SlideShare a Scribd company logo
1 of 93
หน่วยที่ 3
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
ความหมายของซอฟต์แวร์ ตามโปรแกรมพจนานุกรมไทยซอฟท์แวร์
ThaiSoftwareDictionary, สอ เสถบุตร ได้แยกความหมาย
ออกเป็นสองส่วนคือ
• Soft (ซ็อฟท) n. adj. adv. หมายถึง อ่อน อ่อนนุ่ม เบา
จาง เลือน
• ware (แว) n. หมายถึง ภาชนะ เครื่องใช้ สินค้า
เมื่อนาสองคามารวมกัน (แปลตามโปรแกรมพจนานุกรมไทย
ซอฟท์แวร์) มีความหมายว่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือชุดคาสั่งที่
เขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึ่ง
ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแปลและรับรู้ได้ คานี้มักจะใช้เพื่อ
ชี้ให้เห็นความแตกต่างเมื่อเทียบกับส่วนตัวเครื่องหรือฮาร์ดแวร์
(hardware)
ซอฟต์แวร ์คือ กลุ่มของชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทางานได้ตามที่ต้องการ การที่คอมพิวเตอร์ทางานได้
อย่างอัตโนมัติโดยที่มนุษย์ไม่ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องในการประมวลผล
นั้น ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการทางานของซอฟต์แวร์นั่นเอง โดย
ปกติแล้วผู้ที่เขียนชุดคาสั่งนี้ขึ้นมาเรามักเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม
(programmer)
ประเภทของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับ
การควบคุมการทางานที่ใกล้ชิดกับอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยจะ
ทาหน้าที่ติดต่อ ควบคุม และสั่งการให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้
อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกันให้ได้มากที่สุด รวมถึงการบารุงรักษา
ระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีการใช้งานได้ยาวนานขึ้นอีกด้วย ซอฟต์แวร์
ระบบแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกันคือ
• ระบบปฏิบัติการ (operating system)
• โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
(Application Software)
เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะด้านเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้องกับการ
ควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ แต่จะทางานได้โดยเรียกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่าน
ซอฟต์แวร์ระบบอีกทอดหนึ่ง ซอฟต์แวร์นี้สามารถแบ่งออกได้หลายชนิดขึ้นอยู่
กับลักษณะเกณฑ์ที่ใช้แบ่ง พอสรุปได้ดังนี้
– แบ่งตามลักษณะการผลิต ได้ 2 ประเภทคือ
• ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ (Proprietary Software)
• ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป (Off-the-shelf Software หรือ
Packaged Software)
• แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน ได้ 3 กลุ่มใหญ่คือ
–กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (business)
–กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟฟิกและมัลติมีเดีย (graphic
and multimedia)
–กลุ่มสาหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร (web
and communications)
การจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้งาน
โดยปกติแล้วเราสามารถหาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้หลาย ๆ วิธี ซึ่ง
อาจจะอยู่ในรูปแบบของการสั่งซื้อโดยตรงกับบริษัทผู้ผลิตหรือใช้
ตัวอย่างทดลองจากการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตก็ได้
สรุปวิธีการเลือกซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ดังนี้
แบบสาเร็จรูป (Packaged หรือ
Ready-made Software)
วิธีการนี้ผู้ใช้งานสามารถที่จะเข้าไปเดินหาซื้อได้กับตัวแทนจาหน่ายซอฟต์แวร์ที่ได้รับการ
แต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งาน
ไว้อยู่แล้ว ผู้ใช้สามารถที่จะหยิบเลือกซื้อได้ เมื่อพอใจในตัวสินค้าซอฟต์แวร์นั้น ๆ และนาไป
ติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านร้าน ตัวแทนจาหน่ายได้ อาจเข้าไป
ในเว็บไซท์ของบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ นั้น ๆ แล้วกรอกรายการชาระเงินผ่านแบบฟอร์ม
บนเว็บ เมื่อรายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายชาระเงินของผู้ซื้อได้รับการอนุมัติก็สามารถนาเอา
ซอฟต์แวร์ดังกล่าวมาใช้ได้ทันที
แบบว่าจ้างทา (Customized หรือ Tailor-
made Software)
กรณีบางองค์กรมีลักษณะงานที่เป็นแบบเฉพาะของตนเองและไม่
สามารถนาโปรแกรมสาเร็จรูปมาประยุกต์ใช้ได้ ก็สามารถที่จะผลิต
ขึ้นมาเองหรือว่าจ้างให้บุคลากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ
โดยเฉพาะทาการผลิตซอฟต์แวร์ออกมาให้ตรงตามคุณสมบัติที่
ต้องการ ซึ่งวิธีการนี้อาจมีค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างให้เขียนซอฟต์แวร์
ที่มีต้นทุนแพงกว่าแบบสาเร็จรูปอยู่พอสมควร
แบบทดลองใช้ (Shareware)
การใช้งานโปรแกรม ผู้ใช้งานอาจมีความต้องการเพียงแค่อยากทดสอบการใช้
งานของโปรแกรมนั้น ๆ ก่อนว่าดีหรือไม่ และจะเหมาะสมกับงานที่ทาอยู่อย่างไร
บ้าง บริษัทผลิตจึงมักจะมีโปรแกรมเพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อนได้ แต่อาจจะ
มีการกาหนดระยะเวลาทดลองใช้งานหรือเงื่อนไขอื่น ๆ เพิ่มเติมด้วย เช่น ใช้ได้
ภายใน 30 วัน หรือปรับลดคุณสมบัติบางอย่างลงไป วิธีการนี้ทาให้ผู้ใช้
สามารถที่จะทดลองใช้ก่อนตัดสินใจซื้อได้ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ส่วนใหญ่แล้ว
มักจะมีให้ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ตโดยทั่วไป ซึ่งหาได้ตามเว็บไซต์ของผู้ผลิต
โดยตรง หรือเว็บไซต์ที่ให้บริการดาวน์โหลดซอฟต์แวร์โดยเฉพาะ
แบบใช้งานฟรี (Freeware)
ปัจจุบันเราสามารถเลือกหาโปรแกรมที่แจกใช้กันฟรี ๆ เพื่อตอบสนองกับการทางานที่
หลากหลายมาได้โดยง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแหล่งบริการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ต
ซึ่งมักเป็นโปรแกรมขนาดเล็กและใช้เวลาเพียงไม่กี่นาที ซึ่งผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจ่ายเงินให้กับ
ผู้ผลิตแต่อย่างใด แต่เนื่องจากเป็นของที่ใช้กันฟรี ๆ จึงอาจจะไม่มีคู่มือหรือเอกสาร
ประกอบอย่างละเอียดเหมือนกับที่ต้องเสียเงินซื้อ เนื่องจากเป้าหมายของผู้ผลิตคือ
ต้องการพัฒนาโปรแกรมเพื่อเผยแพร่ผลงานของตนเองให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นและทดสอบ
ระบบที่พัฒนาเพียงเท่านั้น อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะแจกใช้ฟรี ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ก็ยัง
เป็นของบริษัทผู้ผลิตอยู่ ไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงภายใต้เงื่อนไขที่
กาหนดได้
แบบโอเพ่นซอร์ส (Public-Domain/Open
Source)
บางองค์กรที่มีกลุ่มบุคคลผู้มีความรู้และความเชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนา
ซอฟต์แวร์ หากต้องการใช้ซอฟต์แวร์ แต่ไม่ต้องเสียเวลาในการพัฒนาที่
ยาวนานเกินไป อาจจะเลือกใช้กลุ่มของซอฟต์แวร์ที่มีการเปิดแก้ไขปรับปรุง
ตัวโปรแกรมต่าง ๆ ได้เอง อีกทั้งยังไม่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ใด ๆ ด้วย
ซอฟต์แวร ์กลุ่มนี้เรียกว่า โอเพ่นซอร์ส (open source)
ผู้ใช้งานสามารถที่จะนาเอาโค้ด ต่าง ๆ ไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ได้ตามความ
ต้องการภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดหรือระบุไว้ของผู้ผลิตดั้งเดิม
ระบบปฏิบัติการ
(OS – Operating System)
เป็นซอฟต์แวร์ใช้สาหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์
ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจา ไปจนถึงส่วนนาเข้าและส่งออกผลลัพธ์
(input/output device) บางครั้งก็นิยมเรียกรวมๆ ว่า แพลตฟอร์ม
(platform) คอมพิวเตอร์จะทางานได้จาเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ใน
เครื่องเสียก่อน ซึ่งขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิตเครื่องนั้น ๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม หรือ
ระบบปฏิบัติการอะไรในการทางาน เราจะพบเห็นระบบปฏิบัติการอยู่ในคอมพิวเตอร์แทบ
จะทุกประเภทตั้งแต่ขนาดใหญ่อย่างเครื่องเมนเฟรม จนถึงระดับเล็กสุดเช่น เครื่อง
คอมพิวเตอร์พกพาประเภทพีดีเอ
• การทางานแบบ Multi-Tasking คือ ความสามารถในการทางานได้
หลาย ๆ งานหรือหลาย ๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่
ไปกับการท่องเว็บ
• การทางานแบบ Multi-User ในระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้
ด้วยกันแบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการที่ทาหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่าง
หนึ่งเรียกว่า multi-user หรือความสามารถในการทางานกับผู้ใช้ได้
หลาย ๆ คน ขณะที่มีการประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน ทาให้กระจายการ
ใช้ได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน อาจจะนาเอาไปใช้ได้กับ
คอมพิวเตอร์หลากหลายชนิด ตั้งแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ระดับใหญ่จนถึงอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) มุ่งเน้นการ
ให้บริการสาหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว นิยมใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
ประมวลผลและทางานแบบทั่วไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือ
สานักงาน ซึ่งติดตั้งระบบปฏิบัติการนี้ไว้รองรับการทางาน เช่น พิมพ์รายงาน
ดูหนัง ฟังเพลง หรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ปัจจุบันพัฒนาให้มี
คุณสมบัติที่เป็นเครื่องลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย
ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (network OS) เป็นระบบปฏิบัติการที่
มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้หลาย ๆ คน (multi-user) นิยมใช้
สาหรับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสาหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ
มักพบเห็นได้กับการนาไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้ง
ระบบปฏิบัติการเหล่านี้จะเรียกว่า เครื่อง server ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องแม่ข่าย
ที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับผู้ใช้
ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (network OS)
ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embedded OS)
เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น
พีดีเอหรือ Smart phone บางรุ่น สามารถช่วยในการทางานของ
อุปกรณ์แบบไม่ประจาที่เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อม ๆ กับ
ที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น บางระบบมี
คุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวด้วย เช่น รองรับการทางาน
ทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้
ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (Stand-Alone OS)
DOS (Disk Operating System) เป็นระบบปฏิบัติการซึ่งได้มีการพัฒนา
ขึ้นเมื่อประมาณปี 1980 เพื่อใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นหลักทางาน โดยใช้
การป้อนชุดคาสั่งที่เรียกว่า command-line ซึ่งต้องป้อนข้อมูลทีละบรรทัด เพื่อให้
เครื่องทางานตามคาสั่งนั้น ๆ ครั้งแรกมีชื่อเรียกว่า PC-DOS เพื่อใช้งานกับเครื่องของบริษัท
ไอบีเอ็ม ภายหลังเมื่อคอมพิวเตอร์ได้รับความนิยมมากขึ้น จนเกิดเครื่องที่ผลิตขึ้นมาเลียนแบบ
อย่างมากมายคล้ายกับเครื่องของไอบีเอ็ม (IBM compatible) บริษัทไมโครซอฟท์
ซึ่งมีทีมงานที่เคยผลิต PC –DOS ให้กับไอบีเอ็มมาก่อน จึงได้ทาระบบปฏิบัติการแบบใหม่
ออกมาเป็นของตนเองและเรียกชื่อใหม่ว่า MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ DOS
Windows
การทางานที่ต้องคอยป้อนคาสั่งทีละบรรทัดเพื่อเรียกทางานในระบบปฏิบัติการแบบ
DOS นั้น ผู้ใช้ที่ไม่มีความรู้และความชานาญเพียงพอมักจะจดจารูปแบบคาสั่งต่าง ๆ ใน
การใช้งานได้ไม่ค่อยดีนัก
บริษัทไมโครซอฟท์จึงได้นาเอาแนวคิดของระบบการใช้งานที่เรียกว่า GUI
(Graphical User Interface) ซึ่งมีผู้คิดค้นขึ้นก่อนหน้า เอามาใช้ใน
ระบบ
ปฏิบัติการตัวใหม่ที่มีชื่อว่า Windows เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ส่งผลให้ผู้ใช้และ
ระบบปฏิบัติการสามารถทางานร่วมกันได้คล่องตัวมากยิ่งขึ้น เพราะเป็นการนาเอา
รูปแบบของสัญลักษณ์ที่เป็นภาพกราฟิกเข้ามาแทนการป้อนข้อมูลคาสั่งทีละบรรทัดโดยที่ผู้ใช้
ไม่จาเป็นต้องจดจาคาสั่งต่าง ๆ ก็สามารถใช้งานได้โดยง่าย
Windows ให้หลักการแบ่งงานออกเป็นส่วน ๆ ที่เรียกว่า
หน้าต่างงาน (window) ซึ่งแสดงผลลัพธ์ของแต่ละโปรแกรม
ปัจจุบันได้รับความนิยมในการใช้งานอย่างแพร่หลายและมีการผลิตและ
จาหน่ายออกมาหลาย ๆ รุ่นด้วยกัน เช่นWindows Vista
เป็นต้น
Mac OS X
เป็นระบบปฏิบัติการที่สร้างขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ของบริษัทแอปเปิ้ล
โดยเฉพาะเท่านั้น ซึ่งเน้นการใช้งานประเภทสิ่งพิมพ์ กราฟิก ศิลปะ เป็นหลัก
รุ่น Mac OS 9 เป็นระบบปฏิบัติการแบบเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนใคร และรุ่น OS X
(X คือเลข 10 แบบโรมัน) ได้รับการพัฒนามาจากระบบปฏิบัติการแบบ UNIX แต่ก็ยัง
เป็นแบบเฉพาะตัวอยู่ คือเครื่องของบริษัทอื่นหรือที่ประกอบขึ้นมาเองไม่สามารถที่จะใช้
ระบบปฏิบัติการตัวนี้ได้ เนื่องจากการใช้ระบบการประมวลผลที่ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้
รูปแบบและการทางานต่าง ๆ ของ Mac OS X จะมีระบบสนับสนุนแบบ GUI
เช่นเดียวกันกับระบบปฏิบัติการ Windows (ความจริงใช้มาก่อน Windows)
ระบบปฏิบัติการ OS X
ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (Network OS)
Windows Server เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับ
ระบบเครือข่ายโดยเฉพาะรุ่นแรกออกมาใช้ชื่อ Windows NT และพัฒนา
ต่อมาเป็น Windows2000 และรุ่น Windows Server
2003 ซึ่งผลิตออกมาเพื่อรองรับกับการใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและ
ขนาดกลาง พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ ส่วนใหญ่เหมาะกับการติดตั้ง และ
ใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย (server)
ระบบปฏิบัติการ Windows Server
Unix
เป็นระบบปฏิบัติการที่มักใช้กับผู้ที่มีความรู้ทางด้าน
คอมพิวเตอร์ค่อนข้างมาก รองรับการทางานของผู้ใช้หลาย ๆ
คนพร้อมกัน (multi-user) การปรับเปลี่ยนและแก้ไข
ระบบต่าง ๆ มีความยืดหยุ่นในการทางานได้ดีกว่า มีการพัฒนา
ระบบที่สนับสนุนให้ใช้งานได้ทั้งแบบเครือข่ายและแบบเดี่ยว
โปรแกรม Mac OS, Linux et Unix OS
Linux
เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมมากเช่นเดียวกัน เนื่องจากเปิดให้ใช้
รวมถึงพัฒนาต่อยอดเพื่อแก้ไขชุดคาสั่งต่าง ๆ ได้ฟรี ในปัจจุบันหลาย ๆ ประเทศ
ได้พยายามส่งเสริมให้มีการใช้ระบบปฏิบัติการนี้อย่างต่อเนื่องเพื่อลดปัญหาการ
ขาดดุลการค้า เนื่องจากการนาเข้าซอฟท์แวร์จากต่างประเทศ รวมทั้งเพื่อลด
ปัญหาในประเด็นของความมั่นคงที่จะไม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีของต่างประเทศได้
อีกด้วย ระบบ Linux พัฒนาโดยอาศัยต้นแบบการใช้งานของระบบ Unix
และใช้โค้ดที่เขียนและเผยแพร่ในแบบโอเพ่น-ซอร์ส (open source)
ที่เปิดเผยโปรแกรมต้นฉบับให้ผู้ใช้สามารถจะพัฒนาและแก้ไขระบบต่างๆ ได้เอง
ตามที่ต้องการ มีการผลิตออกมาหลายชื่อเรียกแตกต่างกันไป สาหรับประเทศไทย
ได้มีการพัฒนา Linux ออกมาใช้เช่น Linux TLE ของศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics
and Computer Technology Centre) หรือ NECTEC
เป็นต้น Linux มีทั้งแบบที่ใช้สาหรับงานควบคุมเครือข่ายเช่นเดียวกันกับ
ระบบปฏิบัติการแบบ Unix และแบบที่ใช้สาหรับงานบนเครื่องสาหรับผู้ใช้คนเดียว
ระบบปฏิบัติการ Linux
เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายอีกรูปแบบหนึ่ง ออกแบบมาสาหรับการใช้งาน
คอมพิวเตอร์แบบเครือข่ายสาหรับองค์กรได้เป็นอย่างดี พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม
เพื่อใช้เป็นระบบที่ควบคุมเครื่องแม่ข่ายหรือ server เช่นเดียวกัน แต่ไม่
ประสบความสาเร็จอย่างที่ควร ปัจจุบันได้เลิกพัฒนาต่อแล้ว
OS/2 Wrap Server
ระบบปฏิบัติการ OS/2 Warp Server
Solaris
เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่อยู่ในตระกูลเดียวกับระบบปฏิบัติการ Unix
(Unix compatible) พัฒนาขึ้นโดยบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์
รองรับการทางานแบบเครือข่ายได้เช่นเดียวกับระบบอื่น ๆ
ระบบปฏิบัติการ Solaris
ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (Embedded OS)
เรามักจะพบเห็นการใช้งานของระบบปฏิบัติการแบบฝังกับอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา เช่น Palm, Pocket PC, Smart
phone รวมถึงอุปกรณ์ขนาดเล็กอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น
Windows Mobile (Windows CE เดิม)
บริษัทไมโครซอฟท์ ผู้ผลิตระบบปฏิบัติการยักษ์ใหญ่ที่มีความชานาญจากการ
สร้างระบบที่ใช้สาหรับเครื่องพีซีมาก่อน ได้หันมาเน้นการผลิตเพื่อใช้งานร่วมกับ
การควบคุมในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กมากยิ่งขึ้น โดยสร้าง
ระบบปฏิบัติการที่มีชื่อเรียกว่า Windows Mobile (เดิมใช้ชื่อว่า
Windows CE หรือ Consumer Electronics และตั้งแต่
เวอร์ชั่น 3 ขึ้นไปเรียกเป็น Pocket PC 2002 และ 2003)
เหมือนกับชื่อเครื่อง และรุ่นที่ 5 ก็เรียกเป็น Windows Mobile 5)
ระบบปฏิบัติการ Windows Mobile
มีใช้ในเครื่อง Pocket PC และในโทรศัพท์มือถือบางรุ่น
Palm OS
เป็นระบบปฏิบัติการที่ถือได้ว่าเกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กันกับการนาเอาคอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้
ในยุคแรก ๆ ที่เรียกว่าเครื่อง Palm (ผลิตโดยบริษัทปาล์ม) ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
ในเวลาต่อมา เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาก่อน Window CE หรือ Windows
Mobile ของไมโครซอฟท์ (เนื่องจากมีการผลิตเครื่องขึ้นมาใช้งานก่อน) ปัจจุบันอาจ
เห็นการนาเอาระบบนี้ไปใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพาของค่ายบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยี
ชั้นนานอกเหนือจากเครื่องของบริษัทปาล์ม เช่น Visor (ของค่ายแฮนด์สปริงปัจจุบันรวม
กิจการเข้ากับบริษัทปาล์ม) และ CLIE (ของค่ายโซนี่ปัจจุบันไม่ผลิตแล้ว) ซึ่งก็ใช้
ระบบปฏิบัติการแบบนี้เช่นกัน
ระบบปฏิบัติการ Palm OS
ที่ติดตั้งในเครื่องประเภท
Palm
Symbian OS
เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อรองรับกับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย
(wireless) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับโทรศัพท์มือถือประเภท Smart phone
นอกจากนั้นยังสนับสนุนการทางานแบบหลาย ๆ งานในเวลาเดียวกันได้ด้วย (multi-
tasking) ซึ่งทาให้โทรศัพท์มือถือมีความสามารถที่นอกเหนือจากแค่รับสายพูดคุยใน
แบบทั่วไปเพียงอย่างเดียว เช่น การบันทึกการนัดหมาย ท่องอินเทอร์เน็ต ส่งและรับอีเมล์
รวมถึงการรับแฟกซ์ได้ในเวลาเดียวกัน ผลิตโดย บริษัท ซิมเบียน เป็ นบริษัทที่ร่วม
ทุนระหว่าง
ผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือรายใหญ่หลายค่ายนาโดย Nokia และ Sony ปัจจุบันมีมีบริษัท
ต่าง ๆ ได้เอา OS ชนิดนี้ไปใช้งานในโทรศัพท์มือถือของตน เช่น Sony Ericsson,
Motolola, Nokia และ Sumsung เป็นต้น
(ก)task manager for Symbian OS (ข) ระบบปฏิบัติการ Symbian OS
โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility
Program)
เป็นโปรแกรมที่สาคัญกับการทางานระบบคอมพิวเตอร์เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่จะ
มีขนาดเล็กกว่าระบบปฏิบัติการ คุณสมบัติในการใช้งานค่อนข้างหลากหลาย
หรือใช้งานได้แบบอรรถประโยชน์ มักนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ยูทิลิตี้(utility)
แบ่งได้ 2 ชนิดคือ
• ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs)
• ยูทิลิตี้อื่น ๆ (Stand-Alone Utility Program)
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility
Programs)
เป็นยูทิลิตี้ที่มักจะมีการติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ ช่วยอานวยความสะดวก
สาหรับการทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่างยูทิลิตี้ที่ใช้ใน
Windows เช่น
• ประเภทการจัดการไฟล์ (File Manager)
• ประเภทการลบทิ้งในโปรแกรม (Uninstaller)
• ประเภทการสแกนดิสก์ (Disk Scanner)
• ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล (Disk Defragmenter)
• ประเภทรักษาหน้าจอ (Screen saver)
ระบบ File Manager ใน Windows
โปรแกรมสาหรับการลบโปรแกรมใน Windows
โปรแกรมสาหรับการสแกนพื้นที่เก็บข้อมูล
โปรแกรม Disk Defragmenter
ประเภทรักษาหน้าจอ (Screen saver)
ยูทิลิตี้อื่น ๆ
(Stand-Alone Utility Programs)
• โปรแกรมป้องกันไวรัส (Anti Virus Program)
• โปรแกรมไฟร์วอลล์ (Firewall)
• โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression Utility)
โปรแกรมป้องกันไวรัสชื่อ Norton Antivirus
โปรแกรม WinZip
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
แบ่งตามลักษณะการผลิต แบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้
• In-house developed สร้างและพัฒนาในหน่วยงานเอง
• Contract หรือ outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทา
ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป
โปรแกรมสาเร็จรูป (packaged software) โดยอาจแบ่งออกได้เป็น
2 ประเภทคือ
• โปรแกรมเฉพาะ
• โปรแกรมมาตรฐาน
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน
เราอาจแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์ตามลักษณะการใช้งานได้อย่างหลากหลาย ซึ่งอาจ
ยกตัวอย่างของโปรแกรมประกอบและแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ดังนี้
• กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (business)
• กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (graphic and multimedia)
• กลุ่มสาหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร (web and
communications)
ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word processing)
เป็นกลุ่มของโปรแกรมที่ช่วยในการประมวลผลคา คุณสมบัติหลัก ๆ ก็คือ
สามารถจัดการเอกสารต่าง ๆ ได้ เช่น ขนาดตัวอักษรใหญ่ เล็ก รูปแบบตัวอักษร
เป็นต้น
โปรแกรม StarOffice Writer
ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ (Spreadsheet)
เป็นกลุ่มของซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการคานวณต่าง ๆ โดยส่วนมากแล้วจะมี
การทางานที่เรียกกว่า ตารางคานวณ (spreadsheet) มักนาไปใช้งานกับ
งานด้านบัญชีและรายงานคานวณอื่น ๆ มีหน่วยที่เล็กที่สุดที่เรียกว่า เซล ซึ่งเป็น
ส่วนของบริเวณที่ทางาน
โปรแกรม StarOffice Calc
ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database)
การประมวลผลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลจานวนมาก และจาเป็นต้องใช้
ซอฟต์แวร์ที่มีความสามารถในการสร้างและรวบรวมข้อมูลต่าง ๆให้
เป็นระบบมากยิ่งขึ้น โปรแกรมประเภทนี้ช่วยให้ข้อมูลสามารถเรียกใช้
ได้โดยง่าย หรืออาจจะทาการแก้ไขปรับปรุงรายการต่าง ๆ เช่น การเพิ่ม
ข้อมูล การเปลี่ยนแปลงข้อมูล การลบข้อมูล หรือการจัดเรียงข้อมูลให้
เป็นไปได้โดยง่าย
โปรแกรม Microsoft Access
ซอฟต์แวร์นาเสนอรายงาน (Presentation)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในเรื่องของการนาเสนองานเป็นหลัก ซึ่งอาจจะใส่ข้อมูลที่
เป็นตัวอักษร รูปภาพ ตลอดจนภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ หรือเสียงต่าง ๆรวมถึง
เทคนิคการนาเสนอให้มีความสวยงามและน่าสนใจ
โปรแกรม Microsoft PowerPoint
ซอฟต์แวร์สาหรับพีดีเอ (PDA Software)
ในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา จะต้องมีซอฟต์แวร์ที่มีการใช้งานโดยเฉพาะ เช่น
การสร้างเอกสาร การใช้สมุดย่อ การดูภาพ ซึ่งในพีดีเอส่วนใหญ่มักจะมีซอฟต์แวร์ที่
เรียกว่า PIM (Personal Information Manager) รวมเข้าไว้ด้วย
ซอฟต์แวร์กลุ่มดังกล่าวเป็นกลุ่มที่ทางานพื้นฐานทั่วไป เช่น ปฏิทิน สมุดรายชื่อ ซึ่งสามารถที่
จะใช้ทางานร่วมกันกับเครื่องพีซีได้ โดยการถ่ายโอนข้อมูล (synchronization)
ต่าง ๆ ไว้ด้วย นอกจากนี้อาจพบเห็นโปรแกรมประเภทที่ใช้สาหรับการจัดการสานักงานคล้าย ๆ
กับที่เคยพบเห็นการใช้งานบนเครื่องพีซีได้ด้วย
โปรแกรม Microsoft Word Mobile
ที่ใช้บนเครื่องพีดีเอ
ซอฟต์แวร์แบบกลุ่ม (Software Suite)
เป็นซอฟต์แวร์ที่นาเอาคุณสมบัติต่าง ๆ ของโปรแกรมแต่ละตัวมาอยู่ในกลุ่มเดียวกันและ
จาหน่ายรวม ที่เรารู้จักดี เช่น Microsoft Office ซึ่งเป็นการนาเอาโปรแกรมด้าน
การจัดการสานักงานบริษัทไมโครซอฟท์ จะมีทั้งโปรแกรมประมวลผลคา การนาเสนองาน
ตารางคานวณ ฯลฯ ทั้งรวมโปรแกรมอื่น ๆ และจาหน่ายรวมไว้ด้วยกัน เช่น บริษัท
Adobe เป็นผู้ผลิตซอฟต์แวร์ด้านกราฟิกที่มีชื่อเสียง มีชุดโปรแกรมรวมที่เรียกว่า
Adobe (CS ย่อมาจาก Creative Suite)
ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการโครงการ
(Project management)
ใช้ในการวิเคราะห์และวางแผนโครงการเป็นหลัก ซึ่งตัวโปรแกรมสามารถช่วยให้
ผู้ใช้งานมีการวางแผนงานที่ง่ายขึ้น รวมถึงความสามารถในการจัดการกิจกรรม
งาน (schedule) ติดตามงาน วิเคราะห์ต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของ
โครงการได้ง่ายขึ้น
โปรแกรม Microsoft Project
ซอฟต์แวร์สาหรับงานบัญชี (Accounting)
หัวใจของการทางานทางด้านธุรกิจที่ขาดไม่ได้คือ ส่วนงานบัญชี โปรแกรมจะ
ช่วยให้บริษัทหรือหน่วยงานสามารถที่จะบันทึกข้อมูลและแสดงรายงานทาง
การเงินต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น การออกงบกาไรขาดทุน งบดุล รวมถึงรายการการ
ซื้อ ขาย เป็นต้น
โปรแกรม Peachtree Accounting
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
(Graphics and Multimedia)
เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยสาหรับจัดการงานทางด้าน
กราฟิกและมัลติมีเดียให้เป็นไปโดยง่าย มีความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการ
ออกแบบงานต่าง ๆ เช่น ตกแต่งภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว
รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซท์
ซอฟต์แวร์สาหรับงานออกแบบ
(CAD – Computer-aided design)
การออกแบบ จาเป็นต้องใช้ซอฟต์แวร์ที่ช่วยสาหรับการออกแบบแผนผัง การ
ออกแบบและตกแต่งบ้าน รวมถึงการจัดองค์ประกอบอื่น ๆ ที่จาเป็น
ความสามารถของซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ส่วนใหญ่จึงเป็นเสมือนผู้ช่วยในการออกแบบ
งานด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม รวมถึงงานทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีให้มีความคล่องตัวมากขึ้น
โปรแกรม Autodesk AutoCAD
ซอฟต์แวร์สาหรับสิ่งพิมพ์
(Desktop publishing)
เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับการจัดการกับสิ่งพิมพ์เป็นหลัก โดยเฉพาะการ
ออกแบบงานประเภทหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โบร์ชัวร์ แผ่นพับหรือโลโก้
ซึ่งจะช่วยให้การจัดรูปเล่มหรือลักษณะของงานเอกสารสิ่งพิมพ์มีรูปแบบที่
หลากหลายและสวยงามมากยิ่งขึ้น ส่วนใหญ่มักใช้กับหน่วยงานหรือองค์กรที่
เกี่ยวข้องกับสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น สานักพิมพ์ โรงพิมพ์ บริษัทออกแบบกราฟิก
เป็นต้น
โปรแกรม Adobe PageMaker
ซอฟต์แวร์สาหรับตกแต่งภาพ
(Paint/image editing)
ใช้สาหรับการสร้างและจัดการรูปภาพต่าง ๆ เช่น การจัดองค์ประกอบ สี แสง
ของภาพ รวมถึงการวาดภาพลายเส้นต่าง ๆ ให้มีลักษณะของภาพตามที่ต้องการ
เหมาะอย่างยิ่งสาหรับนักออกแบบกราฟิกต่าง ๆ ในการนาไปประยุกต์ใช้งาน เช่น
งานออกแบบพาณิชย์ศิลป์ งานออกแบบและตกแต่งสินค้า เป็นต้น
โปรแกรม Adobe Photoshop
ซอฟต์แวร์สาหรับการตัดต่อวิดีโอและเสียง
(Video and audio editing)
เป็นซอฟต์แวร์ที่มีคุณสมบัติหลัก ๆ คือ การจัดการเสียงและรูปแบบไฟล์ที่เป็น
ภาพเคลื่อนไหว เช่น การตัดต่อวิดีโอ การผสมเสียง การสร้างเอฟเฟ็คต์สาหรับ
ภาพเคลื่อนไหว เหมาะสาหรับใช้กับงานวงการตัดต่อภาพยนตร์ โทรทัศน์และ
สตูดิโอ บันทึกเสียงต่าง ๆ
โปรแกรม Cakewalk SONAR
ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างสื่อมัลติมีเดีย
(Multimedia authoring)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ผนวกเอาสื่อหลาย ๆ ชนิด (multimedia) เช่น ข้อความ
เสียง รูปภาพ รวมถึงเทคนิคการเคลื่อนไหวต่าง ๆ มาประกอบกันเพื่อให้การ
นาเสนองานมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น รวมถึงความสามารถในการสร้างชิ้นงาน
ประเภทสื่อปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (interactive) ซึ่งทาให้ผลงานที่ผลิตได้มี
ความน่าสนใจและใช้งานง่ายมากยิ่งขึ้น เหมาะสาหรับการนาไปประยุกต์ใช้กับสื่อ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การนาเสนองานชั้นสูง รวมถึงการจัดทา
CD-Training
ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างเว็บ
(Web page authoring)
ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่ช่วยในเรื่องการจัดการและออกแบบเว็บไซท์ต่าง ๆ เกิดขึ้น
เพื่อรองรับกับผู้ใช้งานในหลาย ๆ ระดับด้วยกัน ตั้งแต่ผู้ใช้งานระดับเริ่มต้นจนถึง
ระดับสูง โปรแกรมเหล่านี้มีการใช้งานได้ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้น รวมทั้งมี
คุณสมบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดการเอกสารเว็บเพจประเภทเสียง ข้อความ รูป
ภาพเคลื่อนไหว หรือสื่อออนไลน์ต่าง ๆ เพื่อนาเสนอบนเว็บไซท์ได้เป็นอย่างดี
Adobe dreamweaver cs4
กลุ่มสาหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
(Web and communications)
• ซอฟต์แวร์สาหรับจัดการอีเมล์ (Electronic mail Software)
• ซอฟต์แวร์สาหรับท่องเว็บ (Web browser)
• ซอฟต์แวร์สาหรับจัดประชุมทางไกล (Video Conference)
• ซอฟต์แวร์สาหรับถ่ายโอนไฟล์ (File Transfer)
• ซอฟต์แวร์ประเภทส่งข้อความด่วน (Instant Messaging)
• ซอฟต์แวร์สาหรับสนทนาบนอินเทอร์เน็ต (Internet Relay Chat)
ภาษาคอมพิวเตอร์
(Computer Programming
Languages)
กระบวนการสื่อสารระหว่างมนุษย์ก็เช่นเดียวกัน คือจะเกี่ยวข้องกับมนุษย์และ
คอมพิวเตอร์ เป็นหลัก แต่คอมพิวเตอร์นั้นจะเข้าใจเฉพาะเลขฐานสองซึ่ง
ประกอบด้วยตัวเลขเพียงสองหลักเท่านั้น คือ 0 และ 1 ดังนั้นเมื่อใดก็ตามที่
มนุษย์จะเขียนชุดคาสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ ก็ต้องแปลงชุดคาสั่ง
เหล่านั้นให้เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อนจึงจะทางานได้ ซึ่ง
กระบวนการแปลงชุดคาสั่งให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและทางานได้นั้นเราจะอาศัย
เครื่องมือที่เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็น 5 ยุค คือ
• ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (first generation language)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (second generation language)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (third generation language)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (fourth generation language)
• ภาษาคอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (fifth generation language)
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
(translator)
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการแปลความหมายหรือภาษาของชุดคาสั่ง
ที่มนุษย์เขียนขึ้นให้อยู่ในรูปแบบของภาษาที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ ซึ่งโดยปกติโปรแกรม
หรือชุดคาสั่งที่นักเขียนโปรแกรมขึ้นมานั้นเราเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโค้ด
(source code) ที่ยังไม่สามารถนาเอาไปใช้งานกับคอมพิวเตอร์ได้ทันที จะต้องอาศัย
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ทาการเปลี่ยนรูปแบบให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน หรือพูดง่ายก็คือ
การแปลงให้อยู่ระบบเลขฐานสองที่ประกอบด้วยเลข 0 กับ 1 นั่นเอง โปรแกรมที่ได้จากการ
แปลงดังกล่าวนั้น เราเรียกว่า รหัสคาสั่ง (object code) ซึ่งประกอบด้วยรหัสคาสั่ง
ต่าง ๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้ทางานได้
แอสแซมเบลอร์
(Assemblers)
เป็นตัวแปลภาษาซึ่งทาหน้าที่แปลความหมายที่เป็นสัญลักษณ์ในการเขียน
ชุดคาสั่งด้วย ภาษาแอสแซมบลีให้เป็น ภาษาเครื่อง ซึ่งใช้งานร่วมกับการ
เขียนโปรแกรมในภาษาระดับต่า (low-level language) นั่นเอง
อินเตอร์พรีเตอร์
(Interperters)
ใช้สาหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาระดับสูง (high-level language) ทา
หน้าที่แปลความหมายของชุดคาสั่งเช่นเดียวกัน แต่การทางานจะแปลทีละบรรทัดคาสั่ง
เมื่อใดก็ตามที่มีการเขียนโปรแกรมไม่ถูกหลักไวยากรณ์ของภาษานั้น (syntax
error) ตัวแปลภาษานี้จะแจ้งข้อผิดพลาดดังกล่าวให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบและแก้ไข
ได้ทันที โดยไม่จาเป็นต้องรอหมดชุดบรรทัดคาสั่งก็ได้ แต่ก็มีข้อเสียเช่นเดียวกัน คือ รหัส
คาสั่งที่ได้จากการประมวลผลดังกล่าว ไม่สามารถเก็บไว้ใช้ได้อีก เมื่อใดก็ตามที่ต้องการ
เรียกใช้ ก็จะต้องมีการประมวลผลชุดคาสั่งนั้นซ้าอีก ทาให้การทางานของโปรแกรมที่ได้
ค่อนข้างช้า จึงเหมาะสาหรับการเขียนโปรแกรมที่มีขนาดเล็ก
คอมไพเลอร์
(Compilers)
เป็นการทางานกับภาษาระดับสูง (high-level language) เช่นเดียวกันกับ
อินเตอร์พรีเตอร์ แต่เป็ นการแปลความหมายของชุดคาสั่งที่
เขียนทั้งหมดในคราวเดียวกัน เมื่อแปลความหมายของชุดคาสั่งต่าง ๆ หมดแล้วจะได้
สัญลักษณ์ของรหัสคาสั่งหรือ object code ที่สามารถเก็บไว้ใช้ได้อีกเมื่อต้องการ
เมื่อใดก็ตามที่มีการเรียกใช้งานโปรแกรมนั้นใหม่ ก็ไม่จาเป็นต้องไปแปลคาสั่งต่าง ๆ นั้นซ้า
อีก ทาให้ลดเวลาในการแปลความหมายไปได้มาก อีกทั้งการทางานของโป
แกรมที่ได้ก็มีความเร็วกว่าการแปลชุดคาสั่งทีละบรรทัด วิธีการนี้ค่อนข้างได้รับความนิยม
เป็นอย่างมาก ส่วนใหญ่เหมาะกับการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่และซับซ้อน
elements
www.animationfactory.com

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)jiratchayalert
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการKrusine soyo
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์Khunakon Thanatee
 
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ Khunakon Thanatee
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System) Petpayao Yamyindee
 
Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_preawywp
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการkanlayarat
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์Phicha Pintharong
 

What's hot (18)

องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
 
System computer
System computerSystem computer
System computer
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
 
Work3 48
Work3 48Work3 48
Work3 48
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
 
Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_Powerpoint templat3 1_
Powerpoint templat3 1_
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
 

Similar to ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์

โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์Saranya Sirimak
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)Sirinat Sawengthong
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์Tieno Karan
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศFfurn Leawtakoon
 
ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01tonglots
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 

Similar to ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ (20)

โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
บทที่3-49
บทที่3-49บทที่3-49
บทที่3-49
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
 
Whatiscomputer
WhatiscomputerWhatiscomputer
Whatiscomputer
 
Work3 41
Work3 41Work3 41
Work3 41
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 

More from ssuseraa96d2

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศssuseraa96d2
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxssuseraa96d2
 
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารการกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารssuseraa96d2
 
การเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารการเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารssuseraa96d2
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มssuseraa96d2
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมssuseraa96d2
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตารางssuseraa96d2
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพssuseraa96d2
 
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการการกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการssuseraa96d2
 
การตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารการตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารssuseraa96d2
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLssuseraa96d2
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆssuseraa96d2
 

More from ssuseraa96d2 (20)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัยและจริยธรรมทางด้านคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linuxระบบปฏิบัติการ Linux
ระบบปฏิบัติการ Linux
 
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOSระบบปฏิบัติการ MS-DOS
ระบบปฏิบัติการ MS-DOS
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสารการกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
การกำหนดสไตล์ให้กับเอกสาร
 
การเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสารการเชื่อมโยงเอกสาร
การเชื่อมโยงเอกสาร
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์ม
 
การสร้างเฟรม
การสร้างเฟรมการสร้างเฟรม
การสร้างเฟรม
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพการแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพ
 
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการการกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
การกำหนดให้ข้อความอยู่ในรูปของรายการ
 
การตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสารการตกแต่งเอกสาร
การตกแต่งเอกสาร
 
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTMLเริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
เริ่มต้นสร้างเอกสาร HTML
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTMLความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆ
 

ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์