SlideShare a Scribd company logo
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ
เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
น้ําหนัก (คะแนน)
ตัวบ่งชี้ รวม
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ๒๐
มาตรฐานด้านที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
๕
๑.๑ มีน้ําหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๑
๑.๒ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ๑.๕
๑.๓ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน ๑.๕
๑.๔ หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด ๑
มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
๕
๒.๑ ร่าเริม แจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ๑
๒.๒ มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ๑
๒.๓ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ๑
๒.๔ ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ ๒
มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม
๕
๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคําสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ๒
๓.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน ๑
๓.๓ เล่นและทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๑
๓.๔ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ ๑
มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา
๕
๔.๑ สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ ๑
๔.๒ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ๑
๔.๓ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ๑
๔.๔ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ๑
๔.๕ มีจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ๑
๒
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
น้ําหนัก (คะแนน)
ตัวบ่งชี้ รวม
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา ๖๕
มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผล
๒๐
๕.๑ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย
และสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์
๒
๕.๒ ครูจัดทําแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้อง
กับความแตกต่างระหว่างบุคคล
๒
๕.๓ ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก ๒
๕.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ๒
๕.๕ ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย
และสรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง
๒
๕.๖ ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับ
การจัดประสบการณ์
๒
๕.๗ ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ๒
๕.๘ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง ๒
๕.๙ ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย ๒
๕.๑๐ ครูจัดทําสารนิทัศน์และนํามาไตร่ตรอง เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก ๒
มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล
๖.๑ ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ๓
๖.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นํา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็ก ๓
๓
ปฐมวัย
๒๐
๖.๓ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผล
หรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ
๓
๖.๔ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาม
แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
๓
๖.๕ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ๓
๖.๖ ผู้บริหารให้คําแนะนํา คําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัด
การศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
๓
๖.๗ เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ๒
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
น้ําหนัก
(คะแนน)
ตัวบ่งชี้ รวม
มาตรฐานที่ ๗ แนวทางการจัดการศึกษา
๒๐
๗.๑ มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนําสู่การปฏิบัติได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๔
๗.๒ มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัด
การศึกษาปฐมวัย
๔
๗.๓ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการศึกษา
ปฐมวัย
๔
๗.๔ สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และ
ท้องถิ่น
๔
๗.๕ จัดสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ๔
มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
๕
๘.๑ กําหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา ๑
๘.๒ จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง
พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๑
๘.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ ๑
๘.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานคุณภาพภายในตาม ๐.๕
๔
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๘.๕ นําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๐.๕
๘.๖ จัดทํารายงานประจําปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ๑
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๕
มาตรที่ ๙ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา
เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
๕๙.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา ๒.๕
๙.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ
ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
๒.๕
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
น้ําหนัก
(คะแนน)
ตัวบ่งชี้ รวม
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๕
มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา
วิสัยทัศน์ และ จุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย ๕
๑๐.๑ จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาเด็กให้มี วินัย สร้างได้ด้วยกระบวนการทาง
ลูกเสือ
๓
๑๐.๒ ผลการดําเนินงานส่งเสริมให้เด็กมี วินัย ๒
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม ๕
มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูป
การศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น
๕๑๑.๑ จัดโครงการ กิจกรรมการนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
๓
๕
๑๑.๒ ผลการดําเนินงานนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา บรรลุตามเป้าหมาย
๒
ประกาศโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ
เรื่อง การกําหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับ
การศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
๖
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานด้านที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ระดับดีเยี่ยม
๑.๑ มีน้ําหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๑.๒ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๑.๓ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน ร้อยละ ๘๕ ระดับดีขึ้นไป
๑.๔ หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ระดับดีมาก
๒.๑ ร่าเริม แจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๒.๒ มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป
๒.๓ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป
๒.๔ ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ระดับดีมาก
๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคําสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ร้อยละ ๘๕ ระดับดีขึ้นไป
๓.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๓.๓ เล่นและทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๓.๔ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ระดับดีมาก
๔.๑ สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป
๔.๒ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป
๔.๓ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป
๔.๔ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป
๔.๕ มีจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป
๗
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและ
เกิดประสิทธิผล
ระดับดีมาก
๕.๑ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และ
สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์
ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๕.๒ ครูจัดทําแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
และสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้อง
กับความแตกต่างระหว่างบุคคล
ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๕.๓ ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๕.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๕.๕ ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย
และสรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง
ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๕.๖ ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับ
การจัดประสบการณ์
ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๕.๗ ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๕.๘ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๕.๙ ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
๕.๑๐ ครูจัดทําสารนิทัศน์และนํามาไตร่ตรอง เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธิผล
ระดับดีมาก
๖.๑ ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ระดับดีมาก
๖.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นํา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย
ระดับดีมาก
๖.๓ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือ
การวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ
ระดับดีมาก
๖.๔ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนา
คุณภาพสถานศึกษา
ระดับดีมาก
๖.๕ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ระดับดีมาก
๘
๖.๖ ผู้บริหารให้คําแนะนํา คําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษา
ปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
ระดับดีมาก
๖.๗ เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ระดับดีมาก
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานที่ ๗ แนวทางการจัดการศึกษา ระดับดีมาก
๗.๑ มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนําสู่การปฏิบัติได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ระดับดีมาก
๗.๒ มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษา
ปฐมวัย
ระดับดีมาก
๗.๓ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการศึกษา
ปฐมวัย
ระดับดีมาก
๗.๔ สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และ
ท้องถิ่น
ระดับดี
๗.๕ จัดสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ระดับดีมาก
มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
ระดับดีมาก
๘.๑ กําหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา ระดับดีมาก
๘.๒ จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง
พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับดีมาก
๘.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ ระดับดี
๘.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับดี
๘.๕ นําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ระดับดีมาก
๘.๖ จัดทํารายงานประจําปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ระดับดีมาก
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
๙
มาตรที่ ๙ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา
เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
ระดับดีมาก
๙.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา ระดับดีมาก
๙.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ
ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
ระดับดีมาก
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา
วิสัยทัศน์ และ จุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย
ระดับดีมาก
๑๐.๑ จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาเด็กให้มี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ระดับดีมาก
๑๐.๒ ผลการดําเนินงานส่งเสริมให้เด็กมี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูป
การศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น
ระดับดีมาก
๑๑.๑ จัดโครงการ กิจกรรมการนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
ระดับดีมาก
๑๑.๒ ผลการดําเนินงานนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา บรรลุตามเป้าหมาย
ระดับดีมาก

More Related Content

What's hot

โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
โรงเรียน บ้านสุไหงโก-ลก
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
8752584
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
ไชยา แก้วผาไล
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เกษสุดา สนน้อย
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
KruPa Jggdd
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
YingZaa TK
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
 
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
ทับทิม เจริญตา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 

What's hot (20)

โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 

Viewers also liked

มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..Montree Jareeyanuwat
 
สุขศึกษา1
สุขศึกษา1สุขศึกษา1
สุขศึกษา1
tanida2011
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่
Prapakorn Srisawangwong
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
บีน้อย สุชาดา
 

Viewers also liked (7)

มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)
 
สุขศึกษา1
สุขศึกษา1สุขศึกษา1
สุขศึกษา1
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 

Similar to ค่าน้ำหนักปฐมวัย

ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัยประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัยwarijung2012
 
การกำหนดค่าเป้าหมายประถม
การกำหนดค่าเป้าหมายประถมการกำหนดค่าเป้าหมายประถม
การกำหนดค่าเป้าหมายประถมwarijung2012
 
เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาปี59
เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาปี59เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาปี59
เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาปี59
admin_thawara
 
กำหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศ
กำหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศกำหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศ
กำหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศEkachai Duangjai
 
Stardardanuban54
Stardardanuban54Stardardanuban54
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56Pochchara Tiamwong
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษาKrudachayphum Schoolnd
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
Nattapon
 
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
kanokwan6186
 
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
Mild Pichaporn
 
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
อาย' สายหื่นนนนน
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพปี58
สรุปผลการประเมินคุณภาพปี58สรุปผลการประเมินคุณภาพปี58
สรุปผลการประเมินคุณภาพปี58
admin_thawara
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อanuban bandek
 
Standard54
Standard54Standard54
แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3
tassanee chaicharoen
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
Kongkrit Pimpa
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
Boonlert Aroonpiboon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุขชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
Hathaichon Nonruongrit
 

Similar to ค่าน้ำหนักปฐมวัย (20)

ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัยประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
ประกาศใช้มาตรฐานปฐมวัย
 
การกำหนดค่าเป้าหมายประถม
การกำหนดค่าเป้าหมายประถมการกำหนดค่าเป้าหมายประถม
การกำหนดค่าเป้าหมายประถม
 
เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาปี59
เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาปี59เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาปี59
เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาปี59
 
กำหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศ
กำหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศกำหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศ
กำหนดค่าเป้าหมายแนบท้ายประกาศ
 
Madtathan1 7
Madtathan1 7Madtathan1 7
Madtathan1 7
 
Stardardanuban54
Stardardanuban54Stardardanuban54
Stardardanuban54
 
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค5620แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
20แบบประเมิน พฐ15มฐมีค56
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
 
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
 
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
1มาตรฐานการศึกษา15มฐ
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพปี58
สรุปผลการประเมินคุณภาพปี58สรุปผลการประเมินคุณภาพปี58
สรุปผลการประเมินคุณภาพปี58
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
 
Standard54
Standard54Standard54
Standard54
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3แผนการเรียนรู้ที่ 3
แผนการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุขชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
 

More from warijung2012

ผลการแข่งขันการงานระดับประถมศึกษา
ผลการแข่งขันการงานระดับประถมศึกษาผลการแข่งขันการงานระดับประถมศึกษา
ผลการแข่งขันการงานระดับประถมศึกษาwarijung2012
 
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยมผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยมwarijung2012
 
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยมผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยมwarijung2012
 
ผลการแข่งขันคอมประถม
ผลการแข่งขันคอมประถมผลการแข่งขันคอมประถม
ผลการแข่งขันคอมประถมwarijung2012
 
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมwarijung2012
 
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมwarijung2012
 
ผลการแข่งขันการงานประถม
ผลการแข่งขันการงานประถมผลการแข่งขันการงานประถม
ผลการแข่งขันการงานประถมwarijung2012
 
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยมตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยมwarijung2012
 
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมwarijung2012
 
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยมตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยมwarijung2012
 
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมwarijung2012
 
สรุปรายชื่อโรงเรียนที่เข้าแข่งขันกิจกรรม
สรุปรายชื่อโรงเรียนที่เข้าแข่งขันกิจกรรมสรุปรายชื่อโรงเรียนที่เข้าแข่งขันกิจกรรม
สรุปรายชื่อโรงเรียนที่เข้าแข่งขันกิจกรรมwarijung2012
 
เปรียบเทียบผลการสอบ O
เปรียบเทียบผลการสอบ Oเปรียบเทียบผลการสอบ O
เปรียบเทียบผลการสอบ Owarijung2012
 
ปกรายงาน55
ปกรายงาน55ปกรายงาน55
ปกรายงาน55warijung2012
 
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงwarijung2012
 

More from warijung2012 (20)

ผลการแข่งขันการงานระดับประถมศึกษา
ผลการแข่งขันการงานระดับประถมศึกษาผลการแข่งขันการงานระดับประถมศึกษา
ผลการแข่งขันการงานระดับประถมศึกษา
 
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยมผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
 
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยมผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
ผลการแข่งขันการงานและเทคโนมัธยม
 
ผลการแข่งขันคอมประถม
ผลการแข่งขันคอมประถมผลการแข่งขันคอมประถม
ผลการแข่งขันคอมประถม
 
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
 
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
 
ผลการแข่งขันการงานประถม
ผลการแข่งขันการงานประถมผลการแข่งขันการงานประถม
ผลการแข่งขันการงานประถม
 
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยมตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
 
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
 
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยมตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
ตารางการแข่งขันเทคโนมัธยม
 
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถมตารางการแข่งขันเทคโนประถม
ตารางการแข่งขันเทคโนประถม
 
Sumlist
SumlistSumlist
Sumlist
 
สรุปรายชื่อโรงเรียนที่เข้าแข่งขันกิจกรรม
สรุปรายชื่อโรงเรียนที่เข้าแข่งขันกิจกรรมสรุปรายชื่อโรงเรียนที่เข้าแข่งขันกิจกรรม
สรุปรายชื่อโรงเรียนที่เข้าแข่งขันกิจกรรม
 
Table
TableTable
Table
 
Table
TableTable
Table
 
Table
TableTable
Table
 
Table
TableTable
Table
 
เปรียบเทียบผลการสอบ O
เปรียบเทียบผลการสอบ Oเปรียบเทียบผลการสอบ O
เปรียบเทียบผลการสอบ O
 
ปกรายงาน55
ปกรายงาน55ปกรายงาน55
ปกรายงาน55
 
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
 

ค่าน้ำหนักปฐมวัย

  • 1. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ น้ําหนัก (คะแนน) ตัวบ่งชี้ รวม มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ๒๐ มาตรฐานด้านที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ๕ ๑.๑ มีน้ําหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๑ ๑.๒ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ๑.๕ ๑.๓ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน ๑.๕ ๑.๔ หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด ๑ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ๕ ๒.๑ ร่าเริม แจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ๑ ๒.๒ มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ๑ ๒.๓ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ๑ ๒.๔ ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ ๒ มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ๕ ๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคําสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ๒ ๓.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน ๑ ๓.๓ เล่นและทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๑ ๓.๔ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ ๑ มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ๕ ๔.๑ สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ ๑ ๔.๒ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ๑ ๔.๓ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ๑ ๔.๔ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ๑ ๔.๕ มีจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ๑
  • 2. ๒ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ น้ําหนัก (คะแนน) ตัวบ่งชี้ รวม มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา ๖๕ มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล ๒๐ ๕.๑ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์ ๒ ๕.๒ ครูจัดทําแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัยและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้อง กับความแตกต่างระหว่างบุคคล ๒ ๕.๓ ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก ๒ ๕.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ๒ ๕.๕ ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง ๒ ๕.๖ ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับ การจัดประสบการณ์ ๒ ๕.๗ ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ๒ ๕.๘ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง ๒ ๕.๙ ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย ๒ ๕.๑๐ ครูจัดทําสารนิทัศน์และนํามาไตร่ตรอง เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก ๒ มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ๖.๑ ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ๓ ๖.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นํา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็ก ๓
  • 3. ๓ ปฐมวัย ๒๐ ๖.๓ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผล หรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ ๓ ๖.๔ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตาม แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ๓ ๖.๕ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ๓ ๖.๖ ผู้บริหารให้คําแนะนํา คําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัด การศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ๓ ๖.๗ เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ๒ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ น้ําหนัก (คะแนน) ตัวบ่งชี้ รวม มาตรฐานที่ ๗ แนวทางการจัดการศึกษา ๒๐ ๗.๑ มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนําสู่การปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ๔ ๗.๒ มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัด การศึกษาปฐมวัย ๔ ๗.๓ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการศึกษา ปฐมวัย ๔ ๗.๔ สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และ ท้องถิ่น ๔ ๗.๕ จัดสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ๔ มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ๕ ๘.๑ กําหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา ๑ ๘.๒ จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๑ ๘.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ ๑ ๘.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานคุณภาพภายในตาม ๐.๕
  • 4. ๔ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๘.๕ นําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๐.๕ ๘.๖ จัดทํารายงานประจําปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ๑ มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ๕ มาตรที่ ๙ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ๕๙.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา ๒.๕ ๙.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ๒.๕ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ น้ําหนัก (คะแนน) ตัวบ่งชี้ รวม มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ๕ มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และ จุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย ๕ ๑๐.๑ จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาเด็กให้มี วินัย สร้างได้ด้วยกระบวนการทาง ลูกเสือ ๓ ๑๐.๒ ผลการดําเนินงานส่งเสริมให้เด็กมี วินัย ๒ มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม ๕ มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูป การศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ๕๑๑.๑ จัดโครงการ กิจกรรมการนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ๓
  • 5. ๕ ๑๑.๒ ผลการดําเนินงานนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา บรรลุตามเป้าหมาย ๒ ประกาศโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เรื่อง การกําหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับ การศึกษาปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
  • 6. ๖ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานด้านที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ระดับดีเยี่ยม ๑.๑ มีน้ําหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๑.๒ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๑.๓ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน ร้อยละ ๘๕ ระดับดีขึ้นไป ๑.๔ หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ระดับดีมาก ๒.๑ ร่าเริม แจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๒.๒ มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป ๒.๓ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป ๒.๔ ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ระดับดีมาก ๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคําสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ร้อยละ ๘๕ ระดับดีขึ้นไป ๓.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๓.๓ เล่นและทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๓.๔ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ระดับดีมาก ๔.๑ สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป ๔.๒ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป ๔.๓ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป ๔.๔ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป ๔.๕ มีจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ร้อยละ ๘๐ ระดับดีขึ้นไป
  • 7. ๗ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล ระดับดีมาก ๕.๑ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และ สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๕.๒ ครูจัดทําแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้อง กับความแตกต่างระหว่างบุคคล ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๕.๓ ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๕.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๕.๕ ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๕.๖ ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับ การจัดประสบการณ์ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๕.๗ ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๕.๘ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๕.๙ ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป ๕.๑๐ ครูจัดทําสารนิทัศน์และนํามาไตร่ตรอง เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ระดับดีมาก ๖.๑ ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ระดับดีมาก ๖.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นํา และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย ระดับดีมาก ๖.๓ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือ การวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ ระดับดีมาก ๖.๔ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา ระดับดีมาก ๖.๕ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ระดับดีมาก
  • 8. ๘ ๖.๖ ผู้บริหารให้คําแนะนํา คําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษา ปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ระดับดีมาก ๖.๗ เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ระดับดีมาก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๗ แนวทางการจัดการศึกษา ระดับดีมาก ๗.๑ มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนําสู่การปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ระดับดีมาก ๗.๒ มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษา ปฐมวัย ระดับดีมาก ๗.๓ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการศึกษา ปฐมวัย ระดับดีมาก ๗.๔ สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และ ท้องถิ่น ระดับดี ๗.๕ จัดสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ระดับดีมาก มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ระดับดีมาก ๘.๑ กําหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา ระดับดีมาก ๘.๒ จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับดีมาก ๘.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ ระดับดี ๘.๔ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานคุณภาพภายในตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับดี ๘.๕ นําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ระดับดีมาก ๘.๖ จัดทํารายงานประจําปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ระดับดีมาก มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
  • 9. ๙ มาตรที่ ๙ สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษา เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ระดับดีมาก ๙.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา ระดับดีมาก ๙.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ระดับดีมาก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๐ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และ จุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย ระดับดีมาก ๑๐.๑ จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาเด็กให้มี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ระดับดีมาก ๑๐.๒ ผลการดําเนินงานส่งเสริมให้เด็กมี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ร้อยละ ๙๐ ระดับดีขึ้นไป มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูป การศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ระดับดีมาก ๑๑.๑ จัดโครงการ กิจกรรมการนํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ระดับดีมาก ๑๑.๒ ผลการดําเนินงานนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา บรรลุตามเป้าหมาย ระดับดีมาก