SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3
อภิชญา เลอศักดิ์พัฒนกุล ม.6/2 เลขที่ 48
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ คือ กลุ่มของชุดคําสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทํางานได้ตามต้องการ การที่คอมพิวเตอร์ทํางาน
ได้อย่างอัตโนมัติโดยที่มนุษย์ไม่ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องในการประมวลผลนั้น ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการทํางานของ
ซอฟต์แวร์นั่นเอง โดยปกติแล้วผู้เขียนชุดคําสั่งนี้ขึ้นมาเรามักเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม ( programmer )
โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ
ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทํางานที่ใกล้ชิดกับอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยจะทําหน้าที่ติดต่อ ควบคุม และสั่งการให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถทํางานได้
อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกันให้ได้มากที่สุด รวมถึงการบํารุงรักษาระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี
การใช้งานได้ยาวนานขึ้นอีกด้วย ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ
- ระบบปฏิบัติการ ( operating systems )
- โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility programs )
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้
เฉพาะด้านเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ แต่จะทํางานได้
โดยเรียกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านซอฟต์แวร์ระบบอีกทอดหนึ่งดังที่กล่าวแล้วในบทที่ผ่าน
มา ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้สามารถแบ่งออกได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะเกณฑ์ที่ใช้แบ่ง ซึ่ง
พอจะสรุปได้ดังนี้แบ่งตามลักษณะการผลิต ได้ 2 ประเภท คือ
- ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software )
- ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป ( Off – the– Shelf Software หรือ Packaged Software )
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน ได้3 กลุ่มใหญ่คือ
- กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ ( business )
- กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย ( graphic and multimedia )
- กลุ่มสําหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร ( web and communications )
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน
แบบสําเร็จรูป(Package หรือ Ready -made Software)
แบบนี้ผู้ใช้สามารถหาซื้อได้จากตัวแทนจําหน่ายที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักมีการเตรียมบรรจุ
ภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว และผู้ใช้นําไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้ทันที โดยซื้อได้ทั้งจากตัวแทนบริษัท
และเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิต
แบบว่าจ้างทํา(Customized หรือ Tailor-made Software)
ซอฟต์แวร์ประเภทนี้เหมาะสําหรับบริษัท หน่วยงาน ไม่สามารถนําโปรแกรมสําเร็จรูปมาประยุกต์ใช้งานได้ ก็
สามารถว่าจ้างบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ ผลิตซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความต้องการของหน่วยงานของตน ซึ่งอาจมี
ค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างเขียนซอฟต์แวร์ที่แพงกว่าซอฟต์แวร์สําเร็จรูป
แบบทดลองใช้ (Shareware)
บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ มักจะมีโปรแกรมเพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อนได้ แต่อาจมีกําหนดเวลาในการทดลอง
ใช้ เช่น 30 วัน เพื่อเป็นทางเลือกให้ลูกค้าทดลองใช้ก่อนตัดสินใจซื้อ
แบบใช้งานฟรี(Freeware)
เป็นซอฟต์แวร์ที่แจกให้ใช้งานฟรี มักเป็นโปรแกรมขนาดเล็กมีให้ดาวน์โหลดบนอินเตอร์เน็ต แต่ซอฟต์แวร์
ประเภทนี้ ลิขสิทธิ์ยังคงเป็นเจ้าของหรือบริษัทผู้ผลิตอยู่ บุคคลทั่วไปไม่สามารถนําไปพัฒนาต่อได้
แบบโอเพ่นซอร์ส(Public-Domain/-Open Sourse)
เป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดให้ใช้งานฟรี และผู้ใช้สามารถนําไปพัฒนาโปรแกรมต่อให้มีความสามารถมากยิ่งขึ้นได้ โดย
ไม่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
ระบบปฏิบัติการ(OS-Operating System)
เป้ นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้สําหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ประเภทของระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน อาจนําเอาไปใช้ได้กับคอมพิวเตอร์
หลากหลายชนิดตั้งแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ระดับใหญ่จนถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาด
เล็ก อาจแบ่งได้ออกเป็น 3 ชนิด คือ
- ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสําหรับผู้ใช้เพียงคน
เดียว(เจ้าของเครื่องนั้นๆ) นิยมใช้สําหรรรรรรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทํางานแบบทั่วไป เช่น เครื่อง
คอมพิวเตอร์หรือสํานักงาน ซึ่งจะถูกติดตั้งระบบปฏิบัติการนี้ไว้ใช้รองรับการทํางานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดู
หนังหรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ปัจจุบันพัฒนาให้มมมมีคุณสมบัติที่เป็นเครื่องลูกข่ายเพื่อขอรับบริการ
จากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย
- ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (network OS) เป็นระบบการที่มุ่งเน้นและบริการสําหรับผู้ใช้หลายๆคน(multi-
user) นิยมใช้สําหรับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสําหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบเห็นได้กับการนําไปใช้ใน
องค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการเหล่านี้จะเรียกว่า เครื่อง sever ซึ่งเป็นเสมือนเครื่อง
แม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลต่างๆ ที่จําเป็นสําหรับผุ้ใช้นั่นเอง
- ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embeded OS) เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาด
เล็ก เช่น พีดีเอ หรือSmart phone บางรุ่น สามารถช่วยในการทํางานของอุปกรณ์แบบไม่ประจําที่เหล่านี้ได้เป็นอย่าง
ดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อมๆกับที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น บางระบบมีคุณสมบัติที่
ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวด้วย เช่น รองรับการทํางานทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้(utility programs)
เป็นซอฟท์แวร์ที่ทําหน้าที่เฉพาะอย่าง เพื่อการจัดการงานพื้นฐานและบริการต่างๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูล (sort) การ
รวมแฟ้ มข้อมูลที่เรียงลําดับแล้วเข้าด้วยกัน (merge) หรือย้ายข้อมูลจากอุปกรณ์รับหนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง รวมทั้ง
สามารถใช้จัดการกับฮาร์ดแวร์โดยตรง โปรแกรมอรรถประโยชน์ส่วนใหญ่จะถูกรวมอยู่ในระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว
สามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท ดังต่อไปนี้
๑) โปรแกรมอรรถประโยชน์สําหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs) เป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมกับ
ระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอํานวยความสะดวกในการทํางานร่วมกับฮาร์ดแวร์ ตัวอย่างโปรแกรม มีดังต่อไปนี้
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
๑.๑) โปรแกรมจัดการไฟล์ (File manager) เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อช่วยจัดการไฟล์ต่างๆได้แก่การคัดลอก
แฟ้ มข้อมูลการเปลี่ยนชื่อแฟ้ มข้อมูลการลบแฟ้ มข้อมูลการเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆได้อย่างสะดวกนอกจากนี้
ระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ๆได้เพิ่มความสามารถการแสดงไฟล์เป็นรูปภาพเหมือนจริง (image view) ทําให้การใช้งาน
มีความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
๑.๒) โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม (Uninstaller) เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการนําโปรแกรมและส่วนประกอบ
ของโปรแกรมที่ติดตั้งไว้ในระบบออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่บริษัทผู้ผลิตซอฟท์แวร์จะติดตั้งโปรแกรม
ยกเลิกการติดตั้งโปรแกรมไว้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมประยุกต์อยู่แล้ว
๒) โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ (Standalone utility programs) เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพตัวอย่างโปรแกรมมีดังต่อไปนี้
๒.๑) โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File compression utility) เป็นโปรแกรมที่ทําหน้าที่บีบอัดไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ให้มีขนาด
เล็กลงไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์เรียกว่าซิปไฟล์ (zip file) โปรแกรมบีบอัดไฟล์ที่นิยมเช่นWinZip, Winrar เป็น
ต้น
๒.๒)โปรแกรมไฟร์วอลล์ (Firewall) เป็นโปรแกรมที่ช่วยป้ องกันบุคคลภายนอกเข้ามาในระบบโดยไม่ได้รับ
อนุญาตทั้งจากระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตโดยโปรแกรมจะทําการตรวจสอบข้อมูลที่เข้าและออก
จากระบบถ้าพบว่ามีข้อมูลที่ไม่ได้รับอนุญาตซึ่งอาจเป็นข้อมูลจากผู้ไม่ประสงค์ดีที่เข้ามาในระบบโปรแกรมจะไม่
อนุญาตให้ข้อมูลดังกล่าวเข้ามาในระบบโปรแกรมไฟร์วอลล์เป็นซอร์ฟแวร์ที่ผู้ใช้สามารถนําไปใช้ได้โดยไม่เสีย
ค่าใช้จ่ายนิยมใช้กับระบบปฏิบัติการWindows เช่นWindows Firewall, ZoneAlarm, Lavasoft Personal
Firewall, Pc Tools Firewall Plus เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการเช่นซอฟต์แวร์ประมวลคํา
ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษีซอฟต์แวร์สินค้าคงคลังซอฟต์แวร์ตารางทํางานซอฟต์แวร์กราฟิกซอฟต์แวร์จัดการ
ฐานข้อมูลเป็นต้น
การทํางานใดๆโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จําเป็นต้องทํางานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย
ตัวอย่างเช่นซอฟต์แวร์ประมวลคําต้องทํางานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส์เป็นต้น
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจากขีด
ความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้น ๆเพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจําหน่ายต่างพยายามแข่งขันกันหลาย ๆ
ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับเครื่องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อ่านเข้าใจง่าย ให้วิธี
หรือขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่างชัดเจน และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเข้าออกกับซอฟต์แวร์อื่นได้ง่าย
ซอฟต์แวร์ประยุกต์มีอยู่มากมาย อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทางและซอฟต์แวร์
สําเร็จ
1. ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทาง
เป็นโปรแกรมที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาสําหรับนําไปใช้งานเฉพาะด้านหรือในสาขาใดสาขาหนึ่งตามความ
ต้องการของผู้ใช้ โดยที่ผู้เขียน คือ โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์ และต้องศึกษาทําความเข้าใจงานและรายละเอียดของการประยุกต์นั้นเป็นอย่างดี เช่น โปรแกรม
ช่วยจัดการด้านการเงิน โปรแกรมช่วยจัดการบริการลูกค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ค่อยได้พบเห็นซอฟต์แวร์ประเภทนี้
ในท้องตลาดทั่วไป แต่จะซื้อหาได้จากผู้ผลิตหรือตัวแทนจําหน่ายในราคาค่อนข้างสูงกว่าซอฟต์แวร์ที่ใช้งานทั่วไป
โครงสร้างของซอฟต์แวร์เฉพาะทางมักจะประกอบด้วย ฐานข้อมูลเพื่อใช้เก็บข้อมูลลูกค้าและระบบหลักของงาน
ภายในซอฟต์แวร์ควรจะมีส่วนทํางานประมวลคําเพื่อใช้สร้างรายงาน ติดต่อโต้ตอบจดหมาย และการนัดหมายตาม
กําหนดการ ลักษณะของซอฟต์แวร์เฉพาะทางนี้ มีทั้งรูปแบบที่มีผู้ใช้งานคนเดียวหรือผู้ใช้งานได้พร้อมกันหลายคน
ในประเทศไทย มีการใช้ซอฟต์แวร์ประเภทใช้เฉพาะทางอยู่บ้าง ส่วนใหญ่จะเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิต
ต่างประเทศได้ออกแบบมาเพื่อรองรับงานด้านธุรกิจ ในที่นี้ได้รวบรวมจัดประเภทไว้ดังนี้
1) ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี
ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินทรัพย์ถาวรและค่าเสื่อมราคาสะสม บัญชีแยกประเภททั่วไป และ
บัญชีเงินเดือน
2) ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจําหน่าย
ได้แก่ ระบบงานรับใบสั่งซื้อสินค้า ระบบงานบริหารสินค้าคงคลัง และระบบงานประวัติการขาย
3) ซอฟต์แวร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ ระบบงานกําหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การวางแผนกําลัง
การผลิต การคํานวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงานการวางแผนการผลิตหลักการวางแผนความ
ต้องการวัสดุการควบคุมการทํางานภายในโรงงานการกําหนดเงินทุนมาตรฐานสินค้าและการกําหนดขั้นตอนการ
ผลิต
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
4) ซอฟต์แวร์อื่น ๆ
ได้แก่ ระบบการสร้างรายงาน การบริหารการเงิน การเช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์และการเช่าซื้อรถยนต์
2. ซอฟต์แวร์สําเร็จ
เป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้นและวางขายทั่วไป ผู้ใช้สามารถหาซื้อมาประยุกต์ใช้งานทั่วไปได้
ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสําหรับงานใดงานหนึ่ง ผู้ใช้งานจะต้องเป็นผู้นําไปประยุกต์กับงานของตน
ผู้ใช้อาจต้องมีการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปนี้จะไม่สูง
มากเกินไป
ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปซึ่งนิยมเรียกว่าซอฟต์แวร์สําเร็จแบ่งออกเป็นหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้งานคือ
1) ด้านการประมวลคํา
2) ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลหรือตารางทํางาน
3) ด้านการเก็บและเลือกค้นข้อมูลเป็นระบบฐานข้อมูล
4) ด้านกราฟิกและนําเสนอข้อมูล
5) ด้านการติดต่อสื่อสารทางไกล
6) ด้านการพิมพ์ตั้งโต๊ะ
7) ด้านการลงทุนและจัดการการเงิน
8) ด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม
9) ด้านการจําลอง เกม และการตัดสินใจ
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ภาษาคอมพิวเตอร์
หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถ
ทํางานตามคําสั่งนั้นได้คํานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของ
ภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัป
และภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทาง
เทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และภาษาระดับตํ่า (low level) ภาษา
ระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับตํ่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์
และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล(compile) ไปเป็นภาษาระดับตํ่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนําไปใช้งานหรือปฏิบัติ
ตามคําสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้ว
เปลี่ยนให้เป็นชุดคําสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือภาษาที่มนุษย์อ่านออก
(human-readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้
มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ (แทบทุกชนิดเป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่
ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้แต่ออกแบบมาเพื่อให้โค้ดกระชับซึ่งคอมพิวเตอร์จะสามารถประมวลผลได้
ง่ายกว่า
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 1 (First Generation Language : 1GL)เป็นภาษาระดับตํ่า (Low - Level Language) ประกอบด้วยเลขฐานสอง
ได้แก่ 0 และ 1 หรือเรียกว่า "ภาษาเครื่อง (Machine Language)"
ยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL)ได้มีผู้พัฒนาให้มีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง เรียกว่า
"ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)" คือ ภาษาอังกฤษ จะเป็นคําสั่งสั้น ๆ ที่จําได้ง่าย เรียกว่า "นิวมอนิกโค้ด
(Nemonic Code)" ทําให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างภาษาสัญลักษณ์ ได้แก่ ภาษา
Assembly และเนื่องจากเป็นภาษาสัญลักษณ์ จึงต้องใช้ตัวแปลภาษา เพื่อทําให้เป็นภาษาเครื่องก่อน ด้วยตัว
แปลภาษาที่เรียกว่า "Assembler"
ยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL)ภาษาสัญลักษณ์ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น ทําให้สามารถแทนตัว
เลขฐานสองได้เป็นคํา ทําให้กลายเป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจและเขียนได้ง่ายขึ้น คําสั่งสั้นและกระชับมากขึ้น
เช่น ภาษา BASIC, COBOL, Pascal
ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL)ได้มีการพัฒนารูปแบบการเขียนโปรแกรมจากยุคที่ 3 ที่จัดว่าเป็นการ
เขียนแบบ Procedural ให้กลายเป็นการเขียนแบบ Non - Procedural ที่สามารถกระโดดไปทําคําสั่งใดก่อนก็ได้
ตามที่โปรแกรมเขียนไว้นอกจากนี้ จุดเด่นของภาษาในยุคนี้เริ่มจากการเขียนคําสั่งให้ผู้ใช้สามารถจัดการกับข้อมูล
ในฐานข้อมูล
ได้และพัฒนาต่อมากลายเป็นการเขียนคําสั่งให้ได้โปรแกรมที่มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิกมากขึ้น และพัฒนา
จนมาถึงการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object - Oriented Programming) เช่น ภาษา C++, Visual C++, Delphi,
Visual Basic เป็นต้น ปัจจุบันมีภาษาที่ใช้หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุที่นิยมใช้เช่น ภาษา Java
ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL)เป็นภาษาที่ใช้สําหรับพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert
System : ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกว่า "ภาษาธรรมชาติ (Natural
Language)" คือ ไม่ต้องสนใจถึงคําสั่งหรือลําดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นคําหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคําหรือประโยคเหล่านั้นเพื่อทําตาม
คําสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ก็จะมีคําถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
ในการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบ
ต่าง ๆ ตามแต่ความชํานาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้จะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโคด (source
code) ซึ่งมนุษย์จะอ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคําสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์
เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม ตัว
แปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่องโปรแกรมที่แปล
จากโปรแกรมต้นฉบับแล้วเรียกว่า ออบเจคโคด (object code) ซึ่งจะประกอบด้วยรหัสคําสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถ
เข้าใจและนําไปปฏิบัติได้ต่อไปตัวแปลภาษาที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน จะต่างกันที่ขั้นตอนที่ใช้ในการแปลภาษาให้
อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้สามารถแบ่งได้เป็น
1. แอสเซมเบลอ (Assembler)เป็นตัวแปลภาษาแอสแซมบลีซึ่งเป็นภาษาระดับตํ่าให้เป็นภาษาเครื่อง
2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ไปเป็น
ภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคําสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้งโปรแกรมทําให้การแก้ไขโปรแกรม
ทําได้ง่ายและรวดเร็ว แต่ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลโดยการใช้อินเตอร์พรีเตอร์นั้นไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้
จะจะต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน
3. คอมไพเลอร์ (Compiler) จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูงเช่นเดียวกับอินเตอร์พรีเตอร์แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรมทั้ง
โปรแกรมให้เป็นออบเจคโคด ก่อนที่จะสามารถนําไปทํางานเช่นเดียวกับแอสแซมเบลอ ออบเจคโคดที่ได้จากการ
แปลนั้นสามารถจัดเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูล เพื่อให้นําไปใช้ในการทํางานเมื่อใดก็ได้ตามต้องการ ซึ่งเป็นข้อดีของ
คอมไพเลอร์ที่จะนําผลที่ได้จากการแปลนั้นไปใช้งานกี่ครั้งก็ได้ไม่จํากัด ไม่ต้องเสียเวลาในการแปลใหม่ทุกครั้ง
ทําให้เป็นรูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก

More Related Content

What's hot

ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้Bhisut Boonyen
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Yu Maneeploypeth
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์Phicha Pintharong
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์rungtip boontiengtam
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศNpatsa Pany
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศjzturbo
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศNana Hassana
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้ครู อินดี้
 

What's hot (19)

ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
iam
iamiam
iam
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
 
Ch04 slide
Ch04 slideCh04 slide
Ch04 slide
 
Lab
LabLab
Lab
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 

Similar to Work3 48

องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)SittichaiSppd
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์SittichaiSppd
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 

Similar to Work3 48 (20)

องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
บทที่3-49
บทที่3-49บทที่3-49
บทที่3-49
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
IT-2-55
IT-2-55IT-2-55
IT-2-55
 
Lab
LabLab
Lab
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Whatiscomputer
WhatiscomputerWhatiscomputer
Whatiscomputer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 

Work3 48

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 3 อภิชญา เลอศักดิ์พัฒนกุล ม.6/2 เลขที่ 48
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ คือ กลุ่มของชุดคําสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทํางานได้ตามต้องการ การที่คอมพิวเตอร์ทํางาน ได้อย่างอัตโนมัติโดยที่มนุษย์ไม่ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องในการประมวลผลนั้น ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการทํางานของ ซอฟต์แวร์นั่นเอง โดยปกติแล้วผู้เขียนชุดคําสั่งนี้ขึ้นมาเรามักเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม ( programmer ) โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทํางานที่ใกล้ชิดกับอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยจะทําหน้าที่ติดต่อ ควบคุม และสั่งการให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถทํางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกันให้ได้มากที่สุด รวมถึงการบํารุงรักษาระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มี การใช้งานได้ยาวนานขึ้นอีกด้วย ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ - ระบบปฏิบัติการ ( operating systems ) - โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility programs ) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ เฉพาะด้านเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ แต่จะทํางานได้ โดยเรียกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านซอฟต์แวร์ระบบอีกทอดหนึ่งดังที่กล่าวแล้วในบทที่ผ่าน มา ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้สามารถแบ่งออกได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะเกณฑ์ที่ใช้แบ่ง ซึ่ง พอจะสรุปได้ดังนี้แบ่งตามลักษณะการผลิต ได้ 2 ประเภท คือ - ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software ) - ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป ( Off – the– Shelf Software หรือ Packaged Software ) แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน ได้3 กลุ่มใหญ่คือ - กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ ( business ) - กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย ( graphic and multimedia ) - กลุ่มสําหรับการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร ( web and communications )
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน แบบสําเร็จรูป(Package หรือ Ready -made Software) แบบนี้ผู้ใช้สามารถหาซื้อได้จากตัวแทนจําหน่ายที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักมีการเตรียมบรรจุ ภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว และผู้ใช้นําไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้ทันที โดยซื้อได้ทั้งจากตัวแทนบริษัท และเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิต แบบว่าจ้างทํา(Customized หรือ Tailor-made Software) ซอฟต์แวร์ประเภทนี้เหมาะสําหรับบริษัท หน่วยงาน ไม่สามารถนําโปรแกรมสําเร็จรูปมาประยุกต์ใช้งานได้ ก็ สามารถว่าจ้างบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ ผลิตซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความต้องการของหน่วยงานของตน ซึ่งอาจมี ค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างเขียนซอฟต์แวร์ที่แพงกว่าซอฟต์แวร์สําเร็จรูป แบบทดลองใช้ (Shareware) บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ มักจะมีโปรแกรมเพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อนได้ แต่อาจมีกําหนดเวลาในการทดลอง ใช้ เช่น 30 วัน เพื่อเป็นทางเลือกให้ลูกค้าทดลองใช้ก่อนตัดสินใจซื้อ แบบใช้งานฟรี(Freeware) เป็นซอฟต์แวร์ที่แจกให้ใช้งานฟรี มักเป็นโปรแกรมขนาดเล็กมีให้ดาวน์โหลดบนอินเตอร์เน็ต แต่ซอฟต์แวร์ ประเภทนี้ ลิขสิทธิ์ยังคงเป็นเจ้าของหรือบริษัทผู้ผลิตอยู่ บุคคลทั่วไปไม่สามารถนําไปพัฒนาต่อได้ แบบโอเพ่นซอร์ส(Public-Domain/-Open Sourse) เป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดให้ใช้งานฟรี และผู้ใช้สามารถนําไปพัฒนาโปรแกรมต่อให้มีความสามารถมากยิ่งขึ้นได้ โดย ไม่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ระบบปฏิบัติการ(OS-Operating System) เป้ นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้สําหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ประเภทของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน อาจนําเอาไปใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ หลากหลายชนิดตั้งแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ระดับใหญ่จนถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาด เล็ก อาจแบ่งได้ออกเป็น 3 ชนิด คือ - ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone OS) เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสําหรับผู้ใช้เพียงคน เดียว(เจ้าของเครื่องนั้นๆ) นิยมใช้สําหรรรรรรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทํางานแบบทั่วไป เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์หรือสํานักงาน ซึ่งจะถูกติดตั้งระบบปฏิบัติการนี้ไว้ใช้รองรับการทํางานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดู หนังหรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ปัจจุบันพัฒนาให้มมมมีคุณสมบัติที่เป็นเครื่องลูกข่ายเพื่อขอรับบริการ จากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย - ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย (network OS) เป็นระบบการที่มุ่งเน้นและบริการสําหรับผู้ใช้หลายๆคน(multi- user) นิยมใช้สําหรับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสําหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบเห็นได้กับการนําไปใช้ใน องค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการเหล่านี้จะเรียกว่า เครื่อง sever ซึ่งเป็นเสมือนเครื่อง แม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลต่างๆ ที่จําเป็นสําหรับผุ้ใช้นั่นเอง - ระบบปฏิบัติการแบบฝัง (embeded OS) เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาด เล็ก เช่น พีดีเอ หรือSmart phone บางรุ่น สามารถช่วยในการทํางานของอุปกรณ์แบบไม่ประจําที่เหล่านี้ได้เป็นอย่าง ดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อมๆกับที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น บางระบบมีคุณสมบัติที่ ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวด้วย เช่น รองรับการทํางานทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้(utility programs) เป็นซอฟท์แวร์ที่ทําหน้าที่เฉพาะอย่าง เพื่อการจัดการงานพื้นฐานและบริการต่างๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูล (sort) การ รวมแฟ้ มข้อมูลที่เรียงลําดับแล้วเข้าด้วยกัน (merge) หรือย้ายข้อมูลจากอุปกรณ์รับหนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง รวมทั้ง สามารถใช้จัดการกับฮาร์ดแวร์โดยตรง โปรแกรมอรรถประโยชน์ส่วนใหญ่จะถูกรวมอยู่ในระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท ดังต่อไปนี้ ๑) โปรแกรมอรรถประโยชน์สําหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs) เป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมกับ ระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอํานวยความสะดวกในการทํางานร่วมกับฮาร์ดแวร์ ตัวอย่างโปรแกรม มีดังต่อไปนี้
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ๑.๑) โปรแกรมจัดการไฟล์ (File manager) เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อช่วยจัดการไฟล์ต่างๆได้แก่การคัดลอก แฟ้ มข้อมูลการเปลี่ยนชื่อแฟ้ มข้อมูลการลบแฟ้ มข้อมูลการเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆได้อย่างสะดวกนอกจากนี้ ระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ๆได้เพิ่มความสามารถการแสดงไฟล์เป็นรูปภาพเหมือนจริง (image view) ทําให้การใช้งาน มีความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ๑.๒) โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม (Uninstaller) เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการนําโปรแกรมและส่วนประกอบ ของโปรแกรมที่ติดตั้งไว้ในระบบออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่บริษัทผู้ผลิตซอฟท์แวร์จะติดตั้งโปรแกรม ยกเลิกการติดตั้งโปรแกรมไว้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมประยุกต์อยู่แล้ว ๒) โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ (Standalone utility programs) เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพตัวอย่างโปรแกรมมีดังต่อไปนี้ ๒.๑) โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File compression utility) เป็นโปรแกรมที่ทําหน้าที่บีบอัดไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ให้มีขนาด เล็กลงไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์เรียกว่าซิปไฟล์ (zip file) โปรแกรมบีบอัดไฟล์ที่นิยมเช่นWinZip, Winrar เป็น ต้น ๒.๒)โปรแกรมไฟร์วอลล์ (Firewall) เป็นโปรแกรมที่ช่วยป้ องกันบุคคลภายนอกเข้ามาในระบบโดยไม่ได้รับ อนุญาตทั้งจากระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตโดยโปรแกรมจะทําการตรวจสอบข้อมูลที่เข้าและออก จากระบบถ้าพบว่ามีข้อมูลที่ไม่ได้รับอนุญาตซึ่งอาจเป็นข้อมูลจากผู้ไม่ประสงค์ดีที่เข้ามาในระบบโปรแกรมจะไม่ อนุญาตให้ข้อมูลดังกล่าวเข้ามาในระบบโปรแกรมไฟร์วอลล์เป็นซอร์ฟแวร์ที่ผู้ใช้สามารถนําไปใช้ได้โดยไม่เสีย ค่าใช้จ่ายนิยมใช้กับระบบปฏิบัติการWindows เช่นWindows Firewall, ZoneAlarm, Lavasoft Personal Firewall, Pc Tools Firewall Plus เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการเช่นซอฟต์แวร์ประมวลคํา ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษีซอฟต์แวร์สินค้าคงคลังซอฟต์แวร์ตารางทํางานซอฟต์แวร์กราฟิกซอฟต์แวร์จัดการ ฐานข้อมูลเป็นต้น การทํางานใดๆโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จําเป็นต้องทํางานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่นซอฟต์แวร์ประมวลคําต้องทํางานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส์เป็นต้น
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจากขีด ความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้น ๆเพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจําหน่ายต่างพยายามแข่งขันกันหลาย ๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับเครื่องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อ่านเข้าใจง่าย ให้วิธี หรือขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่างชัดเจน และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเข้าออกกับซอฟต์แวร์อื่นได้ง่าย ซอฟต์แวร์ประยุกต์มีอยู่มากมาย อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทางและซอฟต์แวร์ สําเร็จ 1. ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทาง เป็นโปรแกรมที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาสําหรับนําไปใช้งานเฉพาะด้านหรือในสาขาใดสาขาหนึ่งตามความ ต้องการของผู้ใช้ โดยที่ผู้เขียน คือ โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์ และต้องศึกษาทําความเข้าใจงานและรายละเอียดของการประยุกต์นั้นเป็นอย่างดี เช่น โปรแกรม ช่วยจัดการด้านการเงิน โปรแกรมช่วยจัดการบริการลูกค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ค่อยได้พบเห็นซอฟต์แวร์ประเภทนี้ ในท้องตลาดทั่วไป แต่จะซื้อหาได้จากผู้ผลิตหรือตัวแทนจําหน่ายในราคาค่อนข้างสูงกว่าซอฟต์แวร์ที่ใช้งานทั่วไป โครงสร้างของซอฟต์แวร์เฉพาะทางมักจะประกอบด้วย ฐานข้อมูลเพื่อใช้เก็บข้อมูลลูกค้าและระบบหลักของงาน ภายในซอฟต์แวร์ควรจะมีส่วนทํางานประมวลคําเพื่อใช้สร้างรายงาน ติดต่อโต้ตอบจดหมาย และการนัดหมายตาม กําหนดการ ลักษณะของซอฟต์แวร์เฉพาะทางนี้ มีทั้งรูปแบบที่มีผู้ใช้งานคนเดียวหรือผู้ใช้งานได้พร้อมกันหลายคน ในประเทศไทย มีการใช้ซอฟต์แวร์ประเภทใช้เฉพาะทางอยู่บ้าง ส่วนใหญ่จะเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิต ต่างประเทศได้ออกแบบมาเพื่อรองรับงานด้านธุรกิจ ในที่นี้ได้รวบรวมจัดประเภทไว้ดังนี้ 1) ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินทรัพย์ถาวรและค่าเสื่อมราคาสะสม บัญชีแยกประเภททั่วไป และ บัญชีเงินเดือน 2) ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจําหน่าย ได้แก่ ระบบงานรับใบสั่งซื้อสินค้า ระบบงานบริหารสินค้าคงคลัง และระบบงานประวัติการขาย 3) ซอฟต์แวร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ ระบบงานกําหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การวางแผนกําลัง การผลิต การคํานวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงานการวางแผนการผลิตหลักการวางแผนความ ต้องการวัสดุการควบคุมการทํางานภายในโรงงานการกําหนดเงินทุนมาตรฐานสินค้าและการกําหนดขั้นตอนการ ผลิต
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 4) ซอฟต์แวร์อื่น ๆ ได้แก่ ระบบการสร้างรายงาน การบริหารการเงิน การเช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์และการเช่าซื้อรถยนต์ 2. ซอฟต์แวร์สําเร็จ เป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้นและวางขายทั่วไป ผู้ใช้สามารถหาซื้อมาประยุกต์ใช้งานทั่วไปได้ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสําหรับงานใดงานหนึ่ง ผู้ใช้งานจะต้องเป็นผู้นําไปประยุกต์กับงานของตน ผู้ใช้อาจต้องมีการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปนี้จะไม่สูง มากเกินไป ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปซึ่งนิยมเรียกว่าซอฟต์แวร์สําเร็จแบ่งออกเป็นหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้งานคือ 1) ด้านการประมวลคํา 2) ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลหรือตารางทํางาน 3) ด้านการเก็บและเลือกค้นข้อมูลเป็นระบบฐานข้อมูล 4) ด้านกราฟิกและนําเสนอข้อมูล 5) ด้านการติดต่อสื่อสารทางไกล 6) ด้านการพิมพ์ตั้งโต๊ะ 7) ด้านการลงทุนและจัดการการเงิน 8) ด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม 9) ด้านการจําลอง เกม และการตัดสินใจ
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถ ทํางานตามคําสั่งนั้นได้คํานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของ ภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัป และภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทาง เทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และภาษาระดับตํ่า (low level) ภาษา ระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับตํ่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์ และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล(compile) ไปเป็นภาษาระดับตํ่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนําไปใช้งานหรือปฏิบัติ ตามคําสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้ว เปลี่ยนให้เป็นชุดคําสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้ มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ (แทบทุกชนิดเป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้แต่ออกแบบมาเพื่อให้โค้ดกระชับซึ่งคอมพิวเตอร์จะสามารถประมวลผลได้ ง่ายกว่า
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (First Generation Language : 1GL)เป็นภาษาระดับตํ่า (Low - Level Language) ประกอบด้วยเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 หรือเรียกว่า "ภาษาเครื่อง (Machine Language)" ยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL)ได้มีผู้พัฒนาให้มีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง เรียกว่า "ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)" คือ ภาษาอังกฤษ จะเป็นคําสั่งสั้น ๆ ที่จําได้ง่าย เรียกว่า "นิวมอนิกโค้ด (Nemonic Code)" ทําให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างภาษาสัญลักษณ์ ได้แก่ ภาษา Assembly และเนื่องจากเป็นภาษาสัญลักษณ์ จึงต้องใช้ตัวแปลภาษา เพื่อทําให้เป็นภาษาเครื่องก่อน ด้วยตัว แปลภาษาที่เรียกว่า "Assembler" ยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL)ภาษาสัญลักษณ์ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น ทําให้สามารถแทนตัว เลขฐานสองได้เป็นคํา ทําให้กลายเป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจและเขียนได้ง่ายขึ้น คําสั่งสั้นและกระชับมากขึ้น เช่น ภาษา BASIC, COBOL, Pascal ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL)ได้มีการพัฒนารูปแบบการเขียนโปรแกรมจากยุคที่ 3 ที่จัดว่าเป็นการ เขียนแบบ Procedural ให้กลายเป็นการเขียนแบบ Non - Procedural ที่สามารถกระโดดไปทําคําสั่งใดก่อนก็ได้ ตามที่โปรแกรมเขียนไว้นอกจากนี้ จุดเด่นของภาษาในยุคนี้เริ่มจากการเขียนคําสั่งให้ผู้ใช้สามารถจัดการกับข้อมูล ในฐานข้อมูล ได้และพัฒนาต่อมากลายเป็นการเขียนคําสั่งให้ได้โปรแกรมที่มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิกมากขึ้น และพัฒนา จนมาถึงการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object - Oriented Programming) เช่น ภาษา C++, Visual C++, Delphi, Visual Basic เป็นต้น ปัจจุบันมีภาษาที่ใช้หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุที่นิยมใช้เช่น ภาษา Java ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL)เป็นภาษาที่ใช้สําหรับพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกว่า "ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)" คือ ไม่ต้องสนใจถึงคําสั่งหรือลําดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นคําหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคําหรือประโยคเหล่านั้นเพื่อทําตาม คําสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ก็จะมีคําถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบ ต่าง ๆ ตามแต่ความชํานาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้จะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโคด (source code) ซึ่งมนุษย์จะอ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคําสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์ เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม ตัว แปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่องโปรแกรมที่แปล จากโปรแกรมต้นฉบับแล้วเรียกว่า ออบเจคโคด (object code) ซึ่งจะประกอบด้วยรหัสคําสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจและนําไปปฏิบัติได้ต่อไปตัวแปลภาษาที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน จะต่างกันที่ขั้นตอนที่ใช้ในการแปลภาษาให้ อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้สามารถแบ่งได้เป็น 1. แอสเซมเบลอ (Assembler)เป็นตัวแปลภาษาแอสแซมบลีซึ่งเป็นภาษาระดับตํ่าให้เป็นภาษาเครื่อง 2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ไปเป็น ภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคําสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้งโปรแกรมทําให้การแก้ไขโปรแกรม ทําได้ง่ายและรวดเร็ว แต่ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลโดยการใช้อินเตอร์พรีเตอร์นั้นไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้ จะจะต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน 3. คอมไพเลอร์ (Compiler) จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูงเช่นเดียวกับอินเตอร์พรีเตอร์แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรมทั้ง โปรแกรมให้เป็นออบเจคโคด ก่อนที่จะสามารถนําไปทํางานเช่นเดียวกับแอสแซมเบลอ ออบเจคโคดที่ได้จากการ แปลนั้นสามารถจัดเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูล เพื่อให้นําไปใช้ในการทํางานเมื่อใดก็ได้ตามต้องการ ซึ่งเป็นข้อดีของ คอมไพเลอร์ที่จะนําผลที่ได้จากการแปลนั้นไปใช้งานกี่ครั้งก็ได้ไม่จํากัด ไม่ต้องเสียเวลาในการแปลใหม่ทุกครั้ง ทําให้เป็นรูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก