SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
โครงงาน
การยืดอายุของมะม่วงด้วยการเคลือบผิวจากสารในธรรมชาติ
คณะผู้จัดทา
1. นายธนดล อรุณภักดี
2. นายพลธกน สายทองเถื่อน
3. นายอดิศักดิ์ สิงห์อาจ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5
เสนอ
คุณครูกิตติพงษ์ จรัญไพศาล
วิชา IS รหัสวิชา I32202
โรงเรียนชุมแพศึกษา
อาเภอ ชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
สานักงานเขตมัธยมศึกษา เขต 55
กิตติกรรมประกาศ
จากโครงงาน เรื่อง การยืดอายุของมะม่วงให้นานที่สุดด้วยธรรมชาติ
ได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดีจากอาจารย์กิตติพงษ์ ศิริไพศาร ที่ให้คาปรึกษา แนะนาตลอดการดาเนินงาน
และคอยให้แนวคิดในการสร้างสรรค์งานนี้ขึ้นมาขอขอบพระคุณผู้มีอุปการะคุณทุกท่านที่คอยให้กาลังใจ
คณะผู้จัดทา
บทคัดย่อ
โครงงาน การยืดอายุของมะม่วงด้วยการเคลือบผิวจากสารในธรรมชาติ
ผู้จัดทา นายธนดล อรุณภักดี
นายพลธกน สายทองเถื่อน
นายอดิศักดิ์ สิงห์อาจ
อาจารย์ที่ปรึกษาคุณครูกิตติพงษ์ จรัญไพศาล
สถานที่ โรงเรียนชุมแพศึกษา
บทคัดย่อ
มะม่วงเป็นพืชที่มีความสาคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับหนึ่งของปร
ะเทศไทยและนอกจากนี่มะม่วงได้เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทยโดยมีตลาดส่งออกที่สาคัญคือป
ระเทศญี่ปุ่น ประเทศในยุโรป และ ประเทศสหรัฐอเมริกาเนื่องจากผลมะม่วงมีคุณภาพดี
มีคุณค่าทางโภชนาการ อร่อย หอม รสชาติหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย
ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของชาวต่างชาติปัจจุบันการส่งออกมะม่วงสดยังต้องอาศัยการขนส่งทางเครื่องบิน
เพราะมะม่วงเป็นผลไม้ที่มีอายุการเก็บรักษาสั้น
จึงจาเป็นต้องเลือกใช้วิธีการขนส่งที่สั้นที่สุดเพื่อรักษาคุณภาพผลของมะม่วงให้ยังเป็นที่ต้องการของผู้บริโภ
ค แต่การขนส่งทางเครื่องบินนั้นมีราคาแพง
ดังน้นกลุ่มของพวกเราจึงพยายามที่จะหาวิธีที่ยืดอายุของมะม่วงให้นานที่สุดและไม่เป็นอันตรายกับ
ผู้บริโภคและกลุ่มของพวกเราก็ได้พบกับวิธีการเคลือบผิวจากสารในธรรมชาติซึ่งไม่เป็นอันตรายกับผู้บริโภ
ค
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
มะม่วง จัดเป็นไม้ผลเขตร้อนที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
สามารถปลูกได้ทุกภาคของประเทศ ตลาดส่งออกที่สาคัญคือประเทศ ญี่ปุ่น ยุโรปและอเมริกา
ปัจจุบันการส่งออกมะม่วงสดยังต้องอาศัยการขนส่งทางเครื่องบิน
เพราะมะม่วงเป็นผลไม้ที่มีอายุการเก็บรักษาสั้น
จึงจาเป็นต้องเลือกใช้วิธีการขนส่งที่สั้นที่สุดเพื่อรักษาคุณภาพผลของมะม่วงให้ยังเป็นที่ต้องการของผู้บริโภ
ค แต่การขนส่งทางเครื่องบินนั้นมีราคาแพง จะทาให้ต้นทุนของการส่งออกมะม่วงนั้นมีราคาสูง
ทาให้มะม่วงของไทยที่ขายอยู่ที่สหรัฐอเมริกาและยุโรปมีราคาแพง เมื่อเทียบกับมะม่วงของประเทศคู่แข่ง
อย่างไรก็ตาม หากยืดอายุการเก็บรักษาได้นานขึ้น ทาให้สามารถขนส่งมะม่วงทางเรือได้
ซึ่งค่าขนส่งทางเรือถูกกว่าการขนส่งทางเครื่องบินมาก นับว่าเป็นการลดต้นทุนการผลิต การส่งออก
ส่งผลให้มะม่วงที่ขายในตลาดต่างประเทศมีราคาถูกลง มีศักยภาพในการแข่งขันกับประเทศคู่แข่ง
และสามารถเพิ่มรายได้ให้กับประเทศอีกด้วย
ดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงได้ทาการเคลือบผิวมะม่วงด้วยสารจากธรรมชาติ
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับผู้บริโภค
วัตถุประสงค์
1.เพื่อยืดอายุของมะม่วงให้อยู่ได้นานที่สุด
2.เพื่อเพื่มความน่ารับประทานของมะม่วง
ขอบเขตของโครงงาน
ระยะเวลาในการศึกษา เดือนตุลาคม2556 ถึง เดือนธันวาคม2556
สถานที่ทาโครงงาน
โรงเรียนชุมแพศึกษา อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
สถานที่ทาการทดลอง
โรงเรียนชุมแพศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ยืดอายุของมะม่วง
สมมุติฐานโครงงาน
เราจะสามารถยืดอายุของมะม่วงโดยการเคลือบผิวได้หรือไม่
บทที่ 5
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.เอกสารที่เกี่ยวข้อง
มะม่วง
มะม่วง (mango) เป็นผลไม้ในเขตร้อนมีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Mangifera indica Linn. อยู่ในวงศ์
Anacardiaceae มีถิ่นกาเนิดอยู่ในประเทศอินเดียและพม่า และประเทศในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่
ไทย พม่า และมาเลเซีย มะม่วงเป็นผลไม้ที่ปลูกง่าย สามารถขึ้นได้ดีในสภาพดินแทบทุกชนิด
ประกอบกับผลมีรสชาติอร่อย สามารถรับประทานได้ทั้งผลดิบ ผลสุก
สามารถแปรรูปเก็บไว้รับประทานนอกฤดูกาลได้(คีรี, 2540)
การจัดจาแนก (Classification) (Mukherjee, 1997)
Kingdom Plantae
Class Dicotyledonae
Sub-Class Arachichlamydae
Order Sapindales
Family Anacardiaceae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica Linn.
ชื่อสามัญ : Mango Fruit
มะม่วงเป็นผลไม้ที่มีพืชใบเลี้ยงคู่มีลักษณะเป็นไม้ยืนต้นสูง ลาต้นตั้งตรง
มีกิ่งก้านแผ่ออกมีลักษณะเป็นพุ่มแน่นทึบ เป็นพืชที่มีรากแก้ว ลักษณะของใบมะม่วงเป็นใบเดี่ยว
มีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปโล่ รูปหอก หรือ เรียวยาว ไม่มีขน ลักษณะของดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง
ในช่อดอกประกอบไปด้วยดอกเพศผู้และดอกสมบูรณ์เพศ ผลของมะม่วงเป็นผลแบบ flesh drupe
ผลจะมีความแตกต่างกันในเรื่องของ รูปร่าง ขนาด รสชาติ และ กลิ่น เป็นต้น
ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะประจาพันธุ์ของมะม่วง อุณหภูมิที่ต่อการเจริญเติบโตของมะม่วงอยู่ในช่วง 21.2-26.7
องศาเซลเซียส
ในภูมิภาคเขตร้อนมะม่วงมักออกดอกในช่วงฤดูหนาวอุณหภูมิที่กระตุ้นให้มะม่วงมีการออกดอกอยู่ที่ประม
าณ 15-20 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 5-10 วัน
สาหรับประเทศไทยมะม่วงออกดอกช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม
และเก็บผลผลิตช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน
มะม่วงสามารถปลูกได้ในสภาพดินหลายๆชนิดแต่ที่เหมาะสมที่สุดคือ ดินร่วน ที่มีความเป็นกรด-ด่าง (pH)
อยู่ในช่วง 5.5-7.5 การขยายพันธุ์มะม่วง ทาได้โดยการใช้เมล็ด การติดตา การเสียบยอด การทาบกิ่ง การชา
และการตอน เป็นต้น (สิริวรรณ, 2547)
สารยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว
จากการศึกษาโดยใช้ไคโตซานเคลือบผิวผลไม้ ชนิดต่างๆ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา พบว่า
ไคโตซานมีผลทาให้ผลไม้สดสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานขึ้น ตัวอย่างเช่น Dien และ Binh (1996) พบว่า
ความเข้มข้นที่เหมาะสมของไคโตซานที่ใช้ในการเคลือบผิวส้มสด คือ 1.6 % และ 1.8 % ใน 2 %
กรดอะซีติก โดยสามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้นานถึง 35-40 วัน
ยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยว จากการใช้ไคโตซานเคลือบผิวส้มสด
เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาสาหรับการบริโภคและการส่งออกของเวียดนาม พบว่า
ส้มที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานสามารถเก็บรักษาไว้ได้ นาน 35-40 วัน โดยภาวะที่ให้ผลดีที่สุดคือ ใช้
ไคโตซาน 1.6 % และ 1.8 % ใน 2 % กรดอะซิติก และชั้นเคลือบควรมีความหนาอย่างน้อย 35 ไมครอน
นอกจากนี้ วิษณุและคณะ (2546) ยังพบว่า การใช้ ไคโตซานที่ความเข้มข้น1 % และ 1.3 %
สามารถชะลอการสุกของมะม่วงพันธุ์ น้าดอกไม้ได้ จนถึงวันที่ 25 ของการเก็บรักษา
การศึกษาผลของไคโตซานต่อคุณภาพการเก็บรักษาของมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ พบว่า การใช้
ไคโตซานที่ความเข้มข้น 1 % และ 1.3 %
สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ได้
โดยสามารถชะลอการสุกของมะม่วงได้จนถึงวันที่ 25 ของการเก็บรักษา
นอกจากนี้การเคลือบผิวด้วยไคโตซานยังมีผลลดการเกิดโรคหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงได้
ไคติน
ไคติน มีชื่อทางเคมีว่า Poly [b-(1®4)-2-acetamido-2-deoxy-D-glucopyranose]
ซึ่งพบมากในเปลือกกุ้ง กระดองปู แกนปลาหมึก ผนังเซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์และเห็ดรา
อย่างไรก็ตามการผลิตเชิงพาณิชย์มักจะใช้เปลือกกุ้ง กระดองปูและแกนปลาหมึกเป็นวัตถุดิบ
โดยผ่านกระบวนการผลิตที่ไม่ยุ่งยากนัก ได้แก่ กระบวนการสกัดโปรตีน
โดยใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์เจือจาง และกระบวนการสกัดแร่ธาตุ โดยใช้กรดเกลือเจือจาง
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะเรียกว่า “ไคติน”
ไคโตซาน
ไคโตซานเป็นไบโอโพลิเมอร์ธรรมชาติอย่างหนึ่ง ซึ่งมีองค์ประกอบสาคัญในรูปของ D –
glucosamine พบได้ในธรรมชาติ โดยเป็นองค์ประกอบอยู่ในเปลือกนอกของสัตว์พวกกุ้ง ปู
แมลงและเชื้อราเป็นสารธรรมชาติที่มีลักษณะโดดเด่นเฉพาะตัวคือที่เป็นวัสดุชีวภาพ (Biometerials)
ย่อยสลายตามธรรมชาติ มีความปลอดภัยในการนามาใช้กับมนุษย์ไม่เกิดผลเสียและปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม
ไม่เกิดการแพ้ไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (non–
phytotoxic)ต่อพืชนอกจากนี้ยังส่งเสริมการเพิ่มปริมาณของสิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
ขั้นตอนการเคลือบผิวผลไม้
การเคลือบผิวมะม่วง
วัสดุอุปกรณ์
1.มะม่วง
2.ไคโตซาน
3.ถุงมือยาง
4.น้า
5.ถังน้า
วิธีการการเคลือบผิวมะม่วง
1. ล้างมะม่วงให้สะอาดแล้วนาไปผึ่งให้แห้ง
2. นาไคโตซานมาเคลือบผิวให้ทั่ว
3. ทิ้งไว้ให้แห้ง
บทที่ 4
ผลโครงงานและอภิปายผล
ตารางแสดงอายุของมะม่วง
ระยะเวลา ไม่เคลือบผิว เคลือบผิว
1 วัน / /
3วัน / /
5วัน / /
7วัน / /
10วัน /
15วัน /
20วัน /
ตาราง แสดงอายุของมะม่วงระหว่างมะม่วงที่เคลือบผิวกับมะม่วงที่ไม่ได้เคลือบผิว
บทที่ 5
สรุปผลโครงงานและข้อเสนอแนะ
สรุปผลโครงงาน
การเคลือบผิวมะม่วงจะช่วยยืดระยะเวลาการเก็บรักษาของมะม่วงให้ยาวนานออกไปเพื่อกระจายผล
มะม่วงไปขายในระยะไกลได้
และยังเป็นการขยายระยะเวลาในการจาหน่ายผลผลิตในช่วงที่ผลิตเกินความต้องการของตลาดได้
ปัญหาและอุปสรรค
1.สถานที่ในการจัดทาโครงงานไม่สะดวก
2.วัสดุอุปกรณ์หายาก
ข้อเสนอแนะ
ภาคผนวก
เคลือบผิว ไม่เคลือบผิว
บรรณานุกรม
กันยา แอ่นกาศ. 2547. การควบคุมการสุกของผลมะม่วงพันธุ์มหาชนกในระหว่างการเก็บรักษาด้วยสาร 1 -
เมธิลไซโคลโพรพีน. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 132 น.
ดวงตรา สานติกุล สายชล เกตุษา และ สุรพงษ์ โกสิยะจินดา. 2527 ดัชนีการเก็บเกี่ยวมะม่วงน้าดอกไม้.
ว.เกษตรศาสตร์ (วิทย์) 18: 65 – 60.
วิลาวัลย์คาปวน. 2552.
ผลของสารต้านทานเชื้อราที่มีในยางของผลมะม่วงต่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงเขียวมรกต.
น. 364. ใน บทคัดย่อ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 8
“พืชสวนไทยบนเส้นทางสู่ความยั่งยืน”. 6-9 พฤษภาคม 2552. ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส อ.เมือง
จ.เชียงใหม่.
สายชล เกตุษา และ สุนทร โปทา. 2535. คุณภาพของผลมะม่วงสุก และการเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยว
ของผลมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ที่เก็บเกี่ยวอายุต่างกัน. ว.เกษตรศาสตร์ (วิทย์) 26: 12 – 19.
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.). 2550.
คู่มือแนวทางปฏิบัติเพื่อการส่งออกผลไม้ไปสหรัฐอเมริกา. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,
กรุงเทพฯ. 115 น.
อภิตา บุญศิริ. 2553. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวมะม่วงและมังคุดเพื่อการส่งออก.
เอกสารประกอบการบรรยายในการสัมมนา “การพัฒนาการผลิตมะม่วงอย่างยั่งยืน”. 20 กรกฎาคม
2553. ณ อาราญาน่า ภูพิมาน รีสอร์ทแอนด์สปา อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา. 14 น.
กรมวิชาการเกษตร. 2552. มะม่วง. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล:
http://it.doa.go.th/vichakan/print.php?newsid=37 (15 ธันวาคม 2556)
สืบค้นจาก http://www.kmutt.ac.th/titec/gtz/mango-detail-upload1.html
(วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2556)
สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki/
(วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2556)
สืบค้นจาก http://www.gpo.or.th/rdi/html/chitin.html
(วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2556)
สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki/
(วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2556)

More Related Content

What's hot

การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
chunkidtid
 
M6 143 60_9
M6 143 60_9M6 143 60_9
M6 143 60_9
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
Wichai Likitponrak
 

What's hot (10)

เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Pptgst uprojectplastic62
Pptgst uprojectplastic62Pptgst uprojectplastic62
Pptgst uprojectplastic62
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
 
M6 143 60_9
M6 143 60_9M6 143 60_9
M6 143 60_9
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
Pptgst uprojecttannin62
Pptgst uprojecttannin62Pptgst uprojecttannin62
Pptgst uprojecttannin62
 

Similar to โครงงาน

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Bliss_09
 

Similar to โครงงาน (15)

โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
 
งานคอมมม
งานคอมมมงานคอมมม
งานคอมมม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02
 
Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
 
Microplastic
MicroplasticMicroplastic
Microplastic
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 

โครงงาน

  • 1. โครงงาน การยืดอายุของมะม่วงด้วยการเคลือบผิวจากสารในธรรมชาติ คณะผู้จัดทา 1. นายธนดล อรุณภักดี 2. นายพลธกน สายทองเถื่อน 3. นายอดิศักดิ์ สิงห์อาจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 เสนอ คุณครูกิตติพงษ์ จรัญไพศาล วิชา IS รหัสวิชา I32202 โรงเรียนชุมแพศึกษา อาเภอ ชุมแพ จังหวัดขอนแก่น สานักงานเขตมัธยมศึกษา เขต 55
  • 2. กิตติกรรมประกาศ จากโครงงาน เรื่อง การยืดอายุของมะม่วงให้นานที่สุดด้วยธรรมชาติ ได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดีจากอาจารย์กิตติพงษ์ ศิริไพศาร ที่ให้คาปรึกษา แนะนาตลอดการดาเนินงาน และคอยให้แนวคิดในการสร้างสรรค์งานนี้ขึ้นมาขอขอบพระคุณผู้มีอุปการะคุณทุกท่านที่คอยให้กาลังใจ คณะผู้จัดทา
  • 3. บทคัดย่อ โครงงาน การยืดอายุของมะม่วงด้วยการเคลือบผิวจากสารในธรรมชาติ ผู้จัดทา นายธนดล อรุณภักดี นายพลธกน สายทองเถื่อน นายอดิศักดิ์ สิงห์อาจ อาจารย์ที่ปรึกษาคุณครูกิตติพงษ์ จรัญไพศาล สถานที่ โรงเรียนชุมแพศึกษา บทคัดย่อ มะม่วงเป็นพืชที่มีความสาคัญของประเทศไทยซึ่งมีผู้ที่ปลูกและรับประทานเป็นอันดับหนึ่งของปร ะเทศไทยและนอกจากนี่มะม่วงได้เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทยโดยมีตลาดส่งออกที่สาคัญคือป ระเทศญี่ปุ่น ประเทศในยุโรป และ ประเทศสหรัฐอเมริกาเนื่องจากผลมะม่วงมีคุณภาพดี มีคุณค่าทางโภชนาการ อร่อย หอม รสชาติหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของชาวต่างชาติปัจจุบันการส่งออกมะม่วงสดยังต้องอาศัยการขนส่งทางเครื่องบิน เพราะมะม่วงเป็นผลไม้ที่มีอายุการเก็บรักษาสั้น จึงจาเป็นต้องเลือกใช้วิธีการขนส่งที่สั้นที่สุดเพื่อรักษาคุณภาพผลของมะม่วงให้ยังเป็นที่ต้องการของผู้บริโภ ค แต่การขนส่งทางเครื่องบินนั้นมีราคาแพง ดังน้นกลุ่มของพวกเราจึงพยายามที่จะหาวิธีที่ยืดอายุของมะม่วงให้นานที่สุดและไม่เป็นอันตรายกับ ผู้บริโภคและกลุ่มของพวกเราก็ได้พบกับวิธีการเคลือบผิวจากสารในธรรมชาติซึ่งไม่เป็นอันตรายกับผู้บริโภ ค
  • 4. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ มะม่วง จัดเป็นไม้ผลเขตร้อนที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย สามารถปลูกได้ทุกภาคของประเทศ ตลาดส่งออกที่สาคัญคือประเทศ ญี่ปุ่น ยุโรปและอเมริกา ปัจจุบันการส่งออกมะม่วงสดยังต้องอาศัยการขนส่งทางเครื่องบิน เพราะมะม่วงเป็นผลไม้ที่มีอายุการเก็บรักษาสั้น จึงจาเป็นต้องเลือกใช้วิธีการขนส่งที่สั้นที่สุดเพื่อรักษาคุณภาพผลของมะม่วงให้ยังเป็นที่ต้องการของผู้บริโภ ค แต่การขนส่งทางเครื่องบินนั้นมีราคาแพง จะทาให้ต้นทุนของการส่งออกมะม่วงนั้นมีราคาสูง ทาให้มะม่วงของไทยที่ขายอยู่ที่สหรัฐอเมริกาและยุโรปมีราคาแพง เมื่อเทียบกับมะม่วงของประเทศคู่แข่ง อย่างไรก็ตาม หากยืดอายุการเก็บรักษาได้นานขึ้น ทาให้สามารถขนส่งมะม่วงทางเรือได้ ซึ่งค่าขนส่งทางเรือถูกกว่าการขนส่งทางเครื่องบินมาก นับว่าเป็นการลดต้นทุนการผลิต การส่งออก ส่งผลให้มะม่วงที่ขายในตลาดต่างประเทศมีราคาถูกลง มีศักยภาพในการแข่งขันกับประเทศคู่แข่ง และสามารถเพิ่มรายได้ให้กับประเทศอีกด้วย ดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงได้ทาการเคลือบผิวมะม่วงด้วยสารจากธรรมชาติ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับผู้บริโภค วัตถุประสงค์ 1.เพื่อยืดอายุของมะม่วงให้อยู่ได้นานที่สุด 2.เพื่อเพื่มความน่ารับประทานของมะม่วง ขอบเขตของโครงงาน ระยะเวลาในการศึกษา เดือนตุลาคม2556 ถึง เดือนธันวาคม2556 สถานที่ทาโครงงาน โรงเรียนชุมแพศึกษา อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น สถานที่ทาการทดลอง โรงเรียนชุมแพศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ยืดอายุของมะม่วง สมมุติฐานโครงงาน เราจะสามารถยืดอายุของมะม่วงโดยการเคลือบผิวได้หรือไม่
  • 5. บทที่ 5 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1.เอกสารที่เกี่ยวข้อง มะม่วง มะม่วง (mango) เป็นผลไม้ในเขตร้อนมีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Mangifera indica Linn. อยู่ในวงศ์ Anacardiaceae มีถิ่นกาเนิดอยู่ในประเทศอินเดียและพม่า และประเทศในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย พม่า และมาเลเซีย มะม่วงเป็นผลไม้ที่ปลูกง่าย สามารถขึ้นได้ดีในสภาพดินแทบทุกชนิด ประกอบกับผลมีรสชาติอร่อย สามารถรับประทานได้ทั้งผลดิบ ผลสุก สามารถแปรรูปเก็บไว้รับประทานนอกฤดูกาลได้(คีรี, 2540) การจัดจาแนก (Classification) (Mukherjee, 1997) Kingdom Plantae Class Dicotyledonae Sub-Class Arachichlamydae Order Sapindales Family Anacardiaceae ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica Linn. ชื่อสามัญ : Mango Fruit มะม่วงเป็นผลไม้ที่มีพืชใบเลี้ยงคู่มีลักษณะเป็นไม้ยืนต้นสูง ลาต้นตั้งตรง มีกิ่งก้านแผ่ออกมีลักษณะเป็นพุ่มแน่นทึบ เป็นพืชที่มีรากแก้ว ลักษณะของใบมะม่วงเป็นใบเดี่ยว มีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปโล่ รูปหอก หรือ เรียวยาว ไม่มีขน ลักษณะของดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ในช่อดอกประกอบไปด้วยดอกเพศผู้และดอกสมบูรณ์เพศ ผลของมะม่วงเป็นผลแบบ flesh drupe ผลจะมีความแตกต่างกันในเรื่องของ รูปร่าง ขนาด รสชาติ และ กลิ่น เป็นต้น ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะประจาพันธุ์ของมะม่วง อุณหภูมิที่ต่อการเจริญเติบโตของมะม่วงอยู่ในช่วง 21.2-26.7 องศาเซลเซียส ในภูมิภาคเขตร้อนมะม่วงมักออกดอกในช่วงฤดูหนาวอุณหภูมิที่กระตุ้นให้มะม่วงมีการออกดอกอยู่ที่ประม าณ 15-20 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 5-10 วัน สาหรับประเทศไทยมะม่วงออกดอกช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม
  • 6. และเก็บผลผลิตช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน มะม่วงสามารถปลูกได้ในสภาพดินหลายๆชนิดแต่ที่เหมาะสมที่สุดคือ ดินร่วน ที่มีความเป็นกรด-ด่าง (pH) อยู่ในช่วง 5.5-7.5 การขยายพันธุ์มะม่วง ทาได้โดยการใช้เมล็ด การติดตา การเสียบยอด การทาบกิ่ง การชา และการตอน เป็นต้น (สิริวรรณ, 2547) สารยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว จากการศึกษาโดยใช้ไคโตซานเคลือบผิวผลไม้ ชนิดต่างๆ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา พบว่า ไคโตซานมีผลทาให้ผลไม้สดสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานขึ้น ตัวอย่างเช่น Dien และ Binh (1996) พบว่า ความเข้มข้นที่เหมาะสมของไคโตซานที่ใช้ในการเคลือบผิวส้มสด คือ 1.6 % และ 1.8 % ใน 2 % กรดอะซีติก โดยสามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้นานถึง 35-40 วัน ยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยว จากการใช้ไคโตซานเคลือบผิวส้มสด เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาสาหรับการบริโภคและการส่งออกของเวียดนาม พบว่า ส้มที่เคลือบผิวด้วยไคโตซานสามารถเก็บรักษาไว้ได้ นาน 35-40 วัน โดยภาวะที่ให้ผลดีที่สุดคือ ใช้ ไคโตซาน 1.6 % และ 1.8 % ใน 2 % กรดอะซิติก และชั้นเคลือบควรมีความหนาอย่างน้อย 35 ไมครอน นอกจากนี้ วิษณุและคณะ (2546) ยังพบว่า การใช้ ไคโตซานที่ความเข้มข้น1 % และ 1.3 % สามารถชะลอการสุกของมะม่วงพันธุ์ น้าดอกไม้ได้ จนถึงวันที่ 25 ของการเก็บรักษา การศึกษาผลของไคโตซานต่อคุณภาพการเก็บรักษาของมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ พบว่า การใช้ ไคโตซานที่ความเข้มข้น 1 % และ 1.3 % สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ได้ โดยสามารถชะลอการสุกของมะม่วงได้จนถึงวันที่ 25 ของการเก็บรักษา นอกจากนี้การเคลือบผิวด้วยไคโตซานยังมีผลลดการเกิดโรคหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงได้ ไคติน ไคติน มีชื่อทางเคมีว่า Poly [b-(1®4)-2-acetamido-2-deoxy-D-glucopyranose] ซึ่งพบมากในเปลือกกุ้ง กระดองปู แกนปลาหมึก ผนังเซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์และเห็ดรา อย่างไรก็ตามการผลิตเชิงพาณิชย์มักจะใช้เปลือกกุ้ง กระดองปูและแกนปลาหมึกเป็นวัตถุดิบ โดยผ่านกระบวนการผลิตที่ไม่ยุ่งยากนัก ได้แก่ กระบวนการสกัดโปรตีน โดยใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์เจือจาง และกระบวนการสกัดแร่ธาตุ โดยใช้กรดเกลือเจือจาง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะเรียกว่า “ไคติน” ไคโตซาน
  • 7. ไคโตซานเป็นไบโอโพลิเมอร์ธรรมชาติอย่างหนึ่ง ซึ่งมีองค์ประกอบสาคัญในรูปของ D – glucosamine พบได้ในธรรมชาติ โดยเป็นองค์ประกอบอยู่ในเปลือกนอกของสัตว์พวกกุ้ง ปู แมลงและเชื้อราเป็นสารธรรมชาติที่มีลักษณะโดดเด่นเฉพาะตัวคือที่เป็นวัสดุชีวภาพ (Biometerials) ย่อยสลายตามธรรมชาติ มีความปลอดภัยในการนามาใช้กับมนุษย์ไม่เกิดผลเสียและปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม ไม่เกิดการแพ้ไม่ไวไฟและไม่เป็นพิษ (non– phytotoxic)ต่อพืชนอกจากนี้ยังส่งเสริมการเพิ่มปริมาณของสิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์ บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ขั้นตอนการเคลือบผิวผลไม้ การเคลือบผิวมะม่วง วัสดุอุปกรณ์ 1.มะม่วง 2.ไคโตซาน 3.ถุงมือยาง 4.น้า 5.ถังน้า
  • 9. บทที่ 4 ผลโครงงานและอภิปายผล ตารางแสดงอายุของมะม่วง ระยะเวลา ไม่เคลือบผิว เคลือบผิว 1 วัน / / 3วัน / / 5วัน / / 7วัน / / 10วัน / 15วัน / 20วัน / ตาราง แสดงอายุของมะม่วงระหว่างมะม่วงที่เคลือบผิวกับมะม่วงที่ไม่ได้เคลือบผิว
  • 10. บทที่ 5 สรุปผลโครงงานและข้อเสนอแนะ สรุปผลโครงงาน การเคลือบผิวมะม่วงจะช่วยยืดระยะเวลาการเก็บรักษาของมะม่วงให้ยาวนานออกไปเพื่อกระจายผล มะม่วงไปขายในระยะไกลได้ และยังเป็นการขยายระยะเวลาในการจาหน่ายผลผลิตในช่วงที่ผลิตเกินความต้องการของตลาดได้ ปัญหาและอุปสรรค 1.สถานที่ในการจัดทาโครงงานไม่สะดวก 2.วัสดุอุปกรณ์หายาก ข้อเสนอแนะ
  • 12. บรรณานุกรม กันยา แอ่นกาศ. 2547. การควบคุมการสุกของผลมะม่วงพันธุ์มหาชนกในระหว่างการเก็บรักษาด้วยสาร 1 - เมธิลไซโคลโพรพีน. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 132 น. ดวงตรา สานติกุล สายชล เกตุษา และ สุรพงษ์ โกสิยะจินดา. 2527 ดัชนีการเก็บเกี่ยวมะม่วงน้าดอกไม้. ว.เกษตรศาสตร์ (วิทย์) 18: 65 – 60. วิลาวัลย์คาปวน. 2552. ผลของสารต้านทานเชื้อราที่มีในยางของผลมะม่วงต่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงเขียวมรกต. น. 364. ใน บทคัดย่อ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 8 “พืชสวนไทยบนเส้นทางสู่ความยั่งยืน”. 6-9 พฤษภาคม 2552. ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส อ.เมือง จ.เชียงใหม่. สายชล เกตุษา และ สุนทร โปทา. 2535. คุณภาพของผลมะม่วงสุก และการเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยว ของผลมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ที่เก็บเกี่ยวอายุต่างกัน. ว.เกษตรศาสตร์ (วิทย์) 26: 12 – 19. สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.). 2550. คู่มือแนวทางปฏิบัติเพื่อการส่งออกผลไม้ไปสหรัฐอเมริกา. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. 115 น. อภิตา บุญศิริ. 2553. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวมะม่วงและมังคุดเพื่อการส่งออก. เอกสารประกอบการบรรยายในการสัมมนา “การพัฒนาการผลิตมะม่วงอย่างยั่งยืน”. 20 กรกฎาคม 2553. ณ อาราญาน่า ภูพิมาน รีสอร์ทแอนด์สปา อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา. 14 น. กรมวิชาการเกษตร. 2552. มะม่วง. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://it.doa.go.th/vichakan/print.php?newsid=37 (15 ธันวาคม 2556) สืบค้นจาก http://www.kmutt.ac.th/titec/gtz/mango-detail-upload1.html (วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2556) สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki/ (วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2556)
  • 13. สืบค้นจาก http://www.gpo.or.th/rdi/html/chitin.html (วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2556) สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki/ (วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2556)