ 5-6 วิชาในระดับนี้ประกอบด้วย ภาษาอังกฤษ ภาษาแม่ (Mother Tongue อันได้แก่ ภาษาจีน มาเลย์ หรือ ทามิล ตามเชื้อชาติของตนเอง) วิทยาศาสตร์ (เรียนตั้งแต่ชั้นประถมปีที่ 3 ) คณิตศาสตร์ ดนตรี ศิลปหัตถกรรม และการแกะสลัก วิชาพลเมืองและ ศีลธรรม สุขศึกษา สังคมศึกษา และฟิสิกส์ เมื่อเรียนจบชั้นประถมปีที่ 6 นักเรียนจะต้องทาข้อสอบ Primary School Leaving Examination (PSLE) คะแนนที่ได้จะตัดสินว่านักเรียนจะเรียนต่อมัธยมศึกษา ที่โรงเรียนใด 3. โรงเรียนมัธยมศึกษา นักเรียนที่อายุตั้งแต่ 13-16/17 ปี จะเข้ารับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งมีทั้งหมด 5 แผน คือ หลักสูตร Special, Express, Normal, Integrated และ Specialised Program นักเรียนในแผนการ เรียน Special และ Express เมื่อเรียนจบในปีที่ 4 แล้วต้องเข้าทาข้อสอบระดับ ‘O’ levels (United Kingdom Cambridge ‘Ordinary’ Levels) สาหรับนักเรียนในแผนการเรียน Normal เมื่อเรียนจบในปี ที่ 4 ต้องเข้าทาข้อสอบระดับ ‘N’ levels นักเรียนกลุ่มนี้จะสามารถเข้าสอบระดับ ‘O’ levels ได้ในปี ถัดไป หากผลสอบของ ‘N’ levels อยู่ในระดับที่ดีพอ หลักสูตรวิชาในระดับชั้นมัธยมศึกษาจะประกอบด้วย วิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ภาษาแม่ (จีน มาเลย์ หรือทมิฬ) วิทยาศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 นักเรียนสามารถเลือกได้ว่า จะเรียนทางสายศิลป์ วิทยาศาสตร์ ธุรกิจการค้าหรือสายวิชาชีพ หลักสูตรการเรียนการสอนในระดับชั้น มัธยมศึกษาในสิงคโปร์ได้รับการยอมรับในระดับโลกว่า ทาให้นักเรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์และมี ความคิดสร้างสรรค์ การรับนักเรียนต่างชาตินั้นขึ้นอยู่กับจานวนที่นั่งว่างในแต่ละโรงเรียน 4. จูเนียร์ คอลเลจ/ เตรียมอุดมศึกษำ เมื่อนักเรียนสอบ GCE ‘O’ Level ผ่านได้แล้ว นักเรียนสามารถสมัครเข้าศึกษาต่อในระดับ จูเนียร์ คอลเลจ เป็นเวลา 2 ปี หรือศึกษาที่สถำบันกลำงกำรศึกษำ (centralised institute) เป็นเวลา 3 ปี เพื่อเตรียมศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย จูเนียร์ คอลเลจ และ สถำบันกลำงกำรศึกษำจะสอนทุกอย่าง เพื่อเตรียมตัวให้นักเรียนเข้าศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยได้ หลักสูตรหลักแบ่งเป็น 2 หลักสูตร คือ วิชา ความรู้ทั่วไป (General Paper) และภาษาแม่ เมื่อเรียนจบจูเนียร์ คอลเลจ นักเรียนจะต้องสอบ 12
  • 16. Singapore-Cambridge General Certificate of Education ‘Advanced’ (GCE ‘A’ Level) โดย เลือกวิชาสอบสูงสุดได้ 4 วิชา จากวิชาในหมวดศิลปะ วิทยาศาสตร์และธุรกิจการค้า การรับนักเรียน ต่างชาติก็ขึ้นอยู่กับที่นั่งว่างในโรงเรียนเช่นกัน ผลสอบระดับ ‘A’ levels นี้จะเป็นตัวตัดสินว่า นักเรียนจะไปเรียนต่อระดับอุดมศึกษาได้หรือไม่ ซึ่งมีมหาวิทยาลัยแห่งชาติให้เลือก 4 แห่ง กล่าวคือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (NUS) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีนันยาง (NTU) มหาวิทยาลัยการจัดการแห่งสิงคโปร์ (SMU) มหาวิทยาลัยการจัดการระหว่าง ประเทศสิงคโปร์ (SIM) นักเรียนสามารถเลือกที่จะเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตร ในโรงเรียนโพลีเทคนิค แห่งใดแห่งหนึ่งใน 5 แห่ง (เทียบเท่าระดับอุดมศึกษา) หรือเรียนในสาขาวิชาชีพที่สถาบันเทคนิคศึกษา (ITE) ซึ่งเป็นสถาบันระดับเตรียมอุดมศึกษา ค่ำเล่ำเรียน สาหรับโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนที่สนับสนุนโดยรัฐบาล ค่ำเล่ำเรียน ปี 2013 ต่อเดือนจะเป็น ดังนี้  ชั้นประถม 350 เหรียญสิงคโปร์  ชั้นมัธยม 450 เหรียญสิงคโปร์  ชั้นจูเนียร์ คอลเลจ/ เตรียมอุดม 650 เหรียญสิงคโปร์ เทอมกำรศึกษำในประเทศสิงคโปร์ ปี 2014 Semester 1 เทอม 1 2 มกราคม – 14 มีนาคม เทอม 2 24 มีนาคม – 30 พฤษภาคม Semester 2 เทอม 3 30 มิถุนายน – 5 กันยายน เทอม 4 15 กันยายน – 14 พฤศจิกายน ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ ประเทศสิงคโปร์ (Ministry of Education, Singapore) โดยปกติ นักเรียนไทยนิยมไปเรียนที่สิงคโปร์ในระดับประถมปลายและมัธยมต้น เพราะเป็นช่วงที่ นักเรียนปรับตัวได้ง่ายและตอบรับกับระบบการเรียนใหม่ ๆ ได้รวดเร็ว จะสังเกตได้ว่า เทอมการศึกษาของ โรงเรียนรัฐบาลในสิงคโปร์จะเริ่มต้นจากต้นปี จึงทาให้นักเรียนไทยไม่สามารถเข้าเรียนหลังจากจบปี การศึกษาไทยได้ในทันที นักเรียนที่ต้องการจะไปเรียนต่อโรงเรียนรัฐบาลส่วนใหญ่จึงจะเข้าเรียนในโรงเรียน เตรียมความพร้อมในช่วงเดือนมีนาคม หรือ เมษายน เพื่อให้มีศักยภาพที่ดีพอในการสอบเข้าโรงเรียน รัฐบาล (AEIS) ในช่วงเดือนกันยายนหรือตุลาคมของทุกปี และสามารถเข้าเรียนเทอมที่ 1 ของปีการศึกษา ถัดไป 13
  • 17. ค่ำครองชีพ มาตรฐานคุณภาพชีวิตของสิงคโปร์อยู่ในระดับต้นๆของเอเชีย เทียบกับประเทศอื่นๆในตะวันตกแล้ว ค่าครองชีพที่สิงคโปร์นับว่าไม่สูงมากนัก ราคาสินค้าพื้นฐานอย่างอาหาร หรือเสื้อผ้าก็นับว่าสมเหตุสมผล นักเรียนต่างชาติในสิงคโปร์มีค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย 750 ถึง 2,000 เหรียญสิงคโปร์ ต่อเดือน ซึ่งอาจ ต่างกันไปตามไลฟ์สไตล์และหลักสูตรวิชาที่เลือกเรียนของแต่ละคน ข้อมูลจำเพำะ เวลำ เวลาของสิงคโปร์เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง (GMT +8.00) ไฟฟ้ำ สาหรับกระแสไฟทางสิงคโปร์ใช้เหมือนบ้านเราคือ 220 โวลต์ แต่ความแตกต่างนั้นคือ สิงคโปร์ ใช้เต้าเสียบแบบ 3 ขา (บ้านเราใช้ 2 ขา) ฉะนั้นอย่าลืมว่า ต้องนาปลั๊กต่อไปด้วย สกุลเงินตรำ หน่วยเงินตราของสิงคโปร์คือ ดอลลาร์ (Singapore Dollar) โดยแบ่งค่าเงินต่าง ๆ ออกเป็นดังนี้ ธนบัตรมูลค่า S$2, S$5, S$10, S$20, S$50, S$100, S$500, S$1,000 และ S$10,000 เงินเหรียญมี ตั้งแต่ 1, 5, 10, 20 และ 50 เซนต์ รวมถึง S$ 1 กฎหมำย สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีชื่อเสียงเป็นที่กล่าวขานในเรื่องความปลอดภัย ความสะอาด ประชากรมี มาตรฐานความเป็นอยู่ที่สูง เนื่องจากสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีกฎหมายลงโทษร้ายแรง คือ การประหารชีวิต หรือโทษจาคุกระยะยาว เช่น ที่สิงคโปร์นั้น ห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะอย่างเด็ดขาด หากฝ่าฝืนปรับถึง S$1,000 การทิ้งเศษขยะลงพื้น ฝ่าฝืน ครั้งแรกถูกปรับ S$1,000 ครั้งต่อไป S$2,000 และต้องทาความสะอาดในที่สาธารณะด้วย กฎหมายนี้ รวมถึงการห้ามถ่มน้าลายในที่สาธารณะ และห้ามเคี้ยวหมากฝรั่งด้วย ดังนั้น ไม่ควรนาหมากฝรั่งไปที่สิงคโปร์ การเสพหรือจาหน่ายยาเสพติดในประเทศสิงคโปร์นั้นมี ความผิดขั้นร้ายแรงถึงประหารชีวิต 14
  • 18. ข้อมูลทั่วไปของสถำนที่ฝึกทักษะภำษำอังกฤษ โรงเรียนเตรียมควำมพร้อมเพื่อสอบเข้ำเรียนโรงเรียนรัฐบำล สถาบันเตรียมตัวเข้าเรียนในโรงเรียนรัฐบาลจัดเป็นด่านแรกที่สาคัญสาหรับนักเรียนต่างชาติ ที่ ต้องการจะเรียนต่อในโรงเรียนรัฐบาลของประเทศสิงคโปร์ สถาบันเหล่านี้จะทาหน้าที่เตรียมนักเรียนให้มี ความพร้อมทั้งทางด้านภาษา และปรับพื้นฐาน ความรู้ของนักเรียนต่างชาติให้เข้าใจและมีความพร้อมที่จะ เรียนในโรงเรียนรัฐบาลสิงคโปร์ต่อไป อีกทั้ง ยังช่วยจัดหาโรงเรียนรัฐบาลที่เหมาะสมพร้อมกับพานักเรียนไป สอบตามโรงเรียนเหล่านั้นเมื่อจบหลักสูตรอีกด้วย Academies Australasia Singapore เป็นสถาบันที่ได้รับการยอมรับและยกย่องไปทั่วโลก Academies Australasia ได้เปิดดาเนินการ สอนมามากกว่า 103 ปี มีประสบการณ์อันยาวนานและประสบความสาเร็จในการศึกษาทาให้สถาบันมี มาตรฐานที่สูง Academies Australasia เปิดทาการเรียนการสอนเพื่อเตรียมนักเรียนต่างชาติมามากกว่า 20 ปี และมีชื่อเสียงในการเตรียมนักเรียนต่างชาติในการเข้ามาศึกษาที่โรงเรียนรัฐบาลของประเทศสิงค์โปร์ เตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนที่จะเข้าเรียนทั้งในโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่เป็นของรัฐบาล สิงค์โปร์โปรแกรมได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาที่จาเป็น ภาษาอังกฤษสาหรับ เยาวชนนักเรียนนักศึกษาเพื่อเตรียมพวกเขาสาหรับผู้ที่สาคัญทั้งหมดเข้าสอบ โดยจะให้ความสาคัญเป็น พิเศษถูกวางไว้ดังต่อไปนี้  เรียนรู้โครงสร้างไวยากรณ์ที่สาคัญ  เรียนรู้และขยายขอบเขตคาศัพท์  ความเชื่อมั่นในการอ่านและการพัฒนาความเข้าใจ  ส่งเสริมทักษะการเขียนที่มีประสิทธิภาพและความคิดสร้างสรรค์ ปีการศึกษาของแบ่งออกเป็นสี่เทอมของแต่เทอมมีระยะเวลาสามเดือน ในแต่ละเทอมนักเรียนจะได้ เรียนรู้และพัฒนาทักษะความรู้ใหม่ มีการเรียนรู้ในของหัวข้อที่น่าตื่นเต้นและกระตุ้นให้นักเรียนมีการปฏิบัติ คาแนะนาส่วนบุคคลที่จะใช้ทักษะเหล่านี้ในการอ่านการเขียนและการพูด สถาบันมีการดาเนินการเพื่อ ประเมินความก้าวหน้าของนักเรียนแต่ละคน ผู้ปกครองจะได้รับรายงานของนักเรียนในแต่ละเทอม 15
  • 22. National Library of Singapore ล็อกเกอร์เก็บสัมภำระ กำหนดรหัสเอง ข้อกำหนดกำรใช้ห้องสมุด ติดไว้ใต้พื้นบันไดเลื่อน ทำงเข้ำหอสมุดแห่งชำติสิงคโปร์ 19
  • 25. Gargens by the Bay 22
  • 27. Tan Si Chong Su Temple 24
  • 30. 27
  • 31. 28
  • 32. 29
  • 33. 30
  • 34. ที่ปรึกษำ นายสุรพล สุขประเสริฐ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง นายบุญเลิศ นิกร รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง นายยรรยง พรหมสาขา ณ สกลนคร รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง นายวัชรินทร์ หลงมีวงศ์ รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง นายเจียรนัย ไชยนา รองผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง ผู้จัดทำรำยงำน นางอรุณรัสมิ์ บารุงจิตร ครูชานาญการพิเศษ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางณัฐรียา ธานีวรรณ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการโครงการ นางนันทนา วันเพ็ญ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการโครงการ นางพัชนี จาปี ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้ดูแลนักเรียนในโครงการ Mrs. Emalyn Bofill Chaiviratphong ครูชาวฟิลิปปินส์ ครูผู้ดูแลนักเรียนในโครงการ นางสาวมัตติกา เหล่าลาภะ ลูกจ้างชั่วคราว ผู้ดูแลเอกสารโครงการ นางสาวอรอุมา สิทธิบูรณ์ ลูกจ้างชั่วคราว ออกแบบปก 31