SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
Download to read offline
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา ๔๙๙๕๐๘ ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ ๓ (๒-๒-๕)
499508 English for Medical Profession 3 (2-2-5)
นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล
หน่วยวิจัยเพื่อการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศทางการแพทย์
ภาควิชาพยาธิวิทยา
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2 | P a g e
คานา
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา ภาษาอังกฤษ
สาหรับวิชาชีพแพทย์ (English for Medical Profession) รหัส 499508 จานวน 3 หน่วยกิต สาหรับนิสิตใน
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 5 ปีการศึกษา 2555 จัดการเรียนการสอนที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
นเรศวร คณะแพทยศาสตร์ โดยเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วยรายละเอียดของรายวิชา (course syllabus) และ
แผนการสอน (lesson plan) ในหัวข้อที่ผู้จัดทารับผิดชอบ ได้แก่
1. ภาษาทางการแพทย์ และคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์
(medical language and medical terminology)
2. การสัมภาษณ์ผู้ปุวยและการซักประวัติ (patient interview and history taking)
3. การตรวจร่างกาย (physical examination)
4. การอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยโรค และการอธิบายผู้ปุวย
(discussion for diagnosis and explanation)
5. การศึกษาต่อต่างประเทศในระดับหลังปริญญา
(postgraduate medical training in foreign countries)
อนึ่ง เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ ใช้เป็นส่วนหนึ่งของผลงานทางวิชาการ เพื่อประกอบการขอ
พิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ในระดับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชา แพทยศาสตรศึกษา
(medical education) ด้านภาษาต่างประเทศทางการแพทย์ (foreign medical language)
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า นิสิตที่เรียนในรายวิชาดังกล่าวจะได้ใช้เป็นคู่มือสนับสนุนในการเรียนรู้ และ
ช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางแผนไว้ หากมีข้อผิดพลาดประการใด หรือมีข้อเสนอแนะ
เพื่อพัฒนาและปรับปรุง ขอได้โปรดแจ้งให้ผู้จัดทาทราบด้วย จะเป็นพระคุณยิ่ง
นายแพทย์ ดร.ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล
เมษายน 2556
3 | P a g e
สารบัญ
หน้า
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 5
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 6
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 7
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 7
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 10
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 12
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 13
เอกสารประกอบการสอน
1. ภาษาทางการแพทย์ และคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ 15
(medical language and medical terminology)
2. การสัมภาษณ์ผู้ปุวยและการซักประวัติ (patient interview and history taking) 33
3. การตรวจร่างกาย (physical examination) 44
4. การอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยโรค และการอธิบายผู้ปุวย 58
(discussion for diagnosis and explanation)
5. การศึกษาต่อต่างประเทศในระดับหลังปริญญา 73
(postgraduate medical training in foreign countries)
ภาคผนวก 83
1. เวบไซต์รายวิชาภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์
2. ผลการประเมินความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน ประจาปีการศึกษา 2555
4 | P a g e
รายละเอียดของรายวิชา
(Course syllabus)
5 | P a g e
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
499508 ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์
English for Medical Profession
2. จานวนหน่วยกิต
3 (2 – 2 – 5)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
3.1 หลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต
3.2 ประเภทของรายวิชา วิชาพื้นฐานวิชาชีพ
4. อาจารย์ที่รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
4.1.1 นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล
4.1.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ดร. สุธาทิพย์ พงษ์เจริญ
4.2 อาจารย์ผู้สอน
4.2.1 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร. ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย
4.2.2 รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร. ชุมนุม พรหมขัติแก้ว
4.2.3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง สุวรรณี อุทัยแสงสุข
4.2.4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ดร. สุธาทิพย์ พงษ์เจริญ
4.2.5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ พีระพล วอง
4.2.6 พันเอก นายแพทย์ ดร. ทวีศักดิ์ นพเกษร
4.2.7 แพทย์หญิง นาตยา พิพัฒน์สัตยานุวงศ์
4.2.8 แพทย์หญิง พัชรดา อมาตยกุล
4.2.9 แพทย์หญิง วัชรา พิจิตรศิริ
4.2.10 ดร. อภิชัย อภิชาตบุตร
4.2.11 นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล
4.3 อาจารย์วิทยากรพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษ
4.3.1 รองศาสตราจารย์ ดร. วัฒนา พัดเกตุ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
4.3.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อุษา พัดเกตุ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
4.3.3 Mr. Richard Michael Glover คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
6 | P a g e
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 ชั้นปีที่ 5 (จานวน 3 สัปดาห์)
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) (ถ้ามี)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2555
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารระหว่างแพทย์กับผู้ปุวย และระหว่างบุคลากรทาง
การแพทย์ รวมทั้งฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน โดยใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อความหมาย เพื่อ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพ และการศึกษาต่อได้ในระดับสากล
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2555
7 | P a g e
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหว่างแพทย์กับผู้ปุวย การแสดงบทบาทสมมติ ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
พื้นฐาน คาศัพท์ทางการแพทย์ การอ่าน การเขียนรายงานทางการแพทย์ และการเขียนรายงานการวิจัย
English for communication with English speaking doctors and patients, role play, basic
English grammar, medical terminology, reading and writing medical reports as well as research
articles
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย (Lecture) จานวน 30 ชั่วโมง
ฝึกปฏิบัติ (Practice) จานวน 30 ชั่วโมง
การเรียนรู้โดยการกากับตนเอง (Self-directed learning) จานวน 75 ชั่วโมง
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
สามารถให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการหรือที่มีปัญหา) ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. ด้านความรู้
1.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
1) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาทางการแพทย์ (Medical language) และคาศัพท์เฉพาะทางด้าน
การแพทย์ (Medical terminology)
2) หลักการใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารกับผู้ปุวย และระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ใน
สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ
3) หลักไวยากรณ์ การอ่าน การเขียน และการนาเสนอ รายงานผู้ปุวย ผลงานวิจัย หรือบทความทาง
วิชาการทางด้านการแพทย์เป็นภาษาอังกฤษ
4) การใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการแพทย์ การสาธารณสุข และแนวทางการศึกษาต่อใน
ต่างประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสาร
8 | P a g e
1.2 วิธีการสอน
1) การบรรยาย (Lecture)
2) การฝึกปฏิบัติ (Practice)
3) การกาหนดบทบาทสมมติ (Role play)
4) การอภิปรายกลุ่ม (Group discussion)
5) การเรียนรู้โดยการกากับตนเอง (Self-directed learning)
1.3 วิธีการประเมินผล
1) การสอบปรนัย และอัตนัย
2) การแสดงตามบทบาทสมมติ (Role play)
3) การประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย (Assignments)
2. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
1) ทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารกับผู้ปุวย และระหว่างบุคลากรทางด้านการแพทย์ใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ ได้แก่ การทักทายและการแนะนาตัว การซักประวัติ การ
ตรวจร่างกาย การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัย การรักษาและให้คาแนะนา เป็นต้น
2) ทักษะในการเป็นผู้นา และการเป็นสมาชิกในการอภิปรายกลุ่ม
3) ความรับผิดชอบส่วนบุคคลในงานที่ได้รับมอบหมาย
4) ทักษะในการทางานเป็นทีม และความรับผิดชอบในงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
2.2 วิธีการสอน
1) การฝึกปฏิบัติ (Practice)
2) การกาหนดบทบาทสมมติ (Role play)
3) การอภิปรายกลุ่ม (Group discussion)
4) การมอบหมายงานในความรับผิดชอบส่วนบุคคล และงานกลุ่ม (Assignments)
5) การเรียนรู้โดยการกากับตนเอง (Self-directed learning)
2.3 วิธีการประเมินผล
1) การแสดงตามบทบาทสมมติ (Role play)
2) การสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการกลุ่ม (Group discussion)
3) การประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย (Assignments)
4) การเข้าชั้นเรียน (Attention)
9 | P a g e
3. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
1) ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ทั้งทางด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน ในการติดต่อสื่อสารเพื่อการ
ปฏิบัติงานวิชาชีพแพทย์ และการศึกษาต่อในระดับหลังปริญญา
2) ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูล จัดเตรียมรูปแบบ นาเสนอ
ผลงาน สื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับสถานการณ์
3.2 วิธีการสอน
1) การบรรยาย (Lecture)
2) การฝึกปฏิบัติ (Practice)
3) การกาหนดบทบาทสมมติ (Role play)
4) การอภิปรายกลุ่ม (Group discussion)
5) การมอบหมายงานในความรับผิดชอบส่วนบุคคล และงานกลุ่ม (Assignments)
6) การเรียนรู้โดยการกากับตนเอง (Self-directed learning)
3.3 วิธีการประเมินผล
1) การแสดงตามบทบาทสมมติ (Role play)
2) การนาเสนอรายงานวิจัย (Research presentation)
3) การสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการกลุ่ม (Group discussion)
4) การประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย (Assignments)
10 | P a g e
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
ลาดับที่ หัวข้อการสอน รูปแบบการสอน อาจารย์ผู้สอน จานวนชั่วโมง
บรรยาย ฝึกปฏิบัติ SDL
1 Introduction to course Lecture Dr. Natapol 1 - -
2 Medical language and Medical terminology Lecture Dr. Natapol 3 - 5
3 Grammar and Academic Reading Lecture Dr. Usa 3 - 5
4 Grammar and Academic Writing Lecture Dr. Watana 3 - 5
5 Introduction to Research and Writing Lecture & practice Dr. Watana 3 3 5
6 Research articles in Health Sciences Lecture & practice Dr. Sutatip 1 2 5
7 Research oral presentation Lecture & practice
Dr. Watana &
Mr. Richard 1 2 5
8 Patient interview and History taking (1) Lecture
Mr. Richard &
clinicians 3 - 5
9 Patient interview and History taking (2) Practice
Mr. Richard &
clinicians - 3 5
10 Physical examination and Practice (1) Lecture
Mr. Richard &
clinicians 3 - 5
11 Physical examination and Practice (2) Practice
Mr. Richard &
clinicians - 3 5
12 Patient Medical Record and Operative note Lecture & practice
Dr. Suwannee &
Dr. Patcharada 1 2 5
13 Laboratory investigation and Intervention Lecture & practice
Dr. Peerapon &
Dr. Watchara 1 2 5
14 Discussion for Diagnosis and Explanation Lecture & practice Dr. Natapol 1 2 5
15 Health of the public
Small group
discussion Dr. Choomnoom - 3 -
16 Medical ethics Lecture Dr. Apichai 3 - 5
17 Research instruction, follow up and Presentation Lecture & Practice
Prof. Supasit &
Dr. Taweesak &
others 2 5 5
18 Postgraduate medical training in foreign countries Lecture & Seminar
Dr. Natapol &
others 1 3 -
รวมทั้งสิ้น 30 30 75
11 | P a g e
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนว่า ผ่าน – ไม่ผ่าน (Summative evaluation) จะจัดขึ้นในสัปดาห์
สุดท้ายของการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา โดยอาศัยเครื่องมือในการวัดผล ดังนี้ สัดส่วน(%)
1. ข้อสอบแบบปรนัย หรืออัตนัย : 25%
- Listening comprehension (5%)
- Academic reading (5%)
- Academic writing (5%)
- Medical terminology (5%)
- Medical record (5%)
2. การแสดงตามบทบาทสมมติ (Role playing) : 30%
- History taking and Physical examination (10%)
- Laboratory investigation and Intervention (10%)
- Discussion for diagnosis and Explanation (10%)
3. การนาเสนอรายงานวิจัย (Research presentation) 10%
4. การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย (Assignments) : 25%
- Research paper in English (15%)
- Operative note (5%)
- Medical ethics (5%)
5. การสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการกลุ่ม (Small group discussion) 5%
6. การเข้าชั้นเรียน (Attention) 5%
รวมทั้งสิ้น 100%
เกณฑ์ในการตัดสินผลใช้วิธีอิงกลุ่ม หรืออิงเกณฑ์ หรือทั้ง 2 วิธีร่วมกัน โดยมติที่ประชุมการ
บริหารจัดการรายวิชาถือเป็นเด็ดขาด ทั้งนี้ หากใช้วิธีอิงเกณฑ์ มีการตัดสินผลเป็นลาดับเกรด ดังนี้
ระดับคะแนนรวม เกรด
=>80.00 A
75.00 – 79.99 B+
70.00 – 74.99 B
65.00 – 69.99 C+
60.00 – 64.99 C
55.00 – 59.99 D+
50.00 – 54.99 D
< 50.00 และสอบซ่อมผ่าน D
< 50.00 และสอบซ่อมไม่ผ่าน F
12 | P a g e
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตาราและเอกสารหลัก
1.1 Glendinning E.H. and Howard R., “Professional English in Use Medicine”,
Cambridge: Cambridge University Press, 2007.
1.2 Glendinning E.H. and Holmström B.A.S., “English in Medicine, Third edition”,
Cambridge: Cambridge University Press, 2005.
1.3 เอกสารประกอบการบรรยายของอาจารย์ผู้สอนแต่ละท่าน
1.4 เวปไซด์ “ภาษาอังกฤษทางด้านการแพทย์ (English in Medicine)”
<http://www.med.nu.ac.th/pathology/Humanities/english.html>
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
2.1 Turley S.M., “Medical Language”, New Jersey: Pearson Prentice Hall, 2007.
2.2 Akabayashi A., Kodama S., Slingsby B.T., “Biomedical Ethics in Asia: A Casebook for
Multicultural Learner”, McGraw-Hill Education (Asia), 2010
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
3.1 นพดล สโรบล, รองศาสตราจารย์นายแพทย์., “What’s up Doc?”, กรุงเทพมหานคร: ลลิต คอน
ซัลทิ่ง เฟิร์ม, 2543.
3.2 กิติพล นาควิโรจน์, นายแพทย์ และ พงษ์นุชนาฎ บาราบปฏิปักษ์, รองศาสตราจารย์., “English
Handbook for Doctors”, กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551.
3.3 Lloyd M. and Bor R., “Communication Skills for Medicine, Third edition”, London:
Churchill Livingstone Elsevier, 2009.
3.4 Le T., Bhushan V., Sheikh-Ali M., Shahin F.A., “First Aid for the USMLE STEP2 CS,
Third edition” McGraw-Hill Education (Asia), 2010.
3.5 Siegel L.B., “Clinical Skills Survival Guide”, Philadelphia: Mosby Elsevier, 2006.
13 | P a g e
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชากับนิสิต เพื่อให้ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียน
การสอนในชั่วโมงการเรียนครั้งสุดท้าย
- การตอบแบบประเมินรายวิชาของนิสิตเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในรายวิชา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
- การให้นิสิตตอบแบบประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละราย
- การพิจารณาจากผลการสอบในรายวิชาของนิสิต
3. การปรับปรุงการสอน
- สรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละรายโดยนิสิต และส่งให้อาจารย์ผู้สอนทราบเป็น
รายบุคคล เพื่อนาไปปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
- สรุปผลการสอบ การประเมินรายวิชา และรวบรวมความคิดเห็นของนิสิตจากการสนทนากลุ่มข้างต้น
นาเสนอในที่ประชุมสรุปผลการจัดการเรียนการสอนเมื่อเสร็จสิ้นรายวิชา เพื่อวางแนวทางในการปรับปรุงในปี
การศึกษาต่อไป
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
- กลั่นกรอง และวิเคราะห์ข้อสอบ พร้อมทั้งพิจารณาคุณภาพของข้อสอบร่วมกับผลการสอบของนิสิต ใน
ที่ประชุมสรุปผลการจัดการเรียนการสอนเมื่อเสร็จสิ้นรายวิชา
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา นาเสนอสรุปผลการจัดการเรียนการสอนในที่ประชุมรายวิชา เพื่อทบทวน
และวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา พร้อมทั้งนาเสนอต่อคณะกรรมการในระดับหลักสูตรหรือผู้บริหาร
คณะแพทยศาสตร์ต่อไป
14 | P a g e
เอกสารประกอบการสอน
(Course materials)
15 | P a g e
แผนการสอน
รหัสวิชา 499508 รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ 3 (2-2-5) ปีการศึกษา 2555
หัวข้อเรื่อง ภาษาทางการแพทย์ และคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์
(Medical language and Medical terminology)
ชื่ออาจารย์ผู้สอน นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล
วัตถุประสงค์ (Objectives)
1. เพื่อให้นิสิตทราบถึงเหตุผลความสาคัญ และประโยชน์ของการเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาทางด้านการแพทย์
(Medical Language)
2. เพื่อให้นิสิตทราบประวัติความเป็นมาของภาษาทางด้านการแพทย์ (Medical Language)
3. เพื่อให้นิสิตทราบหลักการที่มาของคาศัพท์ รากศัพท์ และการแปลความหมาย ของศัพท์เฉพาะ
ทางด้านการแพทย์ (Medical Terminology)
4. เพื่อให้นิสิตทราบถึงหัวข้อที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้ในการใช้ภาษาต่างประเทศในการประกอบวิชาชีพ
แพทย์ (Foreign Language Use in Medical Practice)
หัวข้อการเรียนรู้ (Topics)
1. ภาษา และการสื่อสาร (Language and Communication)
2. ภาษาทางด้านการแพทย์ (Medical Language)
3. ศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ (Medical Terminology)
4. การใช้ภาษาต่างประเทศในการประกอบวิชาชีพแพทย์
(Foreign Language Use in Medical Practice)
กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning activities)
1. มอบหมายให้นิสิตเตรียมตัวก่อนเข้าเรียน ดังต่อไปนี้
- อ่านเอกสารประกอบการสอน
- อ่านบทความ “The language of Medicine” (เอกสารอ้างอิง หมายเลข 6)
- ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคาศัพท์ทางด้านการแพทย์ (เอกสารอ้างอิง หมายเลข 8)
2. ภาคบรรยาย 180 นาที (3 คาบการเรียนการสอน) ประกอบด้วย
- นาเข้าสู่บทเรียน 5 นาที
- ทดสอบความรู้ก่อนเรียน (Pre-test) 10 นาที
- บรรยายเนื้อหาสาคัญและอภิปราย 150 นาที
- ซักถาม และตอบข้อสงสัย 15 นาที
16 | P a g e
สื่อการเรียนการสอน (Teaching media)
เอกสารประกอบการสอน และ powerpoint presentation
การวัดและประเมินผล (Assessment)
Summative assessment: Short answer questions 20 ข้อ (20 คะแนน, คิดเป็น 5%)
เนื้อหาสาระ (Content)
1. ภาษา และการสื่อสาร (Language and Communication)
ภาษา (language) มีความหมายที่แตกต่างกันตามพจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์)
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน1
อธิบายคาจากัดความของคาว่า “ภาษา (language)” ไว้ 5 ความหมายดังต่อไปนี้
1. ภาษาเป็นระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้สื่อสาร ประกอบด้วยส่วนที่มีความหมาย และส่วนที่ไม่มี
ความหมาย ซึ่งส่วนที่ไม่มีความหมายได้แก่ เสียง มีจานวนจากัด และใช้ประกอบกันเป็นส่วนที่มีความหมาย ซึ่งมี
จานวนไม่รู้จบ ได้แก่ คา วลี และประโยค โดยภาษาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม เป็นสมบัติของมนุษย์โดยทั่วไปที่
แตกต่างจากสัตว์
2. ภาษาเป็นระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสารในสังคมใดสังคมหนึ่ง โดยไม่มีหลักฐานว่าใครเป็น
ผู้สร้างขึ้น อาจเรียกว่า ภาษาธรรมชาติ (natural language) ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาจีน เป็นต้น
3. ภาษาที่มนุษย์จงใจสร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจง อาจเรียกว่า ภาษาประดิษฐ์ (artificial
language) ได้แก่ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษา Esperanto
4. วิธภาษา (variety of language) ซึ่งอาจเป็นภาษาย่อย (dialect) ภาษาถิ่น (regional dialect) เช่น
ภาษาอีสาน ภาษาใต้ หรือทาเนียบภาษา (register) ภาษาเฉพาะกลุ่มตามบริบทการใช้ภาษา เช่น ภาษากฎหมาย
ภาษาการแพทย์ ภาษาโฆษณา เป็นต้น
5. ระบบการสื่อสารอื่น ๆ ที่ไม่ใช้สัญลักษณ์ตามคาจากัดความที่ 1-4 เช่น ภาษามือ (sign language)
ภาษารูปภาพ ภาษากาย เป็นต้น
ในมุมมองทางด้านปรัชญาภาษานั้น ภาษาของมนุษย์มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากระบบการสื่อสารของ
สัตว์3
ดังต่อไปนี้
1. ภาษามนุษย์เป็นอิสระจากสิ่งเร้า สามารถแสดงถึงสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสภาพแวดล้อมปัจจุบันได้ เช่น การ
บรรยายเหตุการณ์ในอดีต หรือ คาดหมายเหตุการณ์ในอนาคต
2. ภาษามนุษย์เป็นนามธรรม สามารถกล่าวถึงสภาวะที่เป็นจริงกับหลายสิ่งหลายอย่างได้ ทั้งในประเด็นที่
กว้าง กล่าวถึงโดยทั่วๆ ไป และในประเด็นใดประเด็นหนึ่งอย่างจาเพาะเจาะจง
3. ภาษามนุษย์ไม่มีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลระหว่างสัญลักษณ์กับสิ่งที่หมายถึง
17 | P a g e
4. ภาษามนุษย์เป็นอิสระจากสื่อ สามารถเข้าใจความหมายซึ่งกันและกันได้จากวิธีการสื่อสารที่แตกต่าง
กัน เช่น การสื่อสารข้อความเดียวกันด้วยวาจา และการสื่อสารด้วยการเขียน
5. ภาษามนุษย์สามารถผลิตประโยคใหม่ ๆ ออกมาได้ไม่รู้จักจบสิ้น
6. ภาษามนุษย์มีพลัง ในการระบุถึงความหมายที่เราต้องการสื่อออกไปได้ทั้งสิ้น
การสื่อสาร (Communication) คือ การแลกเปลี่ยนความคิด ข้อมูล และอื่น ๆ ระหว่างผู้สื่อสารตั้งแต่
2 คนขึ้นไป1
ประกอบด้วย เรื่องราวหรือสารที่ต้องการสื่อ (message) ผู้ส่งสาร (sender) ผู้รับสาร (receiver)
โดยผ่านสื่อ (media) หรือ ช่องทาง (channel) ที่จะเชื่อมโยงสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารได้ โดยวัตถุประสงค์
ของการสื่อสาร ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร และผู้รับสารแต่ละคน ซึ่งอาจเหมือนกัน หรือแตกต่างกันก็ได้2
ตัวอย่างเช่น
1. เพื่อแจ้งข้อมูล หรือข่าวสารให้ทราบ (Information)
2. เพื่อสอน ให้การศึกษา หรือถ่ายทอดความรู้ (Teaching or Education)
3. เพื่อสร้างความพึงพอใจ หรือให้ความบันเทิง (Entertaining)
4. เพื่อเสนอแนะหรือชักจูงใจให้คล้อยตาม (Persuasion)
5. เพื่อการเรียนรู้ของผู้รับสาร (Learning)
6. เพื่อการตัดสินใจกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง (Decision)
2. ภาษาทางด้านการแพทย์ (Medical Language)6
ความรู้ทางด้านการแพทย์ตะวันตกมีการบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยกรีก โดยหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุด ได้แก่ งาน
เขียนของฮิบโปเครติส (Hippocratic writing) เมื่อประมาณ 500 – 400 ปีก่อนคริสตศักราช ความรู้ทางด้าน
การแพทย์ และคาศัพท์ที่เกี่ยวกับโรคและอาการผิดปกติ จะถูกบันทึกไว้เป็นภาษากรีก ตัวอย่างเช่น dyspnoea
(หายใจลาบาก) หรือ diarrhoea (ท้องเสีย) เป็นต้น
สมัยต่อมาเป็นอาณาจักรโรมัน ในช่วงระยะแรก แพทย์ที่ให้การรักษาส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวกรีก
จึงยังคงถ่ายทอดความรู้ทางด้านการแพทย์เป็นภาษากรีก เช่น ผลงานของ Galen of Pergamum เมื่อประมาณปี
คริสตศตวรรษที่ 200 ต่อมาเริ่มมีการใช้ภาษาลาตินในงานเขียนทางด้านการแพทย์เพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างเช่น
ผลงานของ Aulus Cornelius Celsus ที่รวบรวมความรู้ทางการแพทย์ในสมัยกรีก จัดทาเป็น encyclopedia ที่มี
ชื่อว่า “De Medicina” ซึ่ง Celsus ประสบปัญหาในการแปลคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ที่เป็นภาษากรีก
ให้มีความหมายเทียบเท่ากันในภาษาลาติน เขาจึงได้แก้ปัญหาดังกล่าวด้วยวิธีหลัก ๆ 3 วิธี ได้แก่
1. นาคาศัพท์ภาษากรีกมาใช้ในประโยคที่เขียนเป็นภาษาลาตินโดยตรง ไม่มีการเปลียนแปลงรูปคา
2. นาคาศัพท์ภาษากรีกมาเปลี่ยนแปลงตัวสะกดโดยใช้ตัวอักษรในภาษาลาติน
3. แปลคาศัพท์ภาษากรีกเป็นภาษาลาตินโดยอาศัยรูปภาพจินตนาการของความหมายของคาศัพท์ภาษา
กรีกเหล่านั้น ซึ่งเป็นวิธีที่สาคัญที่สุด ตัวอย่างเช่น “kynodontes” ในภาษากรีก แปลว่า ฟันของสุนัข ซึ่งเมื่อแปล
เป็นภาษาลาติน จะใช้คาว่า “dentes canini” เป็นต้น
18 | P a g e
ในยุโรปสมัยยุคกลาง (Middle Ages) มีการแปลผลงานจากภาษากรีกเป็นภาษาอารบิก ต่อมาประมาณ
ศตวรรษที่ 15 ในสมัยยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (renaissance) มีการแปลผลงานเขียนด้านการแพทย์ จากเดิมที่
เป็นภาษากรีกและภาษาอารบิก เป็นภาษาลาตินอย่างกว้างขวาง ทั้ง Celsus’ De Medicina และ Latin edition
of Galen นอกจากนี้ยังมีผลงานเขียนอีกมากมาย เช่น ผลงานของ Versalius, Harvey และ Sydenham เป็นต้น
ซึ่งผลงานที่สาคัญเกือบทั้งหมดถูกตีพิมพ์เป็นภาษาลาติน แต่สาหรับคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ ยังคงมี
ปะปนกันทั้งคาศัพท์ภาษากรีก และคาศัพท์ภาษาลาติน จนกระทั่งถึงประมาณต้นศตวรรษที่ 19 เริ่มมีการใช้ภาษา
ประจาชาติ (National Medical Languages) ในงานเขียนวิชาการทางด้านการแพทย์ มาแทนที่การใช้ภาษา
ลาตินเดิม ตัวอย่างเช่น ในประเทศอังกฤษ “Commentarii” ของ William Heberden ได้รับการยอมรับว่าเป็น
ผลงานเขียนทางด้านการแพทย์ที่มีชื่อเสียงชิ้นสุดท้ายที่เป็นภาษาลาติน ตีพิมพ์เมื่อปีคริสตศักราช 1802
ในยุคสมัยที่ใช้ภาษาประจาชาติในงานเขียนวิชาการด้านการแพทย์นั้น ส่วนใหญ่จะมีการเผยแพร่ผลงาน
จากัดอยู่เฉพาะในแต่ละประเทศเท่านั้น แต่ถ้าต้องการสื่อสารผลงานระหว่างประเทศ จะใช้ภาษาที่สาคัญและ
แพร่หลาย ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาเยอรมัน ซึ่งคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ในแต่ละ
ภาษามีความใกล้เคียงกัน เพราะวิวัฒนาการรากศัพท์มาจาก medical Latin เช่นเดียวกัน แต่ก็มีลักษณะที่
แตกต่างกันอยู่บ้าง ได้แก่
1. ภาษาในตระกูล Germanic languages ได้แก่ ภาษา German, ภาษา Dutch, ภาษา Scandinavian
จะมีการใช้คาศัพท์ทางด้านกายวิภาค (anatomical terms) และชื่อโรค (disease names) จากภาษาลาติน
โดยตรง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงส่วนท้ายของคาศัพท์ เช่น nervus musculocutaneous, ulcus ventriculi เป็น
ต้น
2. ภาษาในตระกูล Romance languages ได้แก่ ภาษา French, ภาษา Italian จะมีการเปลี่ยนแปลง
คาศัพท์ตามกฎเกณฑ์ของแต่ละภาษา เรียกว่า “naturalized” เช่น le nerf musculo-cutané, ulcère
gastrique ในภาษาฝรั่งเศส หรือ il nervo musculocutaneo, ulcera gastrica ในภาษาอิตาเลี่ยน เป็นต้น
สาหรับภาษาอังกฤษ อยู่ในตระกูล Germanic languages แต่ก็มีคาศัพท์จานวนมากที่ได้รับถ่ายทอดมา
จากภาษาในตระกูล Romance จึงมีการเปลี่ยนแปลงคาศัพท์ (naturalization) และนิยมวางคาคุณศัพท์ไว้หน้า
คานาม ได้แก่ musculocutaneous nerve และ gastric ulcer เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม หลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น พร้อมที่จะมีข้อยกเว้นอยู่ตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น แพทย์ที่ใช้
ภาษาอังกฤษ ยอมรับและใช้คาศัพท์บางคาที่มาจากภาษาลาตินโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น medulla
oblongata หรือ diabetes mellitus เป็นต้น อีกตัวอย่างหนึ่ง ได้แก่ แพทย์ที่ใช้ภาษาเยอรมัน อาจมีการ
เปลี่ยนแปลงคาศัพท์ (naturalization) เช่น ใช้ “Coronararterien” แทนการใช้ “arteriae coronariae” หรือมี
การแปลคาศัพท์เป็นภาษาเยอรมัน เช่น ใช้ “Magengeschwür” แทนการใช้ “ulcus ventriculi” เป็นต้น
ในปัจจุบัน มีการใช้ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ และใช้ในการเขียน
ผลงานวิชาการทางด้านการแพทย์อย่างกว้างขวาง ประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี มีการค้นพบโรค
การวินิจฉัย หรือการรักษาแบบใหม่อยู่ตลอดเวลา ทาให้ต้องมีการบัญญัติคาศัพท์ใหม่ทางการแพทย์เพิ่มขึ้นตามไป
19 | P a g e
ด้วย ซึ่งแต่เดิม คาศัพท์ใหม่ที่บัญญัติขึ้นนี้อาจเกิดจากรากศัพท์ภาษากรีกหรือภาษาลาติน แต่ในปัจจุบัน อาจใช้
คาศัพท์จากภาษาอังกฤษโดยตรงเป็นส่วนหนึ่งของคาศัพท์ใหม่ทางด้านการแพทย์ เช่น bypass, clearance,
screening, scanning เป็นต้น ซึ่งแพทย์ที่ใช้ภาษาอื่นๆ นอกเหนือจากภาษาอังกฤษในการสื่อสาร จึงมีทางเลือก
ในการใช้คาศัพท์ใหม่ดังกล่าว โดยอาจใช้คาศัพท์นั้นจากภาษาอังกฤษโดยตรง หรือ ใช้คาศัพท์ที่ผ่านกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงคาศัพท์ (naturalization) แล้ว หรือ บัญญัติคาศัพท์ใหม่ในภาษาของตนจากการแปลความหมายที่
เทียบเคียงกัน
3. ศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ (Medical Terminology)4,5,7
ศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ (Medical Terminology) สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทตามที่มาของ
คาศัพท์ ได้แก่
1. Greek and Latin word parts เป็นศัพท์ที่สร้างจากรากศัพท์ หรือส่วนประกอบของคาศัพท์ใน
ภาษากรีก และภาษาลาติน เช่น Osteoarthritis มาจาก Oste (bone) – o (combining vowel) – arthr (joint)
– itis (inflammation) เป็นต้น ซึ่งส่วนประกอบของคาศัพท์จะประกอบด้วย
- Word root (รากศัพท์): “cardi (heart)”, “gastr (stomach)”, “neur (nerve)”, “hepat (liver)”
- Suffix (อาคม): “-oma (tumor)”, “-logy (the study of)”, “-megaly (enlargement”,
“-itis (inflammation)”
- Prefix (อุปสรรค): “neo- (new)”, “hyper- (more than normal)”, “hypo- (below)”,
“poly- (many)”
- Combining vowel (สระเชื่อมคา): “- o -”
นอกจากนี้ คาศัพท์บางคาอาจมีที่มาจาก
- คาเดิมในภาษากรีก หรือลาตินที่นามาใช้โดยตรง เช่น nucleus (Latin), thorax (Greek)
- คาในภาษากรีก หรือลาตินที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคา เช่น artery (Latin – arteria), muscle (Latin –
musculus), phobia (Greek – phobos), Sperm (Greek – sperma)
- คาในภาษาต่างประเทศโบราณอื่น เช่น heart (Old English – heorte), physician (French –
physicien)
2. Eponyms เป็นศัพท์ที่มาจากชื่อของบุคคลที่ค้นพบ, เทคโนโลยีที่ประดิษฐ์หรือสร้างสรรค์ หรือจาก
ภาษาต่างประเทศปัจจุบัน เช่น Stevens Johnson syndromes, Grave’s disease เป็นต้น
3 Acronyms เป็นศัพท์ที่ย่อมาจากตัวแรกของชื่อที่ประกอบด้วยคาหลายคา เช่น AIDS, PET scan,
CAT scan เป็นต้น
20 | P a g e
3.1 Human Body Systems and Medical Specialties
- Gastrointestinal system – Gastroenterology [“intestin-” (Latin), “enter-” (Greek)]
- Respiratory system – Pulmonology
- Cardiovascular system – Cardiology [“vascul-, vas-” (Latin), “angi-” (Greek)]
[“cor-” (Latin), “cardi-” (Greek)]
- Blood and lymphatic system – Hematology and Immunology
- Integumentary system – Dermatology [“integument-” (Latin), “dermat-” (Greek)]
- Muscular and skeletal system – Orthopedics
- Nervous system – Neurology [“nerv-” (Latin), “neur-” (Greek)]
- Urinary system – Urology
- Male genital and reproductive system – Male Reproductive Medicine
- Female genital and reproductive system – Gynecology and Obstetrics
- Endocrine system – Endocrinology
- Eyes – Ophthalmology
- Ears, nose, and throat (ENT) system – Otolaryngology
3.2 Other Medical Specialties
- Neonatology and Pediatrics
- Geriatrics
- Psychiatry
- Oncology
- Radiology and Nuclear Medicine
- Pathology, Laboratory Medicine, Forensic Medicine
- Pharmacology
- Dietetics
- Community Medicine, Family Medicine, Occupational Medicine, Preventive Medicine
3.3 Disease Categories
- Congenital: caused by an abnormality during fetus development or during the birth
process
- Degenerative: caused by the progressive destruction of cells due to disease or the
aging process
- Environmental: caused by exposure to external substances
- Hereditary: caused by inherited mutation of genetic material
- Iatrogenic: caused by medicine or treatment given to the patient
21 | P a g e
- Idiopathic: no identifiable cause
- Infectious: caused by a pathogen
- Neoplastic: caused by the growth of transformed cells
- Nosocomial: caused by exposure to infection during hospital stay
- Nutritional: caused by insufficient or excess amounts of food or nutrients
3.4 Anatomy and Physiology
- Myocardium:
“my-” (muscle) – o – “cardi-” (heart) – “-um” (a structure)
- Vasoconstrition:
“vas-” (blood vessel) – o – “constrict-” (narrowed) – “-ion” (action)
3.5 Symptoms, Signs, and Diseases
- Edema:
from a Greek word meaning a swelling
- Angina pectoris:
“angina” (Latin) = sore throat, “pectoris” (Latin) = of the chest
- Myocardial infarction (MI):
“my-” (muscle) – o – “cardi-” (heart) – “-al” (pertaining to)
“infarct-” (area of dead tissue) – “-ion” (condition or action)
3.6 Diagnostic Procedures
- Electrocardiography (ECG):
“electr-” (electricity) – o – “cardi-” (heart) – o – “-graphy” (process of recording)
- Echocardiogram:
“ech-” (echo or sound wave) – o – “cardi- (heart) – o – “-gram” (a record or
picture)
3.7 Medical and Surgical Procedures
- Auscultation: “auscult-” (listening) – “-ation” (a process, being or having)
- Stethoscope: “steth-” (chest) – o – “-scope” (instrument used to examine)
- CABG: Coronary artery bypass graft
- PTCA: Percutaneous transluminal coronary angioplasty
(through skin) + (through the lumen of vessel) + (coronary artery) + (process of
reshaping by surgery)
22 | P a g e
3.8 Medications
- Antihypertensive drug:
“anti-” (against) – “hyper-” (above, more than normal) – “tens-” (pressure,
tension) – “-ive” (pertaining to)
- ACE Inhibitor drugs:
“Angiotensin converting enzyme inhibitor” [blocking an enzyme that converts
angiotensin (“angi-” (blood vessel) – o – “tens-” (pressure, tension) – “-in” (a substance)]
3.9 Abbreviation
- CCU: Coronary Care Unit
- CPR: Cardiopulmonary resuscitation
- LVH: Left ventricular hypertrophy
3.10 Pronunciation
- Appendectomy: ap-pen-DEK-toh-mee
- Appendicitis: ap-pen-dih-SY-tis
- Neural: NYOOR-al
- Neurology: nyoo-RAWL-oh-jee
- Neuropathy: nyoo-RAWP-ah-thee
- Pneumonia: nyoo-MOH-nee-ah
3.11 Medical Dictionary
- Information on a medical dictionary: meanings, pronunciation, synonyms, derivations,
related terms, illustrations, useful appendices (abbreviations, measurements, clinical tests,
drugs, diagnosis, etc.)
- Dorland’s Medical Dictionary, 32nd
edition, Saunders, 2011.
- Stedman’s Medical Dictionary for the Health Professions and Nursing, 28th
edition,
Lippincott Williams & Wilkins, 2005.
- Mosby’s Medical Dictionary, 8th
edition, Mosby, 2008.
3.12 Non-professional terminology (Lay term)
ในการสื่อสารระหว่างผู้ปุวย และญาติของผู้ปุวย คาศัพท์ทางการแพทย์บางคาอาจจะต้องปรับให้
เหมาะสมกับระดับความรู้ทางด้านการแพทย์ของผู้ปุวย โดยใช้คาศัพท์ที่เป็นที่เข้าใจของประชาชนโดยทั่วไป หรือที่
เรียกว่า Lay term ตัวอย่างเช่น
- Cardiac arrhythmia: palpitations
- Analgesics: pain killers
- Hematemesis: vomiting blood
23 | P a g e
- Myocardial infarction: heart attack
- Dyspnea: breathlessness
(Please read Turley (2007) for more information on medical terminology.)
4. การใช้ภาษาต่างประเทศในการประกอบวิชาชีพแพทย์ (Foreign Language Use in Medical Practice)
ในการประกอบวิชาชีพแพทย์นั้น แพทย์ผู้รักษาจะต้องมีการสื่อสารกับผู้ปุวยหรือญาติของผู้ปุวย ที่มารับ
บริการการรักษา สื่อสารระหว่างเพื่อนร่วมวิชาชีพแพทย์ รวมทั้งสื่อสารกับบุคลากรทางด้านการแพทย์อื่นที่มีส่วน
ร่วมในการรักษาผู้ปุวย ทั้งนี้ หากมีบุคคลหนึ่งบุคคลใดดังกล่าวเป็นชาวต่างประเทศ และไม่มีความรู้หรือทักษะใน
การสื่อสารด้วยภาษาไทย จาเป็นต้องใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารระหว่างกัน เช่น ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษา
ฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน หรือภาษาอื่นใดก็ตาม ที่แต่ละบุคคลที่จะสื่อสารได้อย่างเข้าใจ ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
ไม่ว่าจะใช้ภาษาต่างประเทศใดก็ตามในการสื่อสาร สิ่งสาคัญที่จะต้องทราบ และเรียนรู้ในบริบทของการ
ประกอบวิชาชีพแพทย์ ได้แก่ การใช้ภาษาในหัวข้อ หรือสถานการณ์ ดังต่อไปนี้
1. การกล่าวคาทักทาย และแนะนาตัว (Greeting and Introduction)
2. การสัมภาษณ์ และซักประวัติผู้ปุวย (Patient interview and History taking)
3. การตรวจร่างกาย (Physical examination)
4. การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory investigation and Intervention)
5. การวินิจฉัยโรค และการอภิปรายร่วมระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ (Discussion for Diagnosis)
6. การแจ้งผลการวินิจฉัยโรค อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับโรคและความผิดปกติของผู้ปุวย (Explanation)
7. การวางแผนการรักษา (Planning for treatment)
8. การให้คาแนะนาการปฏิบัติตัว (Giving advice) และการพยากรณ์โรค (Prognosis)
9. การส่งต่อปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ (Referring for consultation)
10. การนัดหมายติดตามผลการตรวจรักษา (Appointment for follow up treatment)
11. การอ่านบทความ หรือตาราวิชาการ (Academic Reading)
12. การเขียนรายงานผู้ปุวย รายงานผลการวิจัย บทความทางวิชาการ (Academic Writing)
13. การนาเสนอเคสผู้ปุวย การนาเสนอผลงานทางวิชาการ (Presentation)
เอกสารอ้างอิงและหนังสืออ่านเพิ่มเติม (References and Further readings)
1. ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จากัด
2. สมชัย ศรีนอก และ เกรียงศักดิ์ พลอยแสง (บรรณาธิการ). (2552). ภาษากับการสื่อสาร (Language and
Communication) (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
3. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์. (2552). ปรัชญาภาษา. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
24 | P a g e
4. Brooks, M. L., Brooks, D. L. (2010). Basic Medical Language (3rd
ed.). Missouri : Mosby
Elsevier.
5. Turley, S. M. (2007). Medical Language. New Jersey : Pearson Education.
6. Wuff, H.R. (2004). The language of medicine. Journal of the Royal Society of Medicine.
97:187-188.
7. Cohen, B.J. (2011). Medical Terminology: An Illustrated Guide (6th
ed.). Philadelphia:
Lippincott Williams & Wilkins.
8. The U.S. National Library of Medicine. MedlinePlus: Understanding Medical Words: A
Tutorial from the National Library of Medicine. Website:
http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/medicalwords.html
25 | P a g e
26 | P a g e
27 | P a g e
28 | P a g e
29 | P a g e
30 | P a g e
31 | P a g e
32 | P a g e
33 | P a g e
แผนการสอน
รหัสวิชา 499508 รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ 3 (2-2-5) ปีการศึกษา 2555
หัวข้อเรื่อง การสัมภาษณ์ผู้ปุวยและการซักประวัติ
(Patient Interview and History Taking)
ชื่ออาจารย์ผู้สอน นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล
อาจารย์วิทยากรพิเศษ Mr. Richard Michael Glover คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วัตถุประสงค์ (Objectives)
1. เพื่อให้นิสิตทราบคาศัพท์เกี่ยวกับอาการ ความผิดปกติ และโรคประจาตัวของผู้ปุวย
2. เพื่อให้นิสิตทราบตัวอย่างประโยคที่ใช้ในการแนะนาตัว การสัมภาษณ์ประวัติ และซักประวัติอาการ
ผิดปกติที่นาผู้ปุวยมาโรงพยาบาล, ประวัติการเจ็บปุวยในอดีต, ประวัติการเจ็บปุวยในครอบครัว, ประวัติการดื่ม
สุรา การใช้สารเสพติด การสูบบุหรี่ และประวัติเกี่ยวกับเพศสัมพันธุ์ รวมทั้งการซักอาการผิดปกติตามระบบของ
ร่างกาย
3. เพื่อให้นิสิตทราบหลักการ และได้ฝึกทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการสัมภาษณ์
และซักประวัติผู้ปุวย
หัวข้อการเรียนรู้ (Topics)
1. คาศัพท์เกี่ยวกับอาการ ความผิดปกติ และโรคประจาตัวของผู้ปุวย
2. ตัวอย่างประโยคที่ใช้ในการแนะนาตัว การสัมภาษณ์ประวัติ และซักประวัติอาการผิดปกติที่นาผู้ปุวย
มาโรงพยาบาล, ประวัติการเจ็บปุวยในอดีต, ประวัติการเจ็บปุวยในครอบครัว, ประวัติการดื่มสุรา การใช้สารเสพ
ติด การสูบบุหรี่ และประวัติเกี่ยวกับเพศสัมพันธุ์ รวมทั้งการซักอาการผิดปกติตามระบบของร่างกาย
3. หลักการ และทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการสัมภาษณ์และซักประวัติผู้ปุวย
กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning activities)
ภาคบรรยายเชิงปฏิบัติการ 360 นาที (6 คาบการเรียนการสอน) ประกอบด้วย
- นาเข้าสู่บทเรียน 15 นาที
- บรรยายเนื้อหาสาคัญและศึกษาตัวอย่างจาก VDO 2.5 ชั่วโมง
- ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์สมมติ 3 ชั่วโมง
- ซักถาม และตอบข้อสงสัย 15 นาที
สื่อการเรียนการสอน (Teaching media)
1. เอกสารประกอบการสอน และ powerpoint presentation
2. VDO presentation “Appropriate and Inappropriate manner of History taking”
34 | P a g e
การวัดและประเมินผล (Assessment)
1. Listening comprehension: Short answer questions 15 ข้อ (25 คะแนน, คิดเป็น 5%)
2. Role playing: ประเมินโดยใช้ Rubric score เป็นรายบุคคล (16 คะแนน, คิดเป็น 10%)
เนื้อหาสาระ (Content)
1. อาการ ความผิดปกติ และโรคประจาตัวของผู้ป่วย
- Pain - Fever - Dizziness
- Nausea - Weakness - Shortness of breath
- Vomiting - Depressed mood - Joint pain
- Cough - Diet and Appetite - Weight loss and gain
- Headache - Numbness - Loss of conscious
- Bowel symptoms: abdominal pain, constipation, diarrhea, GI bleeding
- Urinary symptoms: dysuria, hematuria, anuria
- Bleeding per vagina, abnormal vaginal discharge
2. ตัวอย่างประโยคที่ใช้ในกระบวนการสัมภาษณ์ และซักประวัติผู้ป่วย
2.1 Greeting and Introduction
- Good morning / afternoon / evening + Mr./Ms. + patient’s last name
- I’m Dr. ……………. . / My name is Dr. …………… .
- I’m a pediatrician. / I’m an intern. / I’m a medical student.
- Please have a seat. / Please sit down.
2.2 Asking for chief complaint
- What’s brought you to the hospital today?
- What can I do for you?
- What seems to be the problem?
- Could you tell me what brings you here today?
- What is your concern today?
- How can I help you today?
2.3 History of present illness and detail of present symptoms
- Where does it hurt? / Show me where it hurts.
- Which part of your head is affected?
- Can you describe the pain? / What’s the pain like? / What kind of pain is it?
- How bad is it?
35 | P a g e
- How long does the pain last?
- Does it go anywhere else?
- When do they start? / When do they stop?
- Does anything bring them on?
- How often do you get them?
- Is there anything that makes them better? / worse?
- Does anything make them better? / worse?
- Is there anything else you feel at the same time? / Do you have any other
problems related to that?
- Have you had anything like this before?
2.4 Past medical history (General health, underlying disease, previous illness,
history of operation, history of accident and trauma, history of allergy and
medication)
- Have you had this problem or anything similar before?
- Have you been hospitalized before?
- Have you had any surgeries before?
- Have you had any accidents or injuries before?
- Do you have any allergies?
- Are you taking any medications, vitamins, over-the-counter drugs?
2.5 Family history
- Are your parents alive? Are they in good health?
- What did your mother/father die of?
- Does anyone in your family have the same problem or anything similar?
- And your brothers or sisters, are they in good health?
2.6 Personal history (age, occupation, marital status) and sensitive questions
(alcohol, drug abuse, smoking, sexual history)
- What type of work do you do?
- Are you married? Do you have children?
- Do you smoke?, How many packs a day?, How long have you been smoked?
- Do you drink alcohol?, What do you drink?, How much do you drink per week?
- Do you use any drugs such as marijuana, cocaine? How often do you use them?
- I would like to ask you some questions about your sexual health and practice.
- Are you sexually active?, Do you use condoms or other contraceptives?
36 | P a g e
- Have you ever had a sexually transmitted disease?
2.7 Review of systems (HEENT, Cardiovascular, Respiratory, Gastrointestinal, Urinary,
Nervous, Musculoskeletal, Endocrine)
Closed questions
- Do you have any trouble / problem with your …. ?
- Do you have any difficulty in …. ?
- Have you ever had ….. ? / Have you ever experienced …. ?
- Is there any change in ……. ? / trouble with …… ? / problem with …… ?
Opened questions
- How’s your ….. ? / How about your ……. ?
- What’s your …….. like?
3. หลักการ และทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการสัมภาษณ์และซักประวัติผู้ป่วย4
3.1 Factors which influence doctor-patient communication
1. Patient-related factors
- Physical symptoms: pain, ability to speak, consciousness, etc.
- Psychological factors related to illness: anxiety, depression, etc.
- Previous experience of medical care
- Cultural beliefs, attitudes, habits
- Current experience of medical care
2. Doctor-related factors
- Personality: outgoing, friendly, isolate, etc.
- Physical factors: illness, unhealthy, etc.
- Psychological factors: anxiety, irritable mood, etc.
- Self-confidence in ability to communicate in other languages
- Training in communication skills
3. The setting of the interview
- Privacy
- Comfortable surroundings
- An appropriate seating arrangement
3.2 General communication skills
- วัตถุประสงค์ของทักษะในการสื่อสาร คือ การคงไว้ซึ่งการสื่อสารระหว่างกัน (maintain
communication) และปูองกันการสื่อสารล้มเหลว (communication breakdown)
37 | P a g e
- 5 องค์ประกอบสาคัญของการสื่อสารที่ต้องคานึงถึง ได้แก่
1. วัจนภาษา (verbal communication)
2. อวัจนภาษา (non-verbal communication)
3. น้าเสียงในการสนทนา (voice management)
4. การฟังอย่างตั้งใจ (active listening)
5. ความแตกต่างทางวัฒนธรรม (cultural awareness)
3.3 Guidelines for conducting an interview
3.3.1 Beginning the interview: Receiving a patient
- Greet the patient and make him/her feel relaxed and comfortable
- Introduce yourself and your role
- Asking for the patient’s chief complaint as an opening statement
- Set the agenda for the interview
3.3.2 The main part of the interview:
- Present illness
- Past medical history
- Family history
- Personal history or social history
- Review of systems
3.3.3 Ending the interview:
- Conclusion of the interview, emphasize the important and relevant
parts of the patient’s history, and proceed to physical examination
เอกสารอ้างอิงและหนังสืออ่านเพิ่มเติม (References and Further readings)
1. Glendinning E.H. and Howard R., “Professional English in Use Medicine”, Cambridge:
Cambridge University Press, 2007, p. 102-107, 144.
2. Glendinning E.H. and Holmström B.A.S., “English in Medicine, Third edition”, Cambridge:
Cambridge University Press, 2005, p. 6-8.
3. Le T., Bhushan V., Sheikh-Ali M., Shahin F.A., “First Aid for the USMLE STEP2 CS, Third
edition” McGraw-Hill Education (Asia), 2010, p.42-53.
4. Lloyd M. and Bor R., “Communication Skills for Medicine, Third edition”, London:
Churchill Livingstone Elsevier, 2009, p. 9-48.
5. กิติพล นาควิโรจน์, นายแพทย์ และ พงษ์นุชนาฎ บาราบปฏิปักษ์, รองศาสตราจารย์., “English Handbook
for Doctors”, กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551, หน้า 1-10.
38 | P a g e
39 | P a g e
40 | P a g e
41 | P a g e
42 | P a g e
43 | P a g e
44 | P a g e
แผนการสอน
รหัสวิชา 499508 รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ 3 (2-2-5) ปีการศึกษา 2555
หัวข้อเรื่อง การตรวจร่างกาย
(Physical Examination)
ชื่ออาจารย์ผู้สอน นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล
อาจารย์วิทยากรพิเศษ Mr. Richard Michael Glover คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วัตถุประสงค์ (Objectives)
1. เพื่อให้นิสิตทราบคาศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะของร่างกาย, เครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการตรวจร่างกาย
2. เพื่อให้นิสิตทราบตัวอย่างประโยคที่ใช้ในการให้คาแนะนา, ขออนุญาต, คาสั่ง, ขอร้อง เพื่อให้ผู้ปุวย
ให้ความร่วมมือปฏิบัติตามกระบวนการตรวจร่างกายของแพทย์
3. เพื่อให้นิสิตได้ฝึกทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการตรวจร่างกายผู้ปุวย
หัวข้อการเรียนรู้ (Topics)
1. คาศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะของร่างกาย และเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการตรวจร่างกาย
2. ตัวอย่างประโยคที่ใช้ในการให้คาแนะนา, ขออนุญาต, คาสั่ง, ขอร้อง เพื่อให้ผู้ปุวยให้ความร่วมมือ
ปฏิบัติตามกระบวนการตรวจร่างกายของแพทย์
กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning activities)
ภาคบรรยายเชิงปฏิบัติการ 360 นาที (6 คาบการเรียนการสอน) ประกอบด้วย
- นาเข้าสู่บทเรียน 15 นาที
- บรรยายเนื้อหาสาคัญและศึกษาตัวอย่างจาก VDO 2.5 ชั่วโมง
- ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์สมมติ 3 ชั่วโมง
- ซักถาม และตอบข้อสงสัย 15 นาที
สื่อการเรียนการสอน (Teaching media)
1. เอกสารประกอบการสอน และ powerpoint presentation
2. VDO presentation “Appropriate and Inappropriate manner of physical examination”
การวัดและประเมินผล (Assessment)
1. Role playing: ประเมินโดยใช้ Rubric score เป็นรายบุคคล (16 คะแนน, คิดเป็น 10%)
45 | P a g e
เนื้อหาสาระ (Content)
1. คาศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะของร่างกาย และเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการตรวจร่างกาย
1.1 Parts of the body1
(page 12-15, page 130)
1.2 Verbs used in instructions1
(page 145)
1.3 Basic instruments used in physical examination
- A stethoscope: bell, diaphragm, tubing, earpieces
- An ophthalmoscope
- An otoscope, tuning fork
- A sphygmomanometer: cuff, pump or hand bulb, valve, gauge
- A reflex hammer or a tendon hammer
1.4 Techniques for physical examination
- ดู (inspection)
- ฟัง (Auscultation)
- คลา (Palpation)
- เคาะ (Percussion)
2. ตัวอย่างประโยคที่ใช้ในกระบวนการตรวจร่างกายของแพทย์1
2.1 ขั้นตอนในการตรวจร่างกาย (Steps in physical examination)
2.1 ก่อนการตรวจ (Before taking physical examination)
- Asking for permission
- Explaining procedure
- Reassure the patients
- Put the patient at ease and comfortable
- Maintain the patient’s trust and respect the patient’s sense of dignity
- Wash your hands and warm them
2.2 ระหว่างการตรวจ (During the procedure)
- Giving instructions
- Keep the patient informed of what you are doing
- Assure the patient if he/she follows the instructions correctly
2.3 เมื่อเสร็จสิ้นการตรวจ (At the end of the physical examination)
- Tell the patient when the exam is finished
- Sharing some of your findings
- Plan for further investigation
46 | P a g e
2.2 ตัวอย่างประโยคสนทนา
2.2.1 Asking for permission
- Do you know what we’re going to do this morning?
- I’m going to examine your …… to find out what’s causing the problem.
- What we’re going to do is ….. / What happens is that …..
- Are you ready?
- OK?
2.2.2 Giving Instructions
- I’ll ask you to …..
- Could you lie on the couch? / Could you just ….. ? /
- If you could just …..
- What I’d like to do is to examine you standing up.
2.2.3 Talking through the procedure
- You might feel a little bit of discomfort. Tell me if it hurt.
- This might hurt a little bit but I’ll be quick.
- I’m just going to …, Then, I’ll …
- It won’t take long.
- Ok, that’s it. All over.
2.2.4 Sharing your findings with the patients
- Well, I’m fairly certain you’ve got a …
- One possibility is it could be what we call …
- I haven’t found anything to suggest any problems.
2.2.5 Complete physical examination
- Weight, height, vital signs
- HEENT (Heat-Eyes-Ears-Nose-Throat)
- Chest (Heart and Lungs)
- Abdomen
- Arms, legs and movement
- Private organs (both male and female)
- Mental status
47 | P a g e
เอกสารอ้างอิงและหนังสืออ่านเพิ่มเติม (References and Further readings)
1. Glendinning E.H. and Howard R., “Professional English in Use Medicine”, Cambridge:
Cambridge University Press, 2007.
2. Glendinning E.H. and Holmström B.A.S., “English in Medicine, Third edition”, Cambridge:
Cambridge University Press, 2005.
3. Le T., Bhushan V., Sheikh-Ali M., Shahin F.A., “First Aid for the USMLE STEP2 CS, Third
edition” McGraw-Hill Education (Asia), 2010, p.53-63.
4. กิติพล นาควิโรจน์, นายแพทย์ และ พงษ์นุชนาฎ บาราบปฏิปักษ์, รองศาสตราจารย์., “English Handbook
for Doctors”, กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551, หน้า 11-79.
48 | P a g e
49 | P a g e
50 | P a g e
51 | P a g e
52 | P a g e
53 | P a g e
54 | P a g e
55 | P a g e
56 | P a g e
57 | P a g e
58 | P a g e
แผนการสอน
รหัสวิชา 499508 รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ 3 (2-2-5) ปีการศึกษา 2555
หัวข้อเรื่อง การอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยโรค และการอธิบายผู้ปุวย
(Discussion for Diagnosis and Explanation)
ชื่ออาจารย์ผู้สอน นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล
วัตถุประสงค์ (Objectives)
1. เพื่อให้นิสิตทราบหลักการ และตัวอย่างการใช้ภาษาอังกฤษในระหว่างแพทย์ผู้ร่วมงานด้วยกัน การ
อภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยและการเสนอความคิดเห็น การนาเสนอเคสผู้ปุวยในที่ประชุมแพทย์
2. เพื่อให้นิสิตทราบหลักการ และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารกับผู้ปุวย และญาติ
ของผู้ปุวย เกี่ยวกับผลการตรวจวินิจฉัยโรค, การวางแผนการรักษา, การส่งต่อผู้ปุวย, การแจ้งข่าวร้าย, การให้
คาแนะนาการปฏิบัติตัว และการนัดหมายเพื่อตรวจติดตามผลการรักษา
หัวข้อการเรียนรู้ (Topics)
1. การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษระหว่างแพทย์ผู้ร่วมงาน
1.1 การเสนอความคิดเห็น และการอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัย
1.2 การนาเสนอเคสผู้ปุวยในที่ประชุมแพทย์
2. การติดต่อสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับผู้ปุวย และญาติของผู้ปุวยในหัวข้อต่อไปนี้
2.1 ผลการตรวจวินิจฉัยโรค
2.2 การแจ้งข่าวร้าย
2.3 การวางแผนการรักษา
2.4 การให้คาแนะนาการปฏิบัติตัวในการดูแลรักษา และพยากรณ์โรค
2.5 คาถามเพิ่มเติม และการนัดหมายเพื่อตรวจติดตามผลการรักษา
กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning activities)
ภาคบรรยายเชิงปฏิบัติการ 180 นาที (3 คาบการเรียนการสอน) ประกอบด้วย
- นาเข้าสู่บทเรียน 15 นาที
- บรรยายและฝึกปฏิบัติในสถานการณ์สมมติ 150 นาที
- ซักถาม และตอบข้อสงสัย 15 นาที
สื่อการเรียนการสอน (Teaching media)
เอกสารประกอบการสอน และ powerpoint presentation
59 | P a g e
การวัดและประเมินผล (Assessment)
1. Role playing: ประเมินโดยใช้ Rubric score เป็นรายบุคคล (16 คะแนน, คิดเป็น 10%)
เนื้อหาสาระ (Content)
1. การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษระหว่างแพทย์ผู้ร่วมงาน
1.1 การเสนอความคิดเห็น และการอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัย1
Uncertain Fairly certain Certain
Yes might
could
may
seems
probably
likely
is
must
No possibly
a possibility
unlikely can’t
definitely not
exclude
rule out
ตัวอย่าง
- The patient might have appendicitis.
- Myocardial infarction is a possibility.
- After physical examination, he seems to have rheumatoid arthritis.
- There is no neck stiffness, It’s unlikely that he’s got meningitis.
- From CT, he can’t have a space-occupying lesion.
- Normal MRI scan excludes a parenchymal tumor.
- From the biopsy report, she must have an intraductal carcinoma of the breast.
1.2 การนาเสนอเคสผู้ป่วยในที่ประชุมแพทย์2
ในการนาเสนอเคสผู้ปุวยในที่ประชุมแพทย์ เพื่ออภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยโรค และแผนการ
รักษานั้น แพทย์ผู้นาเสนอเคส สามารถดาเนินการเป็นขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. Introduction
- I’d like to present + patient’s name
- First of all, I’ll begin by presenting + patient’s name
60 | P a g e
2. Patient’s age and occupation
- Mr. X is a 60-year-old bus driver.
- Ms. Y is a 50-year-old school teacher.
3. Presenting symptoms and duration
- He presented with a three-week history of pain in the legs.
- She presented with a two-day history of high grade fever.
4. Associated symptoms
- The pain was located around both ankles and had been increasing in intensity
and swelling.
- She also complained of coughing and having difficulty to breathe.
5. Past medical history
- There was no relevant previous medical history.
6. Social history
- He was divorced. He smoked 10 cigarettes a day for 30 years and drank about
one liter of whisky per week for more than 10 years.
7. Family history
- His father died of prostate cancer at the age of 75.
- His mother was alive and well.
8. Findings on examination
- On examination, there was + investigation findings
- Nothing was abnormal on the abdominal examination.
9. Investigation results
- Chest x-ray showed consolidation in the left lower lobe.
- EKG revealed no abnormal tracing and the level of cardiac enzymes were
within normal limit.
10. Diagnosis
- So we thought he had + name of the disease diagnosed
11. Treatment
- We gave him an intravenous antibiotic and + other treatments given
- He received + options of treatment prescribed
12. Outcome of treatment
- He responded to treatment well and was discharged home.
- His condition was not improved and he was transferred to the ICU.
61 | P a g e
2. การติดต่อสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับผู้ป่วย และญาติของผู้ป่วยในหัวข้อต่อไปนี้2
2.1 ผลการตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnosis)
ผู้ปุวยจะคาดหวังให้แพทย์ผู้รักษาอธิบายผลการตรวจวินิจฉัยโรคในประเด็นต่อไปนี้
- สาเหตุของโรค และ ความเจ็บปุวยเกิดขึ้นได้อย่างไร
- ความรุนแรงของโรค
- แนวทางการรักษาโรค และโอกาสที่จะหายเป็นปกติ
- คาแนะนาเพื่อการรักษาโรคและความเจ็บปุวย
โดยในการอธิบายผลการตรวจวินิจฉัยโรค จะต้องคานึงถึง
1. ความรู้พื้นฐานของผู้ปุวยเกี่ยวกับโรค และปริมาณรายละเอียดของข้อมูลการตรวจวินิจฉัยโรคที่ผู้ปุวย
ต้องการทราบ
2. เทคนิคในการช่วยให้ผู้ปุวยเข้าใจ และจดจารายละเอียดของข้อมูลผลการตรวจวินิจฉัยโรคที่แพทย์ได้
อธิบายได้อย่างถูกต้อง
3. พื้นฐานความคิด หรือความเชื่อของผู้ปุวยเกี่ยวกับโรค และการรักษาโรคนั้น ๆ เช่น ความเชื่อที่
เกี่ยวข้องกับศาสนา การรักษาโรคด้วยวิธีพื้นบ้าน หรือการแพทย์ทางเลือกอื่น เป็นต้น
4. คาถาม และข้อมูลอื่น ๆ เกี่ยวกับโรคที่ผู้ปุวยต้องการทราบเพิ่มเติม
แพทย์แจ้งผลการตรวจวินิจฉัยโรคให้ผู้ปุวย และญาติผู้ปุวยทราบ โดยใช้รูปประโยคดังต่อไปนี้
“Expression” + The name of condition or disease diagnosed
Useful expressions:
- You’re suffering from …
- You’ve developed …
- You have …
หลังจากนั้น ผู้ปุวยอาจจะสอบถามแพทย์เกี่ยวกับรายละเอียดของโรค หรือภาวะที่แพทย์ได้
วินิจฉัย โดย ถามถึงสาเหตุการเกิคความผิดปกติ (cause), กลไกการเกิดโรค (mechanism of disease),
รายละเอียดผลการตรวจร่างกาย (physical examination) และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (laboratory
investigation) เป็นต้น ซึ่งแพทย์สามารถให้คาอธิบายรายละเอียดข้อมูลดังกล่าว โดยคานึงถึงข้อแนะนาดังต่อไปนี้
1. อธิบายโดยใช้คาศัพท์ที่ผู้ปุวยสามารถเข้าใจได้ (lay terms) หลีกเลี่ยงการใช้คาศัพท์เทคนิคเฉพาะ
ทางด้านการแพทย์ (medical jargon)
ตัวอย่าง
- hematuria = blood in the urine
- myocardial infarction = heart attack
- dyspnea = difficult to breathe, breathlessness
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor
English for doctor

More Related Content

What's hot

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
PhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdf
PhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdfPhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdf
PhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdfPornnipaSingchanuson1
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลChainarong Maharak
 
คำแสดงความเป็นเจ้าของ
คำแสดงความเป็นเจ้าของคำแสดงความเป็นเจ้าของ
คำแสดงความเป็นเจ้าของkunkrukularb
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลRachanont Hiranwong
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายJariya Jaiyot
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54RMUTT
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
PhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdf
PhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdfPhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdf
PhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdf
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
คำแสดงความเป็นเจ้าของ
คำแสดงความเป็นเจ้าของคำแสดงความเป็นเจ้าของ
คำแสดงความเป็นเจ้าของ
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 

Similar to English for doctor

หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านWuttipong Karun
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-fullKruBeeKa
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1WC Triumph
 
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55ไชยยา มะณี
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6Nutsara Mukda
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55ไชยยา มะณี
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingA Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingSean Flores
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 

Similar to English for doctor (20)

หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingA Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
 
211 578-1-pb
211 578-1-pb211 578-1-pb
211 578-1-pb
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
Excellence In Otolaryngology
Excellence In OtolaryngologyExcellence In Otolaryngology
Excellence In Otolaryngology
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

English for doctor

  • 1. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ๔๙๙๕๐๘ ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ ๓ (๒-๒-๕) 499508 English for Medical Profession 3 (2-2-5) นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล หน่วยวิจัยเพื่อการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศทางการแพทย์ ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2. 2 | P a g e คานา เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา ภาษาอังกฤษ สาหรับวิชาชีพแพทย์ (English for Medical Profession) รหัส 499508 จานวน 3 หน่วยกิต สาหรับนิสิตใน หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 5 ปีการศึกษา 2555 จัดการเรียนการสอนที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย นเรศวร คณะแพทยศาสตร์ โดยเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วยรายละเอียดของรายวิชา (course syllabus) และ แผนการสอน (lesson plan) ในหัวข้อที่ผู้จัดทารับผิดชอบ ได้แก่ 1. ภาษาทางการแพทย์ และคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ (medical language and medical terminology) 2. การสัมภาษณ์ผู้ปุวยและการซักประวัติ (patient interview and history taking) 3. การตรวจร่างกาย (physical examination) 4. การอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยโรค และการอธิบายผู้ปุวย (discussion for diagnosis and explanation) 5. การศึกษาต่อต่างประเทศในระดับหลังปริญญา (postgraduate medical training in foreign countries) อนึ่ง เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ ใช้เป็นส่วนหนึ่งของผลงานทางวิชาการ เพื่อประกอบการขอ พิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ในระดับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชา แพทยศาสตรศึกษา (medical education) ด้านภาษาต่างประเทศทางการแพทย์ (foreign medical language) ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า นิสิตที่เรียนในรายวิชาดังกล่าวจะได้ใช้เป็นคู่มือสนับสนุนในการเรียนรู้ และ ช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางแผนไว้ หากมีข้อผิดพลาดประการใด หรือมีข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนาและปรับปรุง ขอได้โปรดแจ้งให้ผู้จัดทาทราบด้วย จะเป็นพระคุณยิ่ง นายแพทย์ ดร.ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล เมษายน 2556
  • 3. 3 | P a g e สารบัญ หน้า รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 5 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 6 หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 7 หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 7 หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 10 หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 12 หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 13 เอกสารประกอบการสอน 1. ภาษาทางการแพทย์ และคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ 15 (medical language and medical terminology) 2. การสัมภาษณ์ผู้ปุวยและการซักประวัติ (patient interview and history taking) 33 3. การตรวจร่างกาย (physical examination) 44 4. การอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยโรค และการอธิบายผู้ปุวย 58 (discussion for diagnosis and explanation) 5. การศึกษาต่อต่างประเทศในระดับหลังปริญญา 73 (postgraduate medical training in foreign countries) ภาคผนวก 83 1. เวบไซต์รายวิชาภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ 2. ผลการประเมินความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน ประจาปีการศึกษา 2555
  • 4. 4 | P a g e รายละเอียดของรายวิชา (Course syllabus)
  • 5. 5 | P a g e หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 499508 ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ English for Medical Profession 2. จานวนหน่วยกิต 3 (2 – 2 – 5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา 3.1 หลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต 3.2 ประเภทของรายวิชา วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 4. อาจารย์ที่รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน 4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา 4.1.1 นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล 4.1.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ดร. สุธาทิพย์ พงษ์เจริญ 4.2 อาจารย์ผู้สอน 4.2.1 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร. ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย 4.2.2 รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร. ชุมนุม พรหมขัติแก้ว 4.2.3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง สุวรรณี อุทัยแสงสุข 4.2.4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ดร. สุธาทิพย์ พงษ์เจริญ 4.2.5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ พีระพล วอง 4.2.6 พันเอก นายแพทย์ ดร. ทวีศักดิ์ นพเกษร 4.2.7 แพทย์หญิง นาตยา พิพัฒน์สัตยานุวงศ์ 4.2.8 แพทย์หญิง พัชรดา อมาตยกุล 4.2.9 แพทย์หญิง วัชรา พิจิตรศิริ 4.2.10 ดร. อภิชัย อภิชาตบุตร 4.2.11 นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล 4.3 อาจารย์วิทยากรพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษ 4.3.1 รองศาสตราจารย์ ดร. วัฒนา พัดเกตุ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 4.3.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อุษา พัดเกตุ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 4.3.3 Mr. Richard Michael Glover คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 6. 6 | P a g e 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 ชั้นปีที่ 5 (จานวน 3 สัปดาห์) 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2555 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารระหว่างแพทย์กับผู้ปุวย และระหว่างบุคลากรทาง การแพทย์ รวมทั้งฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน โดยใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อความหมาย เพื่อ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพ และการศึกษาต่อได้ในระดับสากล 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2555
  • 7. 7 | P a g e หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระหว่างแพทย์กับผู้ปุวย การแสดงบทบาทสมมติ ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ พื้นฐาน คาศัพท์ทางการแพทย์ การอ่าน การเขียนรายงานทางการแพทย์ และการเขียนรายงานการวิจัย English for communication with English speaking doctors and patients, role play, basic English grammar, medical terminology, reading and writing medical reports as well as research articles 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย (Lecture) จานวน 30 ชั่วโมง ฝึกปฏิบัติ (Practice) จานวน 30 ชั่วโมง การเรียนรู้โดยการกากับตนเอง (Self-directed learning) จานวน 75 ชั่วโมง 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล สามารถให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการหรือที่มีปัญหา) ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. ด้านความรู้ 1.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 1) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาทางการแพทย์ (Medical language) และคาศัพท์เฉพาะทางด้าน การแพทย์ (Medical terminology) 2) หลักการใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารกับผู้ปุวย และระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ใน สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ 3) หลักไวยากรณ์ การอ่าน การเขียน และการนาเสนอ รายงานผู้ปุวย ผลงานวิจัย หรือบทความทาง วิชาการทางด้านการแพทย์เป็นภาษาอังกฤษ 4) การใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการแพทย์ การสาธารณสุข และแนวทางการศึกษาต่อใน ต่างประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสาร
  • 8. 8 | P a g e 1.2 วิธีการสอน 1) การบรรยาย (Lecture) 2) การฝึกปฏิบัติ (Practice) 3) การกาหนดบทบาทสมมติ (Role play) 4) การอภิปรายกลุ่ม (Group discussion) 5) การเรียนรู้โดยการกากับตนเอง (Self-directed learning) 1.3 วิธีการประเมินผล 1) การสอบปรนัย และอัตนัย 2) การแสดงตามบทบาทสมมติ (Role play) 3) การประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย (Assignments) 2. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 2.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 1) ทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารกับผู้ปุวย และระหว่างบุคลากรทางด้านการแพทย์ใน สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานวิชาชีพ ได้แก่ การทักทายและการแนะนาตัว การซักประวัติ การ ตรวจร่างกาย การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัย การรักษาและให้คาแนะนา เป็นต้น 2) ทักษะในการเป็นผู้นา และการเป็นสมาชิกในการอภิปรายกลุ่ม 3) ความรับผิดชอบส่วนบุคคลในงานที่ได้รับมอบหมาย 4) ทักษะในการทางานเป็นทีม และความรับผิดชอบในงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย 2.2 วิธีการสอน 1) การฝึกปฏิบัติ (Practice) 2) การกาหนดบทบาทสมมติ (Role play) 3) การอภิปรายกลุ่ม (Group discussion) 4) การมอบหมายงานในความรับผิดชอบส่วนบุคคล และงานกลุ่ม (Assignments) 5) การเรียนรู้โดยการกากับตนเอง (Self-directed learning) 2.3 วิธีการประเมินผล 1) การแสดงตามบทบาทสมมติ (Role play) 2) การสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการกลุ่ม (Group discussion) 3) การประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย (Assignments) 4) การเข้าชั้นเรียน (Attention)
  • 9. 9 | P a g e 3. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 1) ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ทั้งทางด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน ในการติดต่อสื่อสารเพื่อการ ปฏิบัติงานวิชาชีพแพทย์ และการศึกษาต่อในระดับหลังปริญญา 2) ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูล จัดเตรียมรูปแบบ นาเสนอ ผลงาน สื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับสถานการณ์ 3.2 วิธีการสอน 1) การบรรยาย (Lecture) 2) การฝึกปฏิบัติ (Practice) 3) การกาหนดบทบาทสมมติ (Role play) 4) การอภิปรายกลุ่ม (Group discussion) 5) การมอบหมายงานในความรับผิดชอบส่วนบุคคล และงานกลุ่ม (Assignments) 6) การเรียนรู้โดยการกากับตนเอง (Self-directed learning) 3.3 วิธีการประเมินผล 1) การแสดงตามบทบาทสมมติ (Role play) 2) การนาเสนอรายงานวิจัย (Research presentation) 3) การสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการกลุ่ม (Group discussion) 4) การประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย (Assignments)
  • 10. 10 | P a g e หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน ลาดับที่ หัวข้อการสอน รูปแบบการสอน อาจารย์ผู้สอน จานวนชั่วโมง บรรยาย ฝึกปฏิบัติ SDL 1 Introduction to course Lecture Dr. Natapol 1 - - 2 Medical language and Medical terminology Lecture Dr. Natapol 3 - 5 3 Grammar and Academic Reading Lecture Dr. Usa 3 - 5 4 Grammar and Academic Writing Lecture Dr. Watana 3 - 5 5 Introduction to Research and Writing Lecture & practice Dr. Watana 3 3 5 6 Research articles in Health Sciences Lecture & practice Dr. Sutatip 1 2 5 7 Research oral presentation Lecture & practice Dr. Watana & Mr. Richard 1 2 5 8 Patient interview and History taking (1) Lecture Mr. Richard & clinicians 3 - 5 9 Patient interview and History taking (2) Practice Mr. Richard & clinicians - 3 5 10 Physical examination and Practice (1) Lecture Mr. Richard & clinicians 3 - 5 11 Physical examination and Practice (2) Practice Mr. Richard & clinicians - 3 5 12 Patient Medical Record and Operative note Lecture & practice Dr. Suwannee & Dr. Patcharada 1 2 5 13 Laboratory investigation and Intervention Lecture & practice Dr. Peerapon & Dr. Watchara 1 2 5 14 Discussion for Diagnosis and Explanation Lecture & practice Dr. Natapol 1 2 5 15 Health of the public Small group discussion Dr. Choomnoom - 3 - 16 Medical ethics Lecture Dr. Apichai 3 - 5 17 Research instruction, follow up and Presentation Lecture & Practice Prof. Supasit & Dr. Taweesak & others 2 5 5 18 Postgraduate medical training in foreign countries Lecture & Seminar Dr. Natapol & others 1 3 - รวมทั้งสิ้น 30 30 75
  • 11. 11 | P a g e 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนว่า ผ่าน – ไม่ผ่าน (Summative evaluation) จะจัดขึ้นในสัปดาห์ สุดท้ายของการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา โดยอาศัยเครื่องมือในการวัดผล ดังนี้ สัดส่วน(%) 1. ข้อสอบแบบปรนัย หรืออัตนัย : 25% - Listening comprehension (5%) - Academic reading (5%) - Academic writing (5%) - Medical terminology (5%) - Medical record (5%) 2. การแสดงตามบทบาทสมมติ (Role playing) : 30% - History taking and Physical examination (10%) - Laboratory investigation and Intervention (10%) - Discussion for diagnosis and Explanation (10%) 3. การนาเสนอรายงานวิจัย (Research presentation) 10% 4. การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย (Assignments) : 25% - Research paper in English (15%) - Operative note (5%) - Medical ethics (5%) 5. การสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการกลุ่ม (Small group discussion) 5% 6. การเข้าชั้นเรียน (Attention) 5% รวมทั้งสิ้น 100% เกณฑ์ในการตัดสินผลใช้วิธีอิงกลุ่ม หรืออิงเกณฑ์ หรือทั้ง 2 วิธีร่วมกัน โดยมติที่ประชุมการ บริหารจัดการรายวิชาถือเป็นเด็ดขาด ทั้งนี้ หากใช้วิธีอิงเกณฑ์ มีการตัดสินผลเป็นลาดับเกรด ดังนี้ ระดับคะแนนรวม เกรด =>80.00 A 75.00 – 79.99 B+ 70.00 – 74.99 B 65.00 – 69.99 C+ 60.00 – 64.99 C 55.00 – 59.99 D+ 50.00 – 54.99 D < 50.00 และสอบซ่อมผ่าน D < 50.00 และสอบซ่อมไม่ผ่าน F
  • 12. 12 | P a g e หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตาราและเอกสารหลัก 1.1 Glendinning E.H. and Howard R., “Professional English in Use Medicine”, Cambridge: Cambridge University Press, 2007. 1.2 Glendinning E.H. and Holmström B.A.S., “English in Medicine, Third edition”, Cambridge: Cambridge University Press, 2005. 1.3 เอกสารประกอบการบรรยายของอาจารย์ผู้สอนแต่ละท่าน 1.4 เวปไซด์ “ภาษาอังกฤษทางด้านการแพทย์ (English in Medicine)” <http://www.med.nu.ac.th/pathology/Humanities/english.html> 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ 2.1 Turley S.M., “Medical Language”, New Jersey: Pearson Prentice Hall, 2007. 2.2 Akabayashi A., Kodama S., Slingsby B.T., “Biomedical Ethics in Asia: A Casebook for Multicultural Learner”, McGraw-Hill Education (Asia), 2010 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา 3.1 นพดล สโรบล, รองศาสตราจารย์นายแพทย์., “What’s up Doc?”, กรุงเทพมหานคร: ลลิต คอน ซัลทิ่ง เฟิร์ม, 2543. 3.2 กิติพล นาควิโรจน์, นายแพทย์ และ พงษ์นุชนาฎ บาราบปฏิปักษ์, รองศาสตราจารย์., “English Handbook for Doctors”, กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551. 3.3 Lloyd M. and Bor R., “Communication Skills for Medicine, Third edition”, London: Churchill Livingstone Elsevier, 2009. 3.4 Le T., Bhushan V., Sheikh-Ali M., Shahin F.A., “First Aid for the USMLE STEP2 CS, Third edition” McGraw-Hill Education (Asia), 2010. 3.5 Siegel L.B., “Clinical Skills Survival Guide”, Philadelphia: Mosby Elsevier, 2006.
  • 13. 13 | P a g e หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา - การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชากับนิสิต เพื่อให้ความคิดเห็นต่อการจัดการเรียน การสอนในชั่วโมงการเรียนครั้งสุดท้าย - การตอบแบบประเมินรายวิชาของนิสิตเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในรายวิชา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน - การให้นิสิตตอบแบบประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละราย - การพิจารณาจากผลการสอบในรายวิชาของนิสิต 3. การปรับปรุงการสอน - สรุปผลการประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละรายโดยนิสิต และส่งให้อาจารย์ผู้สอนทราบเป็น รายบุคคล เพื่อนาไปปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน - สรุปผลการสอบ การประเมินรายวิชา และรวบรวมความคิดเห็นของนิสิตจากการสนทนากลุ่มข้างต้น นาเสนอในที่ประชุมสรุปผลการจัดการเรียนการสอนเมื่อเสร็จสิ้นรายวิชา เพื่อวางแนวทางในการปรับปรุงในปี การศึกษาต่อไป 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา - กลั่นกรอง และวิเคราะห์ข้อสอบ พร้อมทั้งพิจารณาคุณภาพของข้อสอบร่วมกับผลการสอบของนิสิต ใน ที่ประชุมสรุปผลการจัดการเรียนการสอนเมื่อเสร็จสิ้นรายวิชา 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา - อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา นาเสนอสรุปผลการจัดการเรียนการสอนในที่ประชุมรายวิชา เพื่อทบทวน และวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา พร้อมทั้งนาเสนอต่อคณะกรรมการในระดับหลักสูตรหรือผู้บริหาร คณะแพทยศาสตร์ต่อไป
  • 14. 14 | P a g e เอกสารประกอบการสอน (Course materials)
  • 15. 15 | P a g e แผนการสอน รหัสวิชา 499508 รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ 3 (2-2-5) ปีการศึกษา 2555 หัวข้อเรื่อง ภาษาทางการแพทย์ และคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ (Medical language and Medical terminology) ชื่ออาจารย์ผู้สอน นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล วัตถุประสงค์ (Objectives) 1. เพื่อให้นิสิตทราบถึงเหตุผลความสาคัญ และประโยชน์ของการเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาทางด้านการแพทย์ (Medical Language) 2. เพื่อให้นิสิตทราบประวัติความเป็นมาของภาษาทางด้านการแพทย์ (Medical Language) 3. เพื่อให้นิสิตทราบหลักการที่มาของคาศัพท์ รากศัพท์ และการแปลความหมาย ของศัพท์เฉพาะ ทางด้านการแพทย์ (Medical Terminology) 4. เพื่อให้นิสิตทราบถึงหัวข้อที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้ในการใช้ภาษาต่างประเทศในการประกอบวิชาชีพ แพทย์ (Foreign Language Use in Medical Practice) หัวข้อการเรียนรู้ (Topics) 1. ภาษา และการสื่อสาร (Language and Communication) 2. ภาษาทางด้านการแพทย์ (Medical Language) 3. ศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ (Medical Terminology) 4. การใช้ภาษาต่างประเทศในการประกอบวิชาชีพแพทย์ (Foreign Language Use in Medical Practice) กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning activities) 1. มอบหมายให้นิสิตเตรียมตัวก่อนเข้าเรียน ดังต่อไปนี้ - อ่านเอกสารประกอบการสอน - อ่านบทความ “The language of Medicine” (เอกสารอ้างอิง หมายเลข 6) - ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคาศัพท์ทางด้านการแพทย์ (เอกสารอ้างอิง หมายเลข 8) 2. ภาคบรรยาย 180 นาที (3 คาบการเรียนการสอน) ประกอบด้วย - นาเข้าสู่บทเรียน 5 นาที - ทดสอบความรู้ก่อนเรียน (Pre-test) 10 นาที - บรรยายเนื้อหาสาคัญและอภิปราย 150 นาที - ซักถาม และตอบข้อสงสัย 15 นาที
  • 16. 16 | P a g e สื่อการเรียนการสอน (Teaching media) เอกสารประกอบการสอน และ powerpoint presentation การวัดและประเมินผล (Assessment) Summative assessment: Short answer questions 20 ข้อ (20 คะแนน, คิดเป็น 5%) เนื้อหาสาระ (Content) 1. ภาษา และการสื่อสาร (Language and Communication) ภาษา (language) มีความหมายที่แตกต่างกันตามพจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน1 อธิบายคาจากัดความของคาว่า “ภาษา (language)” ไว้ 5 ความหมายดังต่อไปนี้ 1. ภาษาเป็นระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้สื่อสาร ประกอบด้วยส่วนที่มีความหมาย และส่วนที่ไม่มี ความหมาย ซึ่งส่วนที่ไม่มีความหมายได้แก่ เสียง มีจานวนจากัด และใช้ประกอบกันเป็นส่วนที่มีความหมาย ซึ่งมี จานวนไม่รู้จบ ได้แก่ คา วลี และประโยค โดยภาษาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม เป็นสมบัติของมนุษย์โดยทั่วไปที่ แตกต่างจากสัตว์ 2. ภาษาเป็นระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสารในสังคมใดสังคมหนึ่ง โดยไม่มีหลักฐานว่าใครเป็น ผู้สร้างขึ้น อาจเรียกว่า ภาษาธรรมชาติ (natural language) ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาจีน เป็นต้น 3. ภาษาที่มนุษย์จงใจสร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจง อาจเรียกว่า ภาษาประดิษฐ์ (artificial language) ได้แก่ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษา Esperanto 4. วิธภาษา (variety of language) ซึ่งอาจเป็นภาษาย่อย (dialect) ภาษาถิ่น (regional dialect) เช่น ภาษาอีสาน ภาษาใต้ หรือทาเนียบภาษา (register) ภาษาเฉพาะกลุ่มตามบริบทการใช้ภาษา เช่น ภาษากฎหมาย ภาษาการแพทย์ ภาษาโฆษณา เป็นต้น 5. ระบบการสื่อสารอื่น ๆ ที่ไม่ใช้สัญลักษณ์ตามคาจากัดความที่ 1-4 เช่น ภาษามือ (sign language) ภาษารูปภาพ ภาษากาย เป็นต้น ในมุมมองทางด้านปรัชญาภาษานั้น ภาษาของมนุษย์มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากระบบการสื่อสารของ สัตว์3 ดังต่อไปนี้ 1. ภาษามนุษย์เป็นอิสระจากสิ่งเร้า สามารถแสดงถึงสิ่งที่ไม่มีอยู่ในสภาพแวดล้อมปัจจุบันได้ เช่น การ บรรยายเหตุการณ์ในอดีต หรือ คาดหมายเหตุการณ์ในอนาคต 2. ภาษามนุษย์เป็นนามธรรม สามารถกล่าวถึงสภาวะที่เป็นจริงกับหลายสิ่งหลายอย่างได้ ทั้งในประเด็นที่ กว้าง กล่าวถึงโดยทั่วๆ ไป และในประเด็นใดประเด็นหนึ่งอย่างจาเพาะเจาะจง 3. ภาษามนุษย์ไม่มีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลระหว่างสัญลักษณ์กับสิ่งที่หมายถึง
  • 17. 17 | P a g e 4. ภาษามนุษย์เป็นอิสระจากสื่อ สามารถเข้าใจความหมายซึ่งกันและกันได้จากวิธีการสื่อสารที่แตกต่าง กัน เช่น การสื่อสารข้อความเดียวกันด้วยวาจา และการสื่อสารด้วยการเขียน 5. ภาษามนุษย์สามารถผลิตประโยคใหม่ ๆ ออกมาได้ไม่รู้จักจบสิ้น 6. ภาษามนุษย์มีพลัง ในการระบุถึงความหมายที่เราต้องการสื่อออกไปได้ทั้งสิ้น การสื่อสาร (Communication) คือ การแลกเปลี่ยนความคิด ข้อมูล และอื่น ๆ ระหว่างผู้สื่อสารตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป1 ประกอบด้วย เรื่องราวหรือสารที่ต้องการสื่อ (message) ผู้ส่งสาร (sender) ผู้รับสาร (receiver) โดยผ่านสื่อ (media) หรือ ช่องทาง (channel) ที่จะเชื่อมโยงสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารได้ โดยวัตถุประสงค์ ของการสื่อสาร ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร และผู้รับสารแต่ละคน ซึ่งอาจเหมือนกัน หรือแตกต่างกันก็ได้2 ตัวอย่างเช่น 1. เพื่อแจ้งข้อมูล หรือข่าวสารให้ทราบ (Information) 2. เพื่อสอน ให้การศึกษา หรือถ่ายทอดความรู้ (Teaching or Education) 3. เพื่อสร้างความพึงพอใจ หรือให้ความบันเทิง (Entertaining) 4. เพื่อเสนอแนะหรือชักจูงใจให้คล้อยตาม (Persuasion) 5. เพื่อการเรียนรู้ของผู้รับสาร (Learning) 6. เพื่อการตัดสินใจกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง (Decision) 2. ภาษาทางด้านการแพทย์ (Medical Language)6 ความรู้ทางด้านการแพทย์ตะวันตกมีการบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยกรีก โดยหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุด ได้แก่ งาน เขียนของฮิบโปเครติส (Hippocratic writing) เมื่อประมาณ 500 – 400 ปีก่อนคริสตศักราช ความรู้ทางด้าน การแพทย์ และคาศัพท์ที่เกี่ยวกับโรคและอาการผิดปกติ จะถูกบันทึกไว้เป็นภาษากรีก ตัวอย่างเช่น dyspnoea (หายใจลาบาก) หรือ diarrhoea (ท้องเสีย) เป็นต้น สมัยต่อมาเป็นอาณาจักรโรมัน ในช่วงระยะแรก แพทย์ที่ให้การรักษาส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวกรีก จึงยังคงถ่ายทอดความรู้ทางด้านการแพทย์เป็นภาษากรีก เช่น ผลงานของ Galen of Pergamum เมื่อประมาณปี คริสตศตวรรษที่ 200 ต่อมาเริ่มมีการใช้ภาษาลาตินในงานเขียนทางด้านการแพทย์เพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างเช่น ผลงานของ Aulus Cornelius Celsus ที่รวบรวมความรู้ทางการแพทย์ในสมัยกรีก จัดทาเป็น encyclopedia ที่มี ชื่อว่า “De Medicina” ซึ่ง Celsus ประสบปัญหาในการแปลคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ที่เป็นภาษากรีก ให้มีความหมายเทียบเท่ากันในภาษาลาติน เขาจึงได้แก้ปัญหาดังกล่าวด้วยวิธีหลัก ๆ 3 วิธี ได้แก่ 1. นาคาศัพท์ภาษากรีกมาใช้ในประโยคที่เขียนเป็นภาษาลาตินโดยตรง ไม่มีการเปลียนแปลงรูปคา 2. นาคาศัพท์ภาษากรีกมาเปลี่ยนแปลงตัวสะกดโดยใช้ตัวอักษรในภาษาลาติน 3. แปลคาศัพท์ภาษากรีกเป็นภาษาลาตินโดยอาศัยรูปภาพจินตนาการของความหมายของคาศัพท์ภาษา กรีกเหล่านั้น ซึ่งเป็นวิธีที่สาคัญที่สุด ตัวอย่างเช่น “kynodontes” ในภาษากรีก แปลว่า ฟันของสุนัข ซึ่งเมื่อแปล เป็นภาษาลาติน จะใช้คาว่า “dentes canini” เป็นต้น
  • 18. 18 | P a g e ในยุโรปสมัยยุคกลาง (Middle Ages) มีการแปลผลงานจากภาษากรีกเป็นภาษาอารบิก ต่อมาประมาณ ศตวรรษที่ 15 ในสมัยยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (renaissance) มีการแปลผลงานเขียนด้านการแพทย์ จากเดิมที่ เป็นภาษากรีกและภาษาอารบิก เป็นภาษาลาตินอย่างกว้างขวาง ทั้ง Celsus’ De Medicina และ Latin edition of Galen นอกจากนี้ยังมีผลงานเขียนอีกมากมาย เช่น ผลงานของ Versalius, Harvey และ Sydenham เป็นต้น ซึ่งผลงานที่สาคัญเกือบทั้งหมดถูกตีพิมพ์เป็นภาษาลาติน แต่สาหรับคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ ยังคงมี ปะปนกันทั้งคาศัพท์ภาษากรีก และคาศัพท์ภาษาลาติน จนกระทั่งถึงประมาณต้นศตวรรษที่ 19 เริ่มมีการใช้ภาษา ประจาชาติ (National Medical Languages) ในงานเขียนวิชาการทางด้านการแพทย์ มาแทนที่การใช้ภาษา ลาตินเดิม ตัวอย่างเช่น ในประเทศอังกฤษ “Commentarii” ของ William Heberden ได้รับการยอมรับว่าเป็น ผลงานเขียนทางด้านการแพทย์ที่มีชื่อเสียงชิ้นสุดท้ายที่เป็นภาษาลาติน ตีพิมพ์เมื่อปีคริสตศักราช 1802 ในยุคสมัยที่ใช้ภาษาประจาชาติในงานเขียนวิชาการด้านการแพทย์นั้น ส่วนใหญ่จะมีการเผยแพร่ผลงาน จากัดอยู่เฉพาะในแต่ละประเทศเท่านั้น แต่ถ้าต้องการสื่อสารผลงานระหว่างประเทศ จะใช้ภาษาที่สาคัญและ แพร่หลาย ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาเยอรมัน ซึ่งคาศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ในแต่ละ ภาษามีความใกล้เคียงกัน เพราะวิวัฒนาการรากศัพท์มาจาก medical Latin เช่นเดียวกัน แต่ก็มีลักษณะที่ แตกต่างกันอยู่บ้าง ได้แก่ 1. ภาษาในตระกูล Germanic languages ได้แก่ ภาษา German, ภาษา Dutch, ภาษา Scandinavian จะมีการใช้คาศัพท์ทางด้านกายวิภาค (anatomical terms) และชื่อโรค (disease names) จากภาษาลาติน โดยตรง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงส่วนท้ายของคาศัพท์ เช่น nervus musculocutaneous, ulcus ventriculi เป็น ต้น 2. ภาษาในตระกูล Romance languages ได้แก่ ภาษา French, ภาษา Italian จะมีการเปลี่ยนแปลง คาศัพท์ตามกฎเกณฑ์ของแต่ละภาษา เรียกว่า “naturalized” เช่น le nerf musculo-cutané, ulcère gastrique ในภาษาฝรั่งเศส หรือ il nervo musculocutaneo, ulcera gastrica ในภาษาอิตาเลี่ยน เป็นต้น สาหรับภาษาอังกฤษ อยู่ในตระกูล Germanic languages แต่ก็มีคาศัพท์จานวนมากที่ได้รับถ่ายทอดมา จากภาษาในตระกูล Romance จึงมีการเปลี่ยนแปลงคาศัพท์ (naturalization) และนิยมวางคาคุณศัพท์ไว้หน้า คานาม ได้แก่ musculocutaneous nerve และ gastric ulcer เป็นต้น อย่างไรก็ตาม หลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น พร้อมที่จะมีข้อยกเว้นอยู่ตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น แพทย์ที่ใช้ ภาษาอังกฤษ ยอมรับและใช้คาศัพท์บางคาที่มาจากภาษาลาตินโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น medulla oblongata หรือ diabetes mellitus เป็นต้น อีกตัวอย่างหนึ่ง ได้แก่ แพทย์ที่ใช้ภาษาเยอรมัน อาจมีการ เปลี่ยนแปลงคาศัพท์ (naturalization) เช่น ใช้ “Coronararterien” แทนการใช้ “arteriae coronariae” หรือมี การแปลคาศัพท์เป็นภาษาเยอรมัน เช่น ใช้ “Magengeschwür” แทนการใช้ “ulcus ventriculi” เป็นต้น ในปัจจุบัน มีการใช้ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ และใช้ในการเขียน ผลงานวิชาการทางด้านการแพทย์อย่างกว้างขวาง ประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี มีการค้นพบโรค การวินิจฉัย หรือการรักษาแบบใหม่อยู่ตลอดเวลา ทาให้ต้องมีการบัญญัติคาศัพท์ใหม่ทางการแพทย์เพิ่มขึ้นตามไป
  • 19. 19 | P a g e ด้วย ซึ่งแต่เดิม คาศัพท์ใหม่ที่บัญญัติขึ้นนี้อาจเกิดจากรากศัพท์ภาษากรีกหรือภาษาลาติน แต่ในปัจจุบัน อาจใช้ คาศัพท์จากภาษาอังกฤษโดยตรงเป็นส่วนหนึ่งของคาศัพท์ใหม่ทางด้านการแพทย์ เช่น bypass, clearance, screening, scanning เป็นต้น ซึ่งแพทย์ที่ใช้ภาษาอื่นๆ นอกเหนือจากภาษาอังกฤษในการสื่อสาร จึงมีทางเลือก ในการใช้คาศัพท์ใหม่ดังกล่าว โดยอาจใช้คาศัพท์นั้นจากภาษาอังกฤษโดยตรง หรือ ใช้คาศัพท์ที่ผ่านกระบวนการ เปลี่ยนแปลงคาศัพท์ (naturalization) แล้ว หรือ บัญญัติคาศัพท์ใหม่ในภาษาของตนจากการแปลความหมายที่ เทียบเคียงกัน 3. ศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ (Medical Terminology)4,5,7 ศัพท์เฉพาะทางด้านการแพทย์ (Medical Terminology) สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทตามที่มาของ คาศัพท์ ได้แก่ 1. Greek and Latin word parts เป็นศัพท์ที่สร้างจากรากศัพท์ หรือส่วนประกอบของคาศัพท์ใน ภาษากรีก และภาษาลาติน เช่น Osteoarthritis มาจาก Oste (bone) – o (combining vowel) – arthr (joint) – itis (inflammation) เป็นต้น ซึ่งส่วนประกอบของคาศัพท์จะประกอบด้วย - Word root (รากศัพท์): “cardi (heart)”, “gastr (stomach)”, “neur (nerve)”, “hepat (liver)” - Suffix (อาคม): “-oma (tumor)”, “-logy (the study of)”, “-megaly (enlargement”, “-itis (inflammation)” - Prefix (อุปสรรค): “neo- (new)”, “hyper- (more than normal)”, “hypo- (below)”, “poly- (many)” - Combining vowel (สระเชื่อมคา): “- o -” นอกจากนี้ คาศัพท์บางคาอาจมีที่มาจาก - คาเดิมในภาษากรีก หรือลาตินที่นามาใช้โดยตรง เช่น nucleus (Latin), thorax (Greek) - คาในภาษากรีก หรือลาตินที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคา เช่น artery (Latin – arteria), muscle (Latin – musculus), phobia (Greek – phobos), Sperm (Greek – sperma) - คาในภาษาต่างประเทศโบราณอื่น เช่น heart (Old English – heorte), physician (French – physicien) 2. Eponyms เป็นศัพท์ที่มาจากชื่อของบุคคลที่ค้นพบ, เทคโนโลยีที่ประดิษฐ์หรือสร้างสรรค์ หรือจาก ภาษาต่างประเทศปัจจุบัน เช่น Stevens Johnson syndromes, Grave’s disease เป็นต้น 3 Acronyms เป็นศัพท์ที่ย่อมาจากตัวแรกของชื่อที่ประกอบด้วยคาหลายคา เช่น AIDS, PET scan, CAT scan เป็นต้น
  • 20. 20 | P a g e 3.1 Human Body Systems and Medical Specialties - Gastrointestinal system – Gastroenterology [“intestin-” (Latin), “enter-” (Greek)] - Respiratory system – Pulmonology - Cardiovascular system – Cardiology [“vascul-, vas-” (Latin), “angi-” (Greek)] [“cor-” (Latin), “cardi-” (Greek)] - Blood and lymphatic system – Hematology and Immunology - Integumentary system – Dermatology [“integument-” (Latin), “dermat-” (Greek)] - Muscular and skeletal system – Orthopedics - Nervous system – Neurology [“nerv-” (Latin), “neur-” (Greek)] - Urinary system – Urology - Male genital and reproductive system – Male Reproductive Medicine - Female genital and reproductive system – Gynecology and Obstetrics - Endocrine system – Endocrinology - Eyes – Ophthalmology - Ears, nose, and throat (ENT) system – Otolaryngology 3.2 Other Medical Specialties - Neonatology and Pediatrics - Geriatrics - Psychiatry - Oncology - Radiology and Nuclear Medicine - Pathology, Laboratory Medicine, Forensic Medicine - Pharmacology - Dietetics - Community Medicine, Family Medicine, Occupational Medicine, Preventive Medicine 3.3 Disease Categories - Congenital: caused by an abnormality during fetus development or during the birth process - Degenerative: caused by the progressive destruction of cells due to disease or the aging process - Environmental: caused by exposure to external substances - Hereditary: caused by inherited mutation of genetic material - Iatrogenic: caused by medicine or treatment given to the patient
  • 21. 21 | P a g e - Idiopathic: no identifiable cause - Infectious: caused by a pathogen - Neoplastic: caused by the growth of transformed cells - Nosocomial: caused by exposure to infection during hospital stay - Nutritional: caused by insufficient or excess amounts of food or nutrients 3.4 Anatomy and Physiology - Myocardium: “my-” (muscle) – o – “cardi-” (heart) – “-um” (a structure) - Vasoconstrition: “vas-” (blood vessel) – o – “constrict-” (narrowed) – “-ion” (action) 3.5 Symptoms, Signs, and Diseases - Edema: from a Greek word meaning a swelling - Angina pectoris: “angina” (Latin) = sore throat, “pectoris” (Latin) = of the chest - Myocardial infarction (MI): “my-” (muscle) – o – “cardi-” (heart) – “-al” (pertaining to) “infarct-” (area of dead tissue) – “-ion” (condition or action) 3.6 Diagnostic Procedures - Electrocardiography (ECG): “electr-” (electricity) – o – “cardi-” (heart) – o – “-graphy” (process of recording) - Echocardiogram: “ech-” (echo or sound wave) – o – “cardi- (heart) – o – “-gram” (a record or picture) 3.7 Medical and Surgical Procedures - Auscultation: “auscult-” (listening) – “-ation” (a process, being or having) - Stethoscope: “steth-” (chest) – o – “-scope” (instrument used to examine) - CABG: Coronary artery bypass graft - PTCA: Percutaneous transluminal coronary angioplasty (through skin) + (through the lumen of vessel) + (coronary artery) + (process of reshaping by surgery)
  • 22. 22 | P a g e 3.8 Medications - Antihypertensive drug: “anti-” (against) – “hyper-” (above, more than normal) – “tens-” (pressure, tension) – “-ive” (pertaining to) - ACE Inhibitor drugs: “Angiotensin converting enzyme inhibitor” [blocking an enzyme that converts angiotensin (“angi-” (blood vessel) – o – “tens-” (pressure, tension) – “-in” (a substance)] 3.9 Abbreviation - CCU: Coronary Care Unit - CPR: Cardiopulmonary resuscitation - LVH: Left ventricular hypertrophy 3.10 Pronunciation - Appendectomy: ap-pen-DEK-toh-mee - Appendicitis: ap-pen-dih-SY-tis - Neural: NYOOR-al - Neurology: nyoo-RAWL-oh-jee - Neuropathy: nyoo-RAWP-ah-thee - Pneumonia: nyoo-MOH-nee-ah 3.11 Medical Dictionary - Information on a medical dictionary: meanings, pronunciation, synonyms, derivations, related terms, illustrations, useful appendices (abbreviations, measurements, clinical tests, drugs, diagnosis, etc.) - Dorland’s Medical Dictionary, 32nd edition, Saunders, 2011. - Stedman’s Medical Dictionary for the Health Professions and Nursing, 28th edition, Lippincott Williams & Wilkins, 2005. - Mosby’s Medical Dictionary, 8th edition, Mosby, 2008. 3.12 Non-professional terminology (Lay term) ในการสื่อสารระหว่างผู้ปุวย และญาติของผู้ปุวย คาศัพท์ทางการแพทย์บางคาอาจจะต้องปรับให้ เหมาะสมกับระดับความรู้ทางด้านการแพทย์ของผู้ปุวย โดยใช้คาศัพท์ที่เป็นที่เข้าใจของประชาชนโดยทั่วไป หรือที่ เรียกว่า Lay term ตัวอย่างเช่น - Cardiac arrhythmia: palpitations - Analgesics: pain killers - Hematemesis: vomiting blood
  • 23. 23 | P a g e - Myocardial infarction: heart attack - Dyspnea: breathlessness (Please read Turley (2007) for more information on medical terminology.) 4. การใช้ภาษาต่างประเทศในการประกอบวิชาชีพแพทย์ (Foreign Language Use in Medical Practice) ในการประกอบวิชาชีพแพทย์นั้น แพทย์ผู้รักษาจะต้องมีการสื่อสารกับผู้ปุวยหรือญาติของผู้ปุวย ที่มารับ บริการการรักษา สื่อสารระหว่างเพื่อนร่วมวิชาชีพแพทย์ รวมทั้งสื่อสารกับบุคลากรทางด้านการแพทย์อื่นที่มีส่วน ร่วมในการรักษาผู้ปุวย ทั้งนี้ หากมีบุคคลหนึ่งบุคคลใดดังกล่าวเป็นชาวต่างประเทศ และไม่มีความรู้หรือทักษะใน การสื่อสารด้วยภาษาไทย จาเป็นต้องใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารระหว่างกัน เช่น ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษา ฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน หรือภาษาอื่นใดก็ตาม ที่แต่ละบุคคลที่จะสื่อสารได้อย่างเข้าใจ ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะใช้ภาษาต่างประเทศใดก็ตามในการสื่อสาร สิ่งสาคัญที่จะต้องทราบ และเรียนรู้ในบริบทของการ ประกอบวิชาชีพแพทย์ ได้แก่ การใช้ภาษาในหัวข้อ หรือสถานการณ์ ดังต่อไปนี้ 1. การกล่าวคาทักทาย และแนะนาตัว (Greeting and Introduction) 2. การสัมภาษณ์ และซักประวัติผู้ปุวย (Patient interview and History taking) 3. การตรวจร่างกาย (Physical examination) 4. การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory investigation and Intervention) 5. การวินิจฉัยโรค และการอภิปรายร่วมระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ (Discussion for Diagnosis) 6. การแจ้งผลการวินิจฉัยโรค อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับโรคและความผิดปกติของผู้ปุวย (Explanation) 7. การวางแผนการรักษา (Planning for treatment) 8. การให้คาแนะนาการปฏิบัติตัว (Giving advice) และการพยากรณ์โรค (Prognosis) 9. การส่งต่อปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ (Referring for consultation) 10. การนัดหมายติดตามผลการตรวจรักษา (Appointment for follow up treatment) 11. การอ่านบทความ หรือตาราวิชาการ (Academic Reading) 12. การเขียนรายงานผู้ปุวย รายงานผลการวิจัย บทความทางวิชาการ (Academic Writing) 13. การนาเสนอเคสผู้ปุวย การนาเสนอผลงานทางวิชาการ (Presentation) เอกสารอ้างอิงและหนังสืออ่านเพิ่มเติม (References and Further readings) 1. ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จากัด 2. สมชัย ศรีนอก และ เกรียงศักดิ์ พลอยแสง (บรรณาธิการ). (2552). ภาษากับการสื่อสาร (Language and Communication) (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 3. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์. (2552). ปรัชญาภาษา. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 24. 24 | P a g e 4. Brooks, M. L., Brooks, D. L. (2010). Basic Medical Language (3rd ed.). Missouri : Mosby Elsevier. 5. Turley, S. M. (2007). Medical Language. New Jersey : Pearson Education. 6. Wuff, H.R. (2004). The language of medicine. Journal of the Royal Society of Medicine. 97:187-188. 7. Cohen, B.J. (2011). Medical Terminology: An Illustrated Guide (6th ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. 8. The U.S. National Library of Medicine. MedlinePlus: Understanding Medical Words: A Tutorial from the National Library of Medicine. Website: http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/medicalwords.html
  • 25. 25 | P a g e
  • 26. 26 | P a g e
  • 27. 27 | P a g e
  • 28. 28 | P a g e
  • 29. 29 | P a g e
  • 30. 30 | P a g e
  • 31. 31 | P a g e
  • 32. 32 | P a g e
  • 33. 33 | P a g e แผนการสอน รหัสวิชา 499508 รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ 3 (2-2-5) ปีการศึกษา 2555 หัวข้อเรื่อง การสัมภาษณ์ผู้ปุวยและการซักประวัติ (Patient Interview and History Taking) ชื่ออาจารย์ผู้สอน นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล อาจารย์วิทยากรพิเศษ Mr. Richard Michael Glover คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วัตถุประสงค์ (Objectives) 1. เพื่อให้นิสิตทราบคาศัพท์เกี่ยวกับอาการ ความผิดปกติ และโรคประจาตัวของผู้ปุวย 2. เพื่อให้นิสิตทราบตัวอย่างประโยคที่ใช้ในการแนะนาตัว การสัมภาษณ์ประวัติ และซักประวัติอาการ ผิดปกติที่นาผู้ปุวยมาโรงพยาบาล, ประวัติการเจ็บปุวยในอดีต, ประวัติการเจ็บปุวยในครอบครัว, ประวัติการดื่ม สุรา การใช้สารเสพติด การสูบบุหรี่ และประวัติเกี่ยวกับเพศสัมพันธุ์ รวมทั้งการซักอาการผิดปกติตามระบบของ ร่างกาย 3. เพื่อให้นิสิตทราบหลักการ และได้ฝึกทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการสัมภาษณ์ และซักประวัติผู้ปุวย หัวข้อการเรียนรู้ (Topics) 1. คาศัพท์เกี่ยวกับอาการ ความผิดปกติ และโรคประจาตัวของผู้ปุวย 2. ตัวอย่างประโยคที่ใช้ในการแนะนาตัว การสัมภาษณ์ประวัติ และซักประวัติอาการผิดปกติที่นาผู้ปุวย มาโรงพยาบาล, ประวัติการเจ็บปุวยในอดีต, ประวัติการเจ็บปุวยในครอบครัว, ประวัติการดื่มสุรา การใช้สารเสพ ติด การสูบบุหรี่ และประวัติเกี่ยวกับเพศสัมพันธุ์ รวมทั้งการซักอาการผิดปกติตามระบบของร่างกาย 3. หลักการ และทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการสัมภาษณ์และซักประวัติผู้ปุวย กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning activities) ภาคบรรยายเชิงปฏิบัติการ 360 นาที (6 คาบการเรียนการสอน) ประกอบด้วย - นาเข้าสู่บทเรียน 15 นาที - บรรยายเนื้อหาสาคัญและศึกษาตัวอย่างจาก VDO 2.5 ชั่วโมง - ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์สมมติ 3 ชั่วโมง - ซักถาม และตอบข้อสงสัย 15 นาที สื่อการเรียนการสอน (Teaching media) 1. เอกสารประกอบการสอน และ powerpoint presentation 2. VDO presentation “Appropriate and Inappropriate manner of History taking”
  • 34. 34 | P a g e การวัดและประเมินผล (Assessment) 1. Listening comprehension: Short answer questions 15 ข้อ (25 คะแนน, คิดเป็น 5%) 2. Role playing: ประเมินโดยใช้ Rubric score เป็นรายบุคคล (16 คะแนน, คิดเป็น 10%) เนื้อหาสาระ (Content) 1. อาการ ความผิดปกติ และโรคประจาตัวของผู้ป่วย - Pain - Fever - Dizziness - Nausea - Weakness - Shortness of breath - Vomiting - Depressed mood - Joint pain - Cough - Diet and Appetite - Weight loss and gain - Headache - Numbness - Loss of conscious - Bowel symptoms: abdominal pain, constipation, diarrhea, GI bleeding - Urinary symptoms: dysuria, hematuria, anuria - Bleeding per vagina, abnormal vaginal discharge 2. ตัวอย่างประโยคที่ใช้ในกระบวนการสัมภาษณ์ และซักประวัติผู้ป่วย 2.1 Greeting and Introduction - Good morning / afternoon / evening + Mr./Ms. + patient’s last name - I’m Dr. ……………. . / My name is Dr. …………… . - I’m a pediatrician. / I’m an intern. / I’m a medical student. - Please have a seat. / Please sit down. 2.2 Asking for chief complaint - What’s brought you to the hospital today? - What can I do for you? - What seems to be the problem? - Could you tell me what brings you here today? - What is your concern today? - How can I help you today? 2.3 History of present illness and detail of present symptoms - Where does it hurt? / Show me where it hurts. - Which part of your head is affected? - Can you describe the pain? / What’s the pain like? / What kind of pain is it? - How bad is it?
  • 35. 35 | P a g e - How long does the pain last? - Does it go anywhere else? - When do they start? / When do they stop? - Does anything bring them on? - How often do you get them? - Is there anything that makes them better? / worse? - Does anything make them better? / worse? - Is there anything else you feel at the same time? / Do you have any other problems related to that? - Have you had anything like this before? 2.4 Past medical history (General health, underlying disease, previous illness, history of operation, history of accident and trauma, history of allergy and medication) - Have you had this problem or anything similar before? - Have you been hospitalized before? - Have you had any surgeries before? - Have you had any accidents or injuries before? - Do you have any allergies? - Are you taking any medications, vitamins, over-the-counter drugs? 2.5 Family history - Are your parents alive? Are they in good health? - What did your mother/father die of? - Does anyone in your family have the same problem or anything similar? - And your brothers or sisters, are they in good health? 2.6 Personal history (age, occupation, marital status) and sensitive questions (alcohol, drug abuse, smoking, sexual history) - What type of work do you do? - Are you married? Do you have children? - Do you smoke?, How many packs a day?, How long have you been smoked? - Do you drink alcohol?, What do you drink?, How much do you drink per week? - Do you use any drugs such as marijuana, cocaine? How often do you use them? - I would like to ask you some questions about your sexual health and practice. - Are you sexually active?, Do you use condoms or other contraceptives?
  • 36. 36 | P a g e - Have you ever had a sexually transmitted disease? 2.7 Review of systems (HEENT, Cardiovascular, Respiratory, Gastrointestinal, Urinary, Nervous, Musculoskeletal, Endocrine) Closed questions - Do you have any trouble / problem with your …. ? - Do you have any difficulty in …. ? - Have you ever had ….. ? / Have you ever experienced …. ? - Is there any change in ……. ? / trouble with …… ? / problem with …… ? Opened questions - How’s your ….. ? / How about your ……. ? - What’s your …….. like? 3. หลักการ และทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการสัมภาษณ์และซักประวัติผู้ป่วย4 3.1 Factors which influence doctor-patient communication 1. Patient-related factors - Physical symptoms: pain, ability to speak, consciousness, etc. - Psychological factors related to illness: anxiety, depression, etc. - Previous experience of medical care - Cultural beliefs, attitudes, habits - Current experience of medical care 2. Doctor-related factors - Personality: outgoing, friendly, isolate, etc. - Physical factors: illness, unhealthy, etc. - Psychological factors: anxiety, irritable mood, etc. - Self-confidence in ability to communicate in other languages - Training in communication skills 3. The setting of the interview - Privacy - Comfortable surroundings - An appropriate seating arrangement 3.2 General communication skills - วัตถุประสงค์ของทักษะในการสื่อสาร คือ การคงไว้ซึ่งการสื่อสารระหว่างกัน (maintain communication) และปูองกันการสื่อสารล้มเหลว (communication breakdown)
  • 37. 37 | P a g e - 5 องค์ประกอบสาคัญของการสื่อสารที่ต้องคานึงถึง ได้แก่ 1. วัจนภาษา (verbal communication) 2. อวัจนภาษา (non-verbal communication) 3. น้าเสียงในการสนทนา (voice management) 4. การฟังอย่างตั้งใจ (active listening) 5. ความแตกต่างทางวัฒนธรรม (cultural awareness) 3.3 Guidelines for conducting an interview 3.3.1 Beginning the interview: Receiving a patient - Greet the patient and make him/her feel relaxed and comfortable - Introduce yourself and your role - Asking for the patient’s chief complaint as an opening statement - Set the agenda for the interview 3.3.2 The main part of the interview: - Present illness - Past medical history - Family history - Personal history or social history - Review of systems 3.3.3 Ending the interview: - Conclusion of the interview, emphasize the important and relevant parts of the patient’s history, and proceed to physical examination เอกสารอ้างอิงและหนังสืออ่านเพิ่มเติม (References and Further readings) 1. Glendinning E.H. and Howard R., “Professional English in Use Medicine”, Cambridge: Cambridge University Press, 2007, p. 102-107, 144. 2. Glendinning E.H. and Holmström B.A.S., “English in Medicine, Third edition”, Cambridge: Cambridge University Press, 2005, p. 6-8. 3. Le T., Bhushan V., Sheikh-Ali M., Shahin F.A., “First Aid for the USMLE STEP2 CS, Third edition” McGraw-Hill Education (Asia), 2010, p.42-53. 4. Lloyd M. and Bor R., “Communication Skills for Medicine, Third edition”, London: Churchill Livingstone Elsevier, 2009, p. 9-48. 5. กิติพล นาควิโรจน์, นายแพทย์ และ พงษ์นุชนาฎ บาราบปฏิปักษ์, รองศาสตราจารย์., “English Handbook for Doctors”, กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551, หน้า 1-10.
  • 38. 38 | P a g e
  • 39. 39 | P a g e
  • 40. 40 | P a g e
  • 41. 41 | P a g e
  • 42. 42 | P a g e
  • 43. 43 | P a g e
  • 44. 44 | P a g e แผนการสอน รหัสวิชา 499508 รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ 3 (2-2-5) ปีการศึกษา 2555 หัวข้อเรื่อง การตรวจร่างกาย (Physical Examination) ชื่ออาจารย์ผู้สอน นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล อาจารย์วิทยากรพิเศษ Mr. Richard Michael Glover คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วัตถุประสงค์ (Objectives) 1. เพื่อให้นิสิตทราบคาศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะของร่างกาย, เครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการตรวจร่างกาย 2. เพื่อให้นิสิตทราบตัวอย่างประโยคที่ใช้ในการให้คาแนะนา, ขออนุญาต, คาสั่ง, ขอร้อง เพื่อให้ผู้ปุวย ให้ความร่วมมือปฏิบัติตามกระบวนการตรวจร่างกายของแพทย์ 3. เพื่อให้นิสิตได้ฝึกทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการตรวจร่างกายผู้ปุวย หัวข้อการเรียนรู้ (Topics) 1. คาศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะของร่างกาย และเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการตรวจร่างกาย 2. ตัวอย่างประโยคที่ใช้ในการให้คาแนะนา, ขออนุญาต, คาสั่ง, ขอร้อง เพื่อให้ผู้ปุวยให้ความร่วมมือ ปฏิบัติตามกระบวนการตรวจร่างกายของแพทย์ กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning activities) ภาคบรรยายเชิงปฏิบัติการ 360 นาที (6 คาบการเรียนการสอน) ประกอบด้วย - นาเข้าสู่บทเรียน 15 นาที - บรรยายเนื้อหาสาคัญและศึกษาตัวอย่างจาก VDO 2.5 ชั่วโมง - ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์สมมติ 3 ชั่วโมง - ซักถาม และตอบข้อสงสัย 15 นาที สื่อการเรียนการสอน (Teaching media) 1. เอกสารประกอบการสอน และ powerpoint presentation 2. VDO presentation “Appropriate and Inappropriate manner of physical examination” การวัดและประเมินผล (Assessment) 1. Role playing: ประเมินโดยใช้ Rubric score เป็นรายบุคคล (16 คะแนน, คิดเป็น 10%)
  • 45. 45 | P a g e เนื้อหาสาระ (Content) 1. คาศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะของร่างกาย และเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการตรวจร่างกาย 1.1 Parts of the body1 (page 12-15, page 130) 1.2 Verbs used in instructions1 (page 145) 1.3 Basic instruments used in physical examination - A stethoscope: bell, diaphragm, tubing, earpieces - An ophthalmoscope - An otoscope, tuning fork - A sphygmomanometer: cuff, pump or hand bulb, valve, gauge - A reflex hammer or a tendon hammer 1.4 Techniques for physical examination - ดู (inspection) - ฟัง (Auscultation) - คลา (Palpation) - เคาะ (Percussion) 2. ตัวอย่างประโยคที่ใช้ในกระบวนการตรวจร่างกายของแพทย์1 2.1 ขั้นตอนในการตรวจร่างกาย (Steps in physical examination) 2.1 ก่อนการตรวจ (Before taking physical examination) - Asking for permission - Explaining procedure - Reassure the patients - Put the patient at ease and comfortable - Maintain the patient’s trust and respect the patient’s sense of dignity - Wash your hands and warm them 2.2 ระหว่างการตรวจ (During the procedure) - Giving instructions - Keep the patient informed of what you are doing - Assure the patient if he/she follows the instructions correctly 2.3 เมื่อเสร็จสิ้นการตรวจ (At the end of the physical examination) - Tell the patient when the exam is finished - Sharing some of your findings - Plan for further investigation
  • 46. 46 | P a g e 2.2 ตัวอย่างประโยคสนทนา 2.2.1 Asking for permission - Do you know what we’re going to do this morning? - I’m going to examine your …… to find out what’s causing the problem. - What we’re going to do is ….. / What happens is that ….. - Are you ready? - OK? 2.2.2 Giving Instructions - I’ll ask you to ….. - Could you lie on the couch? / Could you just ….. ? / - If you could just ….. - What I’d like to do is to examine you standing up. 2.2.3 Talking through the procedure - You might feel a little bit of discomfort. Tell me if it hurt. - This might hurt a little bit but I’ll be quick. - I’m just going to …, Then, I’ll … - It won’t take long. - Ok, that’s it. All over. 2.2.4 Sharing your findings with the patients - Well, I’m fairly certain you’ve got a … - One possibility is it could be what we call … - I haven’t found anything to suggest any problems. 2.2.5 Complete physical examination - Weight, height, vital signs - HEENT (Heat-Eyes-Ears-Nose-Throat) - Chest (Heart and Lungs) - Abdomen - Arms, legs and movement - Private organs (both male and female) - Mental status
  • 47. 47 | P a g e เอกสารอ้างอิงและหนังสืออ่านเพิ่มเติม (References and Further readings) 1. Glendinning E.H. and Howard R., “Professional English in Use Medicine”, Cambridge: Cambridge University Press, 2007. 2. Glendinning E.H. and Holmström B.A.S., “English in Medicine, Third edition”, Cambridge: Cambridge University Press, 2005. 3. Le T., Bhushan V., Sheikh-Ali M., Shahin F.A., “First Aid for the USMLE STEP2 CS, Third edition” McGraw-Hill Education (Asia), 2010, p.53-63. 4. กิติพล นาควิโรจน์, นายแพทย์ และ พงษ์นุชนาฎ บาราบปฏิปักษ์, รองศาสตราจารย์., “English Handbook for Doctors”, กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551, หน้า 11-79.
  • 48. 48 | P a g e
  • 49. 49 | P a g e
  • 50. 50 | P a g e
  • 51. 51 | P a g e
  • 52. 52 | P a g e
  • 53. 53 | P a g e
  • 54. 54 | P a g e
  • 55. 55 | P a g e
  • 56. 56 | P a g e
  • 57. 57 | P a g e
  • 58. 58 | P a g e แผนการสอน รหัสวิชา 499508 รายวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพแพทย์ 3 (2-2-5) ปีการศึกษา 2555 หัวข้อเรื่อง การอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยโรค และการอธิบายผู้ปุวย (Discussion for Diagnosis and Explanation) ชื่ออาจารย์ผู้สอน นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล วัตถุประสงค์ (Objectives) 1. เพื่อให้นิสิตทราบหลักการ และตัวอย่างการใช้ภาษาอังกฤษในระหว่างแพทย์ผู้ร่วมงานด้วยกัน การ อภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยและการเสนอความคิดเห็น การนาเสนอเคสผู้ปุวยในที่ประชุมแพทย์ 2. เพื่อให้นิสิตทราบหลักการ และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารกับผู้ปุวย และญาติ ของผู้ปุวย เกี่ยวกับผลการตรวจวินิจฉัยโรค, การวางแผนการรักษา, การส่งต่อผู้ปุวย, การแจ้งข่าวร้าย, การให้ คาแนะนาการปฏิบัติตัว และการนัดหมายเพื่อตรวจติดตามผลการรักษา หัวข้อการเรียนรู้ (Topics) 1. การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษระหว่างแพทย์ผู้ร่วมงาน 1.1 การเสนอความคิดเห็น และการอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัย 1.2 การนาเสนอเคสผู้ปุวยในที่ประชุมแพทย์ 2. การติดต่อสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับผู้ปุวย และญาติของผู้ปุวยในหัวข้อต่อไปนี้ 2.1 ผลการตรวจวินิจฉัยโรค 2.2 การแจ้งข่าวร้าย 2.3 การวางแผนการรักษา 2.4 การให้คาแนะนาการปฏิบัติตัวในการดูแลรักษา และพยากรณ์โรค 2.5 คาถามเพิ่มเติม และการนัดหมายเพื่อตรวจติดตามผลการรักษา กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning activities) ภาคบรรยายเชิงปฏิบัติการ 180 นาที (3 คาบการเรียนการสอน) ประกอบด้วย - นาเข้าสู่บทเรียน 15 นาที - บรรยายและฝึกปฏิบัติในสถานการณ์สมมติ 150 นาที - ซักถาม และตอบข้อสงสัย 15 นาที สื่อการเรียนการสอน (Teaching media) เอกสารประกอบการสอน และ powerpoint presentation
  • 59. 59 | P a g e การวัดและประเมินผล (Assessment) 1. Role playing: ประเมินโดยใช้ Rubric score เป็นรายบุคคล (16 คะแนน, คิดเป็น 10%) เนื้อหาสาระ (Content) 1. การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษระหว่างแพทย์ผู้ร่วมงาน 1.1 การเสนอความคิดเห็น และการอภิปรายผลการตรวจวินิจฉัย1 Uncertain Fairly certain Certain Yes might could may seems probably likely is must No possibly a possibility unlikely can’t definitely not exclude rule out ตัวอย่าง - The patient might have appendicitis. - Myocardial infarction is a possibility. - After physical examination, he seems to have rheumatoid arthritis. - There is no neck stiffness, It’s unlikely that he’s got meningitis. - From CT, he can’t have a space-occupying lesion. - Normal MRI scan excludes a parenchymal tumor. - From the biopsy report, she must have an intraductal carcinoma of the breast. 1.2 การนาเสนอเคสผู้ป่วยในที่ประชุมแพทย์2 ในการนาเสนอเคสผู้ปุวยในที่ประชุมแพทย์ เพื่ออภิปรายผลการตรวจวินิจฉัยโรค และแผนการ รักษานั้น แพทย์ผู้นาเสนอเคส สามารถดาเนินการเป็นขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. Introduction - I’d like to present + patient’s name - First of all, I’ll begin by presenting + patient’s name
  • 60. 60 | P a g e 2. Patient’s age and occupation - Mr. X is a 60-year-old bus driver. - Ms. Y is a 50-year-old school teacher. 3. Presenting symptoms and duration - He presented with a three-week history of pain in the legs. - She presented with a two-day history of high grade fever. 4. Associated symptoms - The pain was located around both ankles and had been increasing in intensity and swelling. - She also complained of coughing and having difficulty to breathe. 5. Past medical history - There was no relevant previous medical history. 6. Social history - He was divorced. He smoked 10 cigarettes a day for 30 years and drank about one liter of whisky per week for more than 10 years. 7. Family history - His father died of prostate cancer at the age of 75. - His mother was alive and well. 8. Findings on examination - On examination, there was + investigation findings - Nothing was abnormal on the abdominal examination. 9. Investigation results - Chest x-ray showed consolidation in the left lower lobe. - EKG revealed no abnormal tracing and the level of cardiac enzymes were within normal limit. 10. Diagnosis - So we thought he had + name of the disease diagnosed 11. Treatment - We gave him an intravenous antibiotic and + other treatments given - He received + options of treatment prescribed 12. Outcome of treatment - He responded to treatment well and was discharged home. - His condition was not improved and he was transferred to the ICU.
  • 61. 61 | P a g e 2. การติดต่อสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับผู้ป่วย และญาติของผู้ป่วยในหัวข้อต่อไปนี้2 2.1 ผลการตรวจวินิจฉัยโรค (Diagnosis) ผู้ปุวยจะคาดหวังให้แพทย์ผู้รักษาอธิบายผลการตรวจวินิจฉัยโรคในประเด็นต่อไปนี้ - สาเหตุของโรค และ ความเจ็บปุวยเกิดขึ้นได้อย่างไร - ความรุนแรงของโรค - แนวทางการรักษาโรค และโอกาสที่จะหายเป็นปกติ - คาแนะนาเพื่อการรักษาโรคและความเจ็บปุวย โดยในการอธิบายผลการตรวจวินิจฉัยโรค จะต้องคานึงถึง 1. ความรู้พื้นฐานของผู้ปุวยเกี่ยวกับโรค และปริมาณรายละเอียดของข้อมูลการตรวจวินิจฉัยโรคที่ผู้ปุวย ต้องการทราบ 2. เทคนิคในการช่วยให้ผู้ปุวยเข้าใจ และจดจารายละเอียดของข้อมูลผลการตรวจวินิจฉัยโรคที่แพทย์ได้ อธิบายได้อย่างถูกต้อง 3. พื้นฐานความคิด หรือความเชื่อของผู้ปุวยเกี่ยวกับโรค และการรักษาโรคนั้น ๆ เช่น ความเชื่อที่ เกี่ยวข้องกับศาสนา การรักษาโรคด้วยวิธีพื้นบ้าน หรือการแพทย์ทางเลือกอื่น เป็นต้น 4. คาถาม และข้อมูลอื่น ๆ เกี่ยวกับโรคที่ผู้ปุวยต้องการทราบเพิ่มเติม แพทย์แจ้งผลการตรวจวินิจฉัยโรคให้ผู้ปุวย และญาติผู้ปุวยทราบ โดยใช้รูปประโยคดังต่อไปนี้ “Expression” + The name of condition or disease diagnosed Useful expressions: - You’re suffering from … - You’ve developed … - You have … หลังจากนั้น ผู้ปุวยอาจจะสอบถามแพทย์เกี่ยวกับรายละเอียดของโรค หรือภาวะที่แพทย์ได้ วินิจฉัย โดย ถามถึงสาเหตุการเกิคความผิดปกติ (cause), กลไกการเกิดโรค (mechanism of disease), รายละเอียดผลการตรวจร่างกาย (physical examination) และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (laboratory investigation) เป็นต้น ซึ่งแพทย์สามารถให้คาอธิบายรายละเอียดข้อมูลดังกล่าว โดยคานึงถึงข้อแนะนาดังต่อไปนี้ 1. อธิบายโดยใช้คาศัพท์ที่ผู้ปุวยสามารถเข้าใจได้ (lay terms) หลีกเลี่ยงการใช้คาศัพท์เทคนิคเฉพาะ ทางด้านการแพทย์ (medical jargon) ตัวอย่าง - hematuria = blood in the urine - myocardial infarction = heart attack - dyspnea = difficult to breathe, breathlessness