SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline

องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทางานที่ใกล้ชิดกับอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยจะทาหน้าที่ติดต่อ ควบคุม และสั่งการให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและสอดคล้องกันให้ได้มากที่สุด รวมถึงการบารุงรักษาระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีการใช้งาน
ได้ยาวนานขึ้นอีกด้วย ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ
 ระบบปฏิบัติการ ( operating systems )
 โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utility programs )


ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะด้านเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้อง
กับการควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ แต่จะทางานได้โดยเรียกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านซอฟต์แวร์ระบบอีกทอด
หนึ่งดังที่กล่าวแล้วในบทที่ผ่านมา ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้สามารถแบ่งออกได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะเกณฑ์ที่ใช้
แบ่ง ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้
การจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้งาน
1. แบบสาเร็จรูป (Packaged or ready-made software) เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจาหน่ายซอฟแวร์
ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่
แล้ว ผู้ใช้สามรถนาไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านทางร้านตัวแทนจาหน่าย
ได้ อาจเข้าไปในเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ แล้วกรอกข้อมูลรายการชาระเงินผ่านระบบ
แบบฟอร์มบนเว็บ เมื่อรายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายชาระเงินของผู้ซื้อได้รับการอนุมัติแล้ว ก็สามารถดาวน์
โหลดเอาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ทันที
2. แบบว่าจ้างทา (Customized or tailor-made software) เป็นวิธีการที่เหมาะสาหรับองค์กรที่มีลักษณะงาน
เฉพาะของตนเองและไม่สามารถนาโปรแกรมสาเร็จรูปมาประยุกต์ใช้ได้ ดังนั้น จึงต้องมีการผลิตซอฟแวร์
ขึ้นมาใช้เอง โดยให้บุคคลภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านทาการผลิตซอฟแวร์ใหเตรงตามคุณสมบัติที่
ต้องการ วิธีการนี้อาจทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าแบบสาเร็จรูปพอสมควร แต่การทางานของซอฟต์แวร์จะ
สอดคล้องตรงกับความต้องการได้ดีที่สุด
3. แบบทดลองใช้ (Shareware) เป็นวิธีที่บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ได้ผลิตโปรแกรมที่ปรับลดคุณสมบัติ
บางอย่างลงไป เพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อน โดยมีการกาหนดระยะเวลาทดลองใช้งาน เช่น ใช้ได้ภายใน
30 วัน ใช้ภายใน 90 วัน เป็นต้น หากผู้ใช้ทดลองใช้แล้วตัดสินใจว่าดี ตลอดจนเหมาะสมกับงานที่ทาอยู่ ผู้ใช้
สามารถสั่งซื้อโปรแกรมสาเร็จรูปแบบต็มๆจากบริษัทผู้ผลิตต่อไป
4. แบบทดลองใช้งานฟรี (Freeware) เป็นโปรแกรมที่แจกให้ใช้ฟรี เพื่อตอบสนองกับการทางานที่
หลากหลาย ซึ่งผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจ่ายเงินให้กับบริษัทผู้ผลิต ส่วนใหญ่เป้าหมายของผู้ผลิตคือ ต้องการพัฒนา
โปรแกรมเพื่อเผยแพร่ผลงานของตนเองให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้น ซอฟต์แวร์
ประเภทนี้ลิขสิทธิ์ก็ยังเป็นของบริษัทผู้ผลิตอยู่ ผู้อื่นไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
5. แบบโอเพนซอร์ซ (Open source) เป็นวิธีการขององค์กรที่มีกลุ่มบุคคลผู้ที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้าน
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทาการพัฒนาขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้นาไปใช้งานได้ฟรี รวมทั้งสามารถแก้ไขปรับปรุง
โปรแกรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับงานของตนได้
ระบบปฏิบัติการ (OS - Operating System)
หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่
รู้จักกันดีเช่นดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX)
1) ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์
ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์
2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทางานหลายงาน
พร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก
ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตาแหน่งเพื่อเลือกตาแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทาให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้
ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน
3) โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ส แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็น
ระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับ
วินโดวส์
4) ยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์เป็น
ระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึง
ใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่อปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน
คุณสมบัติการทางาน
คุณสมบัติการทางาน ระบบปฏิบัติการโดยทั่วไปจะมีคุณสมบัติในการทางานแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1.การทางานแบบ Multi – Tasking คือ ความสามารถในการทางานได้หลาย ๆ งาน หรือหลาย ๆ
โปรแกรมในเวลาเดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่ไปกับการท่องเว็บ ซึ่งในสมัยก่อนการทางานของ
ระบบปฏิบัติการจะอยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า single-tasking ซึ่งจะทางานทีละโปรแกรมคาสั่ง ผู้ใช้ไม่สามารถที่จะ
สลับงานไประหว่างโปรแกรมหรือทางานควบคู่กันได้ แต่สาหรับในปัจจุบันจะพบเห็นลักษณะการทางานแบบ
นี้มากขึ้น เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows รุ่มใหม่ ๆ ซึ่งทาให้การใช้งานได้สะดวกและทางานได้หลาย ๆ
โปรแกรม
2.การทางานแบบ Multi – User ในระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการที่ทาหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่เรียกว่า multi-user หรือความสามารถในการ
ทางานกับผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน ขณะที่มีการประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน ทาให้กระจายการใช้ได้ทั่วถึงมาก
ยิ่งขึ้น
ประเภทของระบบปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวเป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่องนั้น
ๆ) นิยมใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทางานแบบทั่วไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือ
สานักงาน ซึ่งจะถูกติดตั้งระบบปฏิบัติการนี้รองรับการทางานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลง หรือ
เชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ปัจจุบันพัฒนาให้มีคุณสมบัติที่เป็นลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้
ด้วย
1) ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็น
ซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์
2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทางานหลาย
งานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบ
กราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตาแหน่งเพื่อเลือกตาแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทาให้ใช้งาน
คอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน
3) โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ส แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็น
ระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับ
วินโดวส์
4) ยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์
เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์
จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่อปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน
2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ( network OS ) เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้หลาย
ๆ คน ( multi - user ) นิยมใช้สาหรับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสาหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบเห็น
ได้กับการนาไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการเหล่านี้เรียกว่า เครื่อง server
ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับผู้ใช้นั่นเอง
1. Windows Server เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่ายโดยเฉพาะ รุ่น
แรกออกมาในชื่อ Windows NT และพัฒนาต่อมาเป็น Windows 2000 และรุ่นล่าสุดคือ Windows
Server 2003 ผลิตออกมาเพื่อรองรับกับการใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนา
โดยบริษัทไมโครซอฟต์ ส่วนใหญ่เหมาะกับการติดตั้งและใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย(Server)
2. OS/2 Warp Server เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายอีกรูปแบบหนึ่ง ออกแบบมาสาหรับการใช้งาน
คอมพิวเตอร์แบบเครือข่ายสาหรับองค์กรได้เป็นอย่างดี พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็มเพื่อใช้เป็นระบบ
ที่ควบคุมเครื่องแม่ข่ายหรือ Server เช่นเดียวกัน แต่ไม่ประสบความสาเร็จอย่างที่หวัง และเลิก
พัฒนาต่อไป
1.ประเภทการจัดการไฟล์ ( File Manager )เป็นยูทิลิตี้ที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่าง ๆ เช่น การ
คัดลอก การเปลี่ยนชื่อ การลบ และการย้ายไฟล์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ ๆ ยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่
เรียกว่า image viewer เพื่อนามาปรับใช้กับไฟล์ที่เป็นรูปภาพได้อีกด้วย เมื่อใดที่ต้องการเรียกดูไฟล์ที่เป็นรูปภาพ
(จะแสดงเป็นภาพขนาดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า thumbnail ) ผู้ใช้งานสามารถที่จะดับเบิลคลิกและเปิดดูได้ทันที
2.ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม ( Uninstaller ) การติดตั้งโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว เมื่อใดก็ตามที่ต้องการลบหรือ
กาจัดโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านี้ออกไปจากระบบ สามารถเรียกใช้โปรแกรมประเภทการลบทิ้งนี้ได้เลยทันที ซึ่งทางาน
ได้อย่างง่ายดาย สาหรับในระบบปฏิบัติการ Windows XP จะอยู่ที่ Add/Remove Programs ในส่วนของ Control Panel
3.ประเภทการสแกนดิสก์ ( Disk Scanner ) เมื่อใดก็ตามที่อุปกรณ์สารองข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น
ฮาร์ดดิสก์หรือฟล็อปปี้ดิสก์เกิดปัญหาในการใช้งานขึ้น ยูทิลิตี้ประเภทนี้จะทาการสแกนหาข้อผิดพลาดต่าง
ๆ เหล่านั้น พร้อมทั้งหาทางแก้ปัญหานั้นให้ด้วย ยูทิลิตี้ประเภทสแกนดิสก์ อาจพบเห็นได้กับการเอาไปใช้
เพื่อสแกนหาไฟล์ที่ไม่ต้องการใช้งาน ( unnecessary files ) ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้เป็นจานวนมากเมื่อเราใช้
คอมพิวเตอร์ทางานไปสักระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้นเพื่อให้มีพื้นที่เก็บบันทึกข้อมูลเหลือคืนมา เราอาจเลือกใช้
โปรแกรม เช่น Disk Cleanup ทาการสารวจและกาจัดไฟล์เหล่านั้นออกไปจากระบบเพื่อกันพื้นที่ไว้เก็บ
ข้อมูลที่จาเป็นใหม่ ๆ อีกได้
4.ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล ( Disk Defragmenter ) เป็นยูทิลิตี้ที่มีประโยชน์ในการใช้งาน
อย่างมาก เพราะดิสก์ของคอมพิวเตอร์นั้นเมื่อมีการเรียกใช้งานอยู่บ่อย ๆ จะทาให้เกิดการกระจัด
กระจายของไฟล์ข้อมูลอย่างไม่เป็นระเบียบและไม่ได้อยู่เป็นกลุ่มก้อนเดียวกันเมื่อต้องการเรียกใช้อีก
ในภายหลังจะทาให้เวลาในการดึงข้อมูลนั้น ๆ ช้าลง โปรแกรมยูทิลิตี้ประเภทนี้จะคอยทาหน้าที่
จัดเรียงไฟล์เหล่านี้เสียใหม่ให้เป็นระเบียบมากขึ้น เพื่อช่วยให้การเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวง่ายและเร็ว
กว่าเดิม
5.ประเภทรักษาหน้าจอ ( Screen Saver ) จอภาพของคอมพิวเตอร์ เมื่อเราเปิดทางานและปล่อยทิ้งให้
แสดงภาพเดิมโดยไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ เกิดขึ้นเป็นเวลานาน จะทาให้เกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสง
ที่ฉาบผิวจอและไม่สามารถลบหายออกไปได้ เมื่อปล่อยทิ้งไว้นานเข้าอาจส่งผลให้อายุการใช้งานของ
หน้าจอคอมพิวเตอร์สั้นลงตามไปด้วย โปรแกรมประเภทรักษาหน้าจอหรือ Screen Saver จะมาช่วย
ป้องกันปัญหาดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถตั้งค่าระยะเวลาให้โปรแกรม
ตรวจเช็คและเริ่มทางานได้หากไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ ของจอภาพ เช่น 5 นาที หรือ 10 นาที เป็นต้น
เมื่อเราทาการขยับเมาส์หรือเริ่มที่จะนั่งทางานใหม่ โปรแกรมดังกล่าวก็จะหายไป ภาพเคลื่อนไหวต่าง
ๆ ที่ใช้สาหรับรักษาหน้าจอสามารถเลือกลวดลายหรือรูปแบบภาพได้ด้วยตนเอง นอกจากนั้นแล้วเพื่อ
เป็นการป้องกันการใช้งานของบุคคลที่สาม อาจใช้การตั้งรหัสผ่านของโปรแกรมรักษาหน้าจอเอาไว้
ด้วย
1.โปรแกรมป้องกันไวรัส ( Anti Virus Program ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกับบุคคลอื่นหลาย ๆ คน
โดยเฉพาะอย่างยิ่เมื่อประยุกต์ใช้กับระบบเครือข่าย สิ่งที่เป็นปัญหาและพบบ่อยมากที่สุดก็คือไวรัสคอมพิวเตอร์
( computer virus ) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งประเภทหนึ่งที่มีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีเขียนขึ้นมาเพื่อทาให้ประสิทธิภาพในการ
ทางานของคอมพิวเตอร์ลดลงหรือไม่สามารถทางานต่าง ๆ ได้ จึงมีผู้พัฒนาโปรแกรมไว้ใช้เพื่อแก้ไขปัญหา
ดังกล่าวเรียกว่า โปรแกรมป้องกันไวรัส (anti virus program )การใช้คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปควรจะมีการติดตั้ง
โปรแกรมนี้ไว้ภายในเครื่องด้วย อย่างไรก็ดีไวรัสคอมพิวเตอร์นั้นเกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา โปรแกรมบางรุ่น
อาจไม่สามารถตรวจพบไวรัสบางตัวได้ซึ่งเป็นเพราะว่าผลิตขึ้นมาก่อนที่ไวรัสตัวนั้นจะแพร่กระจาย ผู้ใช้จึง
จาเป็นต้องอัพเดทข้อมูลบอกให้กับโปรแกรมเหล่านี้ทราบด้วยเพื่อให้ทางานได้อย่างสมบูรณ์นั่นเอง (โปรแกรม
ป้องกันไวรัสจะมีส่วนของการอัพเดทข้อมูลแบบออนไลน์จากเว็บของเจ้าของโปรแกรมให้กับผู้ใช้ไว้ด้วยเสมอ)
2.โปรแกรมไฟร์วอลล์ ( Firewall ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายที่แพร่หลายมากยิ่งขึ้น เป็น
เหตุผลหนึ่งที่ทาให้ผู้ไม่ประสงค์ดีบุกรุกเข้ามาใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราได้ ดังนั้นเพื่อเป็นการ
ป้องกันการบุกรุกดังกล่าว เราสามารถหาโปรแกรมประเภทไฟร์วอลล์ (เนื่องจากใช้เฉพาะส่วนตัวบน
เครื่องเดียว บางครั้งจึงเรียกว่าpersonal firewall ) มาป้องกันได้ เนื่องจากมีคุณสมบัติเกี่ยวกับป้องกันการ
บุกรุก การติดตาม ตลอดจนตรวจสอบรายการต่าง ๆ ของผู้บุกรุกได้
โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ ( Utility Program )
เป็นโปรแกรมที่สาคัญกับการทางานของระบบคอมพิวเตอร์เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่จะมีขนาด
เล็กกว่าระบบปฏิบัติการ คุณสมบัติในการใช้งานนั้นค่อนข้างหลากหลายหรือใช้งานได้แบบอรรถประโยชน์ มัก
นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ยูทิลิตี้ ( Utility ) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ ( OS Utility Programs )
เป็นยูทิลิตี้ที่มักจะมีการติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกสาหรับ
การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอยกตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่ใช้ใน Windows ที่ค่อนข้างจะรู้จักกันดี
แบ่งตามลักษณะการผลิต
3.โปรแกรมบีบอัดไฟล์( File Compression Utility ) เป็นลักษณะของโปรแกรมที่ทาหน้าที่บีบอัดไฟล์
ให้มีขนาดเล็กลงนั้นเอง ไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์นี้บางครั้งนิยมเรียกว่า ซิปไฟล์( zip files )
ตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่นิยมใช้และรู้จักกันเป็นอย่างดี เช่น PKZip, Winzip เป็นต้น และแม้ในตัว
Windows XP เองก็มีความสามารถในการบีบอัดไฟล์ระดับหนึ่งอยู่แล้ว เรียกว่าเป็น Compressed
Folder นั่นเอง
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา
ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการ
ฐานข้อมูล เป็นต้น การทางานใด ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จาเป็นต้องทางานภายใต้สภาพแวดล้อมของ
ซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคาต้องทางานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอ
สดอส หรือวินโดวส์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่ง
มาจากขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้น ๆเพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจาหน่ายต่างพยายามแข่งขัน
กันหลาย ๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับเครื่องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อ่าน
เข้าใจง่าย ให้วิธีหรือขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่างชัดเจน และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเข้าออกกับซอฟต์แวร์อื่นได้ง่าย
1. ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทาง
2. ซอฟต์แวร์สาเร็จ
1.ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ( Proprietary Software )
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software ) พัฒนาขึ้นมาเหตุผลหลักคือ
หน่วยงานหรือองค์กรไม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์ที่นามาใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพดีเพียงพอ
กับความต้องการ จึงทาให้มีการสร้างซอฟต์แวร์ขึ้นมาใหม่เพื่อใช้กันในหน่วยงานโดยเฉพาะ วิธีการพัฒนา
อาจทาได้ 2 วิธีคือ
 In-house developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานของบริษัทเองโดยทีมงานที่มี
ทักษะและความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะวิธีนี้
นอกจากจะได้ซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความต้องการแล้ว ข้อดีอีกประการหนึ่งคือ แก้ไข
เปลี่ยนแปลงได้ง่าย อีกทั้งสามารถควบคุมการผลิตได้ตลอดระยะเวลาการพัฒนา
นั้น
 Contract หรือ outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทาขึ้นมา โดยอาจเป็น
บริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่า software house ซึ่ง
สามารถขอดูผลงานที่ผ่านมาของผู้ผลิตได้ อย่างไรก็ตาม บางครั้งอาจทาสัญญาจ้าง
ผลิตและตกลงเรื่องาคากันตั้งแต่ต้น พร้อมทั้งระบุระยะเวลาที่กาหนดแล้วเสร็จให้
ชัดเจน เพื่อป้องกันปัญหาในภายหลังได้
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป
( Off-the-shelf Software หรือ Packaged Software)
งานบางอย่างที่พบเห็นทั่วไป เช่น การจัดพิมพ์รายงานการจัดทาฐานข้อมูล การนาเสนองาน เราอาจจะ
เลือกหาซอฟต์แวร์เพื่อมาช่วยเหลือการทางานดังกล่าวได้โดยง่าย ซึ่งมีการวางขายตามท้องตลาดทั่วไป ( Off-the-
shelf ) การวางขายจะมีการบรรจุหีบห่ออย่างดีและสามารถนาไปติดตั้งและใช้งานได้เลย บางครั้งจึงนิยมเรียกว่า
โปรแกรมสาเร็จรูป(Packaged Software ) นั่นเอง ทั้งนี้อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมเฉพาะและ
โปรแกรมมาตรฐาน
1.โปรแกรมเฉพาะ ( customized Package ) เป็นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตทาการเพิ่มเติมคุณสมบัติ
บางอย่างลงไป เพราะโปรแกรมที่วางขายอยู่นั้นยังมีข้อจากัดบางประการที่ไม่สามารถตอบสนองการทางานของ
องค์กรได้ หากมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขเพียงเล็กน้อยก็จะทาให้ใช้งานได้ดีและเหมาะสมกับองค์กรมากขึ้นหรือบาง
โปรแกรมก็ทามาให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขปรับเปลี่ยนได้ในระดับหนึ่ง
2.โปรแกรมมาตรฐาน ( standard package ) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสามารถใช้กับงานทั่ว ๆ ไป ส่วน
ใหญ่แล้วจะมีคุณสมบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องไปปรับปรุงหรือแก้ไขส่วนของโปรแกรมใด ๆ
เพิ่มเติม เพียงแต่ศึกษาคู่มือหรือวิธีการใช้งานจากรายละเอียดที่แนบมาพร้อมกับการซื้อโปรแกรมนั้นก็สามารถใช้
งานได้เลยทันที โปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มนี้ เช่น กลุ่มของโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้าน
Microsoft Office เป็นต้น
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จากที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกมาตาม
ลักษณะของการผลิต อีกทางหนึ่งเราอาจแบ่งตามลักษณะของการนาไปใช้งานได้อย่างหลากหลาย
ซึ่งอาจยกตัวอย่างของโปรแกรมประกอบและแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
1.กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ ( business ) ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้จะเน้นในการใช้งานทางด้านธุรกิจ
โดยเฉพาะ โดยมุ่งหวังให้การทางานมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงงานคน เช่น ใช้สาหรับการ
จัดพิมพ์เอกสาร นาเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทซอฟต์แวร์ในกลุ่มนี้
เป็นจานวนมาก โปรแกรมที่ใช้กันในปัจจุบันอาจแบ่งเป็นกลุ่มย่อยตามลักษณะการใช้งานได้อีกดัง
ตัวอย่างในตารางต่อไปนี้
ลักษณะโปรแกรม ตัวอย่างโปรแกรม
ประมวลผลคา ( Word Processing )
ตารางคานวณ ( Spreadsheet )
ฐานข้อมูล ( Database )
นาเสนอผลงาน ( Presentation )
 Microsoft Word
 Sun Star Office Writer
 Microsoft Excel
 Sun Star Office Cale
 Microsoft Access
 Oracle
สาหรับพีดีเอ ( PDA Software )
แบบกลุ่ม ( Software Suite )
จัดการโครงการ ( Project Management )
งานบัญชี ( Accounting )
 My SQL
 Microsoft PowerPoint
 Sun Star Office Impress
 Microsoft Pocket Outlook
 Microsoft Pocket Excel
 Quick Notes
 Microsoft Office
 Sun Star Office
 Pladao Office
 Microsoft Project
 Intuit Quick Books
 Peachtree Complete Accounting
2.กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย(graphic and multimedia ) เป็นกลุ่ม
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยสาหรับการจัดการงานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดียให้
เป็นไปได้โดยง่าย มีความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบด้านต่าง ๆ นั่นเอง เช่น ตกแต่ง
ภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ ซึ่งอาจ
แบ่งกลุ่มย่อยลงไปได้อีกดังตารางต่อไปนี้
ลักษณะโปรแกรม ตัวอย่างโปรแกรม
งานออกแบบ (Computer Aided Design -
CAD)
งานสิ่งพิมพ์ (Desktop Publishing)
ตกแต่งภาพ (Paint/Image Editing)
ตัดต่อวิดีโอและเสียง (Video and Audio
Editing)
สร้างสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring)
สร้างเว็บ (Web Page Authoring)
 Autodesk AutoCAD
 Microsoft Visio Professional
 Adobe InDesign
 Adobe PageMaker
 Corel VENTURA
 QuarkXPress
 Adobe Illustrator
 Adobe Photoshop
 CoerlDRAW
 Macromedia FreeHand
 Adobe Premiere
 Cakewalk SONAR
 Pinnacle Studio DV
 Tool book Instructor
 Macromedia Authorware
 Macromedia Director Shockwave Studio
 Adobe Go Live
 Macromedia Dream weaver
 Macromedia Fireworks
 Macromedia Flash
 Microsoft FrontPage
3.กลุ่มสาหรับใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร ( Web and Communication ) การ
เติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น
โปรแกรมสาหรับการตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการและดูแลเว็บรวมถึงการส่งข้อความ
ติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย เป็นต้น ตัวอย่างของโปรแกรมสามารถดูได้จาก
ตารางต่อไปนี้
ลักษณะโปรแกรม ตัวอย่างโปรแกรม
จัดการอีเมล์ ( Electronic mail )
ท่องเว็บ ( Web browser )
ประชุมทางไกล ( Video Conference )
ถ่ายโอนไฟล์ ( File Transfer )
ส่งข้อความด่วน ( Instant messaging )
 Microsoft Outlook
 Outlook Express
 Mozzila Thunderbird
 Microsoft Internet Explorer
 Mozzila Firefox
 Opera
 Microsoft Netmeeting
 Cute_FTP
 WS_FTP
สนทนาบนอินเทอร์เน็ต ( IRC )  MSN Messenger/Windows Messenger
 ICQ
 PIRCH
 MIRC
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language)
มนุษย์ใช้ภาษาในการสื่อสารมาตั้งแต่สมัยโบราณ การใช้ภาษาเป็นเรื่องที่มนุษย์พยายามถ่ายทอดความคิด
และความรู้สึกต่าง ๆ เพื่อการโต้ตอบและสื่อความหมาย ภาษาที่มนุษย์ใช้ติดต่อสื่อสารในชีวิตประจาวัน เช่น
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ต่างเรียกว่าภาษาธรรมชาติ (artificial language) เพระมีการศึกษาได้ยิน ได้ฟัง
กันมาตั้งแต่เกิด
ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้ว
คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษา
โปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน
ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือ
ภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่า
เป็นภาษาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และภาษาระดับต่า (low
level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียน
ถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล(compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์
สามารถนาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปล
ไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง
ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-readable) และ
ภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถ
เข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ (แทบทุกชนิดเป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมี
โค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้ แต่ออกแบบมาเพื่อให้โค้ดกระชับซึ่งคอมพิวเตอร์จะสามารถประมวลผลได้
ง่ายกว่า
การใช้งานทางคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ทางานตามที่ต้องการ จาเป็นต้องมีการ
กาหนดภาษาสาหรับใช้ติดต่อสั่งงานกับคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์จะเป็น ภาษาประดิษฐ์ (artificial
language) ที่มนุษย์คิดสร้างมาเอง เป็นภาษาที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะ มีกฎเกณฑ์ที่ตายตัวและจากัด คือ อยู่ในกรอบ
ให้ใช้คาและไวยากรณ์ที่จากัด และมีการตีความหมายที่ชัดเจน จึงจัดภาษาคอมพิวเตอร์เป็น ภาษาที่มีรูปแบบเป็น
ทางการ (formal language) ต่างกับภาษาธรรมชาติที่มีขอบเขตกว้างมาก ไม่มีรูปแบบตายตัวที่แน่นอน กฎเกณฑ์
ของภาษา จะขึ้นกับหลักไวยากรณ์ และการยอมรับของกลุ่มผู้ใช้นั้น ๆ
ภาษาคอมพิวเตอร์ อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง (machine language) ภาษาระดับต่า (low-
ianguage) และภาษาระดับสูง (high-level language)
1. ภาษาเครื่อง
ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบ
เลขฐานสอง ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 ที่นามาเขียนเรียงติดต่อกัน ประโยคคาสั่งของภาษาเครื่องจะ
ประกอบด้วยส่วนที่ระบุให้คอมพิวเตอร์ทางานอะไร เช่น สั่งให้ทาการบวกเลข สั่งให้ทาการเคลื่อนย้ายข้อมูล
เป็นต้น และอีกส่วนเพื่อบอกแหล่งข้อมูลที่จะนามาทางานตามที่ระบุในตอนแรก
การเขียนโปรแกรม หรือชุดคาสั่งด้วยภาษาเครื่อง นับเป็นเรื่องที่ยุ่งยากไม่สะดวกและเสียเวลา เพราะผู้ใช้
จะต้องทราบรหัสแทนการทางานต่าง ๆ และต้องรู้ขั้นตอนการทางานภายในของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยละเอียด
ถ้าใช้คาสั่งไม่ถูกต้องเกิดการผิดพลาด โอกาสที่จะเข้าไปทาการแก้ไขก็ทาได้ยากและเสียเวลามาก มนุษย์จึง
พยายามคิดภาษาให้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น ด้วยการสร้างภาษาระดับต่าในเวลาต่อมา
2. ภาษาระดับต่าหรือภาษาแอสเซมบลี
ภาษาระดับต่า หรือภาษาแอสเซมบลี ลักษณะของภาษานี้จะเป็นการใช้ตัวอักษรมาเรียงกันเป็นคา แทน
เลขฐานสอง โดยคาที่กาหนดขึ้นจะมีความหมายที่สามารถเข้าใจและจาได้ง่าย เช่น จะใช้คาสั่ง ADD แทนการ
บวก คาสั่ง SUB แทนการลบ เป็นต้น ขณะดียวกัน ส่วนที่ใช้บอกแหล่งข้อมูลก็จะแทนด้วยชุดของตัวอักษรที่
เรียกว่าตัวแปร เช่น คาสั่ง ADD A,B จะหมายถึงให้นาข้อมูลที่ตาแหน่ง A และตาแหน่ง B มาบวกรวมกัน แล้ว
นาผลลัพธ์ไปเก็บที่ตาแหน่ง a เป็นต้น
เนื่องจากลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์จะรับรู้ หรือทางานด้วยภาษาเครื่องที่เป็นเลขฐานสองเท่านั้น การ
เขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลี จะต้องผ่านกระบวนการแปลเสียก่อน โดยแปลภาษาแอสแซมบลี ตัว
แปลภาษาแอสแซมบลีนี้เรียกว่า แอสแซมเบลอร์ (assembler)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลี ถึงแม้ว่าจะง่ายและเสียเวลาน้อยกว่าการเขียนโปรแกรมด้วย
ภาษาเครื่อง แต่มีข้อเสียคือผู้ใช้จะต้องเรียนรู้โครงสร้างของระบบเครื่องนั้นอย่างละเอียด เพราะภาษาแอสแซมบ
ลีเป็นภาษาที่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ จะใช้กับเครื่องระบบนั้น ถ้าใช้เครื่องต่างระบบที่มีตัวประมวลผลต่างกัน จะต้อง
เรียนรู้โครงสร้างภายในและชุดคาสั่งสาหรับเครื่องนั้นใหม่ทั้งหมด ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและไม่สะดวก
3. ภาษาระดับสูง
ภาษาระดับสูง การพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา จึงพยายามให้เป็นภาษาที่สามารถนาไปใช้กับ
เครื่องต่างระบบกัน ไม่ต้องเสียเวลาเรียนรู้ใหม่ทั้งหมด โปรแกรมที่เขียนสั่งงานกับเครื่องระบบหนึ่ง ก็สามารถ
นาไปใช้หรือดัดแปลงเพียงเล็กน้อยเพื่อสั่งงานกับเครื่องอีกระบบหนึ่งได้ ลักษณะของภาษาจะพยายามให้
ใกล้เคียงกับภาษาธรรมชาติมากขึ้น ทาให้เราสามารถศึกษาและเรียนรู้ได้ในเวลาอันรวดเร็ว ภาษาในยุคหลังนี้
เรียกว่า ภาษาระดับสูง ซึ่งได้มีการคิดค้นพัฒนาออกมาหลายภาษาด้วยกัน ที่เด่น ๆ และนิยมกันมาก ได้แก่ ภาษา
ฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาปาสกาล (PASCAL) ภาษาซี (C)
ภาษาเอดา (ADA) ภาษาลิสป์ (LISP) และภาษาโปรลอก (PROLOG) เป็นต้น
เมื่อเราเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงแล้ว จะนาไปสั่งงานคอมพิวเตอร์โดยตรงยังไม่ได้ จะต้องผ่าน
ขั้นตอนการแปลภาษาอีก เหมือนกรณีของภาษาแอสเซมบลี ตัวแปลภาษา เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็น
ภาษาเครื่อง อาจแบ่งได้เป็นสองแบบ คือ อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) และคอมไพเลอร์ (compiler)
ลักษณะของการแปลภาษาของอินเตอร์พรีเตอร์จะแปลและสั่งเครื่องให้ทางานตามคาสั่ง ทันทีทีละคาสั่งจน
จบโปรแกรม แต่การแปลภาษาด้วยคอมไพเลอร์จะเป็นการแปลทุกคาสั่งที่อยู่ในโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง
เก็บไว้เป็นแฟ้มก่อน การเรียกทางานจะเป็นการนาแฟ้มภาษาเครื่องมาทางานทีเดียว ดังนั้นการทางานด้วย
ตัวแปลแบบคอมไพเลอร์จึงทางานได้รวดเร็วและนิยมกันมากในปัจจุบัน
ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 1 (First Generation Language : 1GL) เป็นภาษาระดับต่า (Low - Level Language) ประกอบด้วย
เลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 หรือเรียกว่า "ภาษาเครื่อง (Machine Language)"
ยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) ได้มีผู้พัฒนาให้มีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง เรียกว่า
"ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)" คือ ภาษาอังกฤษ จะเป็นคาสั่งสั้น ๆ ที่จาได้ง่าย เรียกว่า "นิวมอนิ
กโค้ด (Nemonic Code)" ทาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างภาษาสัญลักษณ์
ได้แก่ ภาษา Assembly และเนื่องจากเป็นภาษาสัญลักษณ์ จึงต้องใช้ตัวแปลภาษา เพื่อทาให้เป็นภาษาเครื่องก่อน
ด้วยตัวแปลภาษาที่เรียกว่า"Assembler"
ยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL) ภาษาสัญลักษณ์ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น ทาให้สามารถแทน
ตัวเลขฐานสองได้เป็นคา ทาให้กลายเป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจและเขียนได้ง่ายขึ้น คาสั่งสั้นและกระชับ
มากขึ้น เช่น ภาษา BASIC, COBOL, Pascal
ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL) ได้มีการพัฒนารูปแบบการเขียนโปรแกรมจากยุคที่ 3 ที่จัดว่า
เป็นการเขียนแบบ Procedural ให้กลายเป็นการเขียนแบบ Non - Procedural ที่สามารถกระโดดไปทาคาสั่งใด
ก่อนก็ได้ตามที่โปรแกรมเขียนไว้ นอกจากนี้ จุดเด่นของภาษาในยุคนี้เริ่มจากการเขียนคาสั่งให้ผู้ใช้สามารถ
จัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูลได้และพัฒนาต่อมากลายเป็นการเขียนคาสั่งให้ได้โปรแกรมที่มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้
แบบกราฟิกมากขึ้น และพัฒนาจนมาถึงการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object - Oriented Programming) เช่น
ภาษา C++, Visual C++, Delphi, Visual Basic เป็นต้น ปัจจุบันมีภาษาที่ใช้หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุที่นิยม
ใช้ เช่น ภาษา Java
ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL) เป็นภาษาที่ใช้สาหรับพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ
(Expert System : ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกว่า "ภาษาธรรมชาติ
(Natural Language)" คือ ไม่ต้องสนใจถึงคาสั่งหรือลาดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลง
ในเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นคาหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคาหรือประโยคเหล่านั้น
เพื่อทาตามคาสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ ก็จะมีคาถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
ในการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบ
ต่าง ๆ ตามแต่ความชานาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้จะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโคด (source
code) ซึ่งมนุษย์จะอ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคาสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์
เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม
ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่องโปรแกรมที่
แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้วเรียกว่า ออบเจคโคด (object code) ซึ่งจะประกอบด้วยรหัสคาสั่งที่คอมพิวเตอร์
สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ต่อไปตัวแปลภาษาที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน จะต่างกันที่ขั้นตอนที่ใช้ในการ
แปลภาษาให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้สามารถแบ่งได้เป็น
♦ แอสเซมเบลอ (Assembler) เป็นตัวแปลภาษาแอสแซมบลีซึ่งเป็นภาษาระดับต่าให้เป็นภาษาเครื่อง
♦ อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ไปเป็น
ภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคาสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้งโปรแกรมทาให้การแก้ไข
โปรแกรมทาได้ง่ายและรวดเร็ว
แต่ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลโดยการใช้อินเตอร์พรีเตอร์นั้นไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้จะจะต้องแปล
โปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน
♦ คอมไพเลอร์ (Compiler) จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูงเช่นเดียวกับอินเตอร์พรีเตอร์แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรม
ทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจคโคด ก่อนที่จะสามารถนาไปทางานเช่นเดียวกับแอสแซมเบลอ ออบเจคโคดที่ได้
จากการแปลนั้นสามารถจัดเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูล เพื่อให้นาไปใช้ในการทางานเมื่อใดก็ได้ตามต้องการ ซึ่งเป็น
ข้อดีของคอมไพเลอร์ที่จะนาผลที่ได้จากการแปลนั้นไปใช้งานกี่ครั้งก็ได้ไม่จากัด ไม่ต้องเสียเวลาในการแปล
ใหม่ทุกครั้ง ทาให้เป็นรูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก
ในปัจจุบัน มีหลักการแปลภาษาคอมพิวเตอร์แบบใหม่เกิดขึ้น คือแปลจากซอร์สโคดไปเป็นรหัสชั่วคราว
หรืออินเทอมีเดียตโคด (Intermediate code)ซึ่งสามารถนาไปทางานได้ด้วยการใช้โปรแกรมในการอ่านและ
ทางานตามรหัสชั่วคราวนั้นโดยโปรแกรมนี้จะมีหลักการทางานคล้ายกับ
อินเทอพรีเตอร์ แต่จะทางานได้เร็วกว่าเนื่องจากรหัสชั่วคราวจะใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก มีข้อดีคือสามารถ
นารหัสชั่วคราวนั้นไปใช้ได้กับทุก ๆ เครื่องที่มีโปรแกรมตีความได้ทัน

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้Bhisut Boonyen
 
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้ครู อินดี้
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJewely Slsnt
 
Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40savimint
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt onthicha1993
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์Khunakon Thanatee
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ Khunakon Thanatee
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 

What's hot (17)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟท์แวร์และการเลือกใช้
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
Ch04 slide
Ch04 slideCh04 slide
Ch04 slide
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
System computer
System computerSystem computer
System computer
 
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 

Similar to บทที่3-49

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์sapol tamgsongcharoen
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์sapol tamgsongcharoen
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศFfurn Leawtakoon
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSakonwan947
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมLookked2122
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการKrusine soyo
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)Sirinat Sawengthong
 

Similar to บทที่3-49 (20)

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Work3 41
Work3 41Work3 41
Work3 41
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอมระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)
 

บทที่3-49

  • 1.  องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทางานที่ใกล้ชิดกับอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยจะทาหน้าที่ติดต่อ ควบคุม และสั่งการให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพและสอดคล้องกันให้ได้มากที่สุด รวมถึงการบารุงรักษาระบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีการใช้งาน ได้ยาวนานขึ้นอีกด้วย ซอฟต์แวร์ระบบแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ  ระบบปฏิบัติการ ( operating systems )  โปรแกรมอรรถประโยชน์ ( utility programs )   ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะด้านเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้อง กับการควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ แต่จะทางานได้โดยเรียกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านซอฟต์แวร์ระบบอีกทอด หนึ่งดังที่กล่าวแล้วในบทที่ผ่านมา ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้สามารถแบ่งออกได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะเกณฑ์ที่ใช้ แบ่ง ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้ การจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้งาน 1. แบบสาเร็จรูป (Packaged or ready-made software) เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจาหน่ายซอฟแวร์ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่ แล้ว ผู้ใช้สามรถนาไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านทางร้านตัวแทนจาหน่าย ได้ อาจเข้าไปในเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ แล้วกรอกข้อมูลรายการชาระเงินผ่านระบบ แบบฟอร์มบนเว็บ เมื่อรายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายชาระเงินของผู้ซื้อได้รับการอนุมัติแล้ว ก็สามารถดาวน์ โหลดเอาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ทันที 2. แบบว่าจ้างทา (Customized or tailor-made software) เป็นวิธีการที่เหมาะสาหรับองค์กรที่มีลักษณะงาน เฉพาะของตนเองและไม่สามารถนาโปรแกรมสาเร็จรูปมาประยุกต์ใช้ได้ ดังนั้น จึงต้องมีการผลิตซอฟแวร์ ขึ้นมาใช้เอง โดยให้บุคคลภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านทาการผลิตซอฟแวร์ใหเตรงตามคุณสมบัติที่ ต้องการ วิธีการนี้อาจทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าแบบสาเร็จรูปพอสมควร แต่การทางานของซอฟต์แวร์จะ สอดคล้องตรงกับความต้องการได้ดีที่สุด 3. แบบทดลองใช้ (Shareware) เป็นวิธีที่บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ได้ผลิตโปรแกรมที่ปรับลดคุณสมบัติ บางอย่างลงไป เพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อน โดยมีการกาหนดระยะเวลาทดลองใช้งาน เช่น ใช้ได้ภายใน 30 วัน ใช้ภายใน 90 วัน เป็นต้น หากผู้ใช้ทดลองใช้แล้วตัดสินใจว่าดี ตลอดจนเหมาะสมกับงานที่ทาอยู่ ผู้ใช้
  • 2. สามารถสั่งซื้อโปรแกรมสาเร็จรูปแบบต็มๆจากบริษัทผู้ผลิตต่อไป 4. แบบทดลองใช้งานฟรี (Freeware) เป็นโปรแกรมที่แจกให้ใช้ฟรี เพื่อตอบสนองกับการทางานที่ หลากหลาย ซึ่งผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจ่ายเงินให้กับบริษัทผู้ผลิต ส่วนใหญ่เป้าหมายของผู้ผลิตคือ ต้องการพัฒนา โปรแกรมเพื่อเผยแพร่ผลงานของตนเองให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้น ซอฟต์แวร์ ประเภทนี้ลิขสิทธิ์ก็ยังเป็นของบริษัทผู้ผลิตอยู่ ผู้อื่นไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ 5. แบบโอเพนซอร์ซ (Open source) เป็นวิธีการขององค์กรที่มีกลุ่มบุคคลผู้ที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้าน การพัฒนาซอฟต์แวร์ทาการพัฒนาขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้นาไปใช้งานได้ฟรี รวมทั้งสามารถแก้ไขปรับปรุง โปรแกรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับงานของตนได้ ระบบปฏิบัติการ (OS - Operating System) หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่ รู้จักกันดีเช่นดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) 1) ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ 2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทางานหลายงาน พร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตาแหน่งเพื่อเลือกตาแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทาให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน 3) โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ส แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็น ระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับ วินโดวส์ 4) ยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์เป็น ระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึง ใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่อปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน คุณสมบัติการทางาน คุณสมบัติการทางาน ระบบปฏิบัติการโดยทั่วไปจะมีคุณสมบัติในการทางานแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
  • 3. 1.การทางานแบบ Multi – Tasking คือ ความสามารถในการทางานได้หลาย ๆ งาน หรือหลาย ๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่ไปกับการท่องเว็บ ซึ่งในสมัยก่อนการทางานของ ระบบปฏิบัติการจะอยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า single-tasking ซึ่งจะทางานทีละโปรแกรมคาสั่ง ผู้ใช้ไม่สามารถที่จะ สลับงานไประหว่างโปรแกรมหรือทางานควบคู่กันได้ แต่สาหรับในปัจจุบันจะพบเห็นลักษณะการทางานแบบ นี้มากขึ้น เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows รุ่มใหม่ ๆ ซึ่งทาให้การใช้งานได้สะดวกและทางานได้หลาย ๆ โปรแกรม 2.การทางานแบบ Multi – User ในระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการที่ทาหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่เรียกว่า multi-user หรือความสามารถในการ ทางานกับผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน ขณะที่มีการประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน ทาให้กระจายการใช้ได้ทั่วถึงมาก ยิ่งขึ้น
  • 4. ประเภทของระบบปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1.ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวเป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่องนั้น ๆ) นิยมใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทางานแบบทั่วไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือ สานักงาน ซึ่งจะถูกติดตั้งระบบปฏิบัติการนี้รองรับการทางานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลง หรือ เชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ปัจจุบันพัฒนาให้มีคุณสมบัติที่เป็นลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้ ด้วย 1) ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็น ซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ 2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทางานหลาย งานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบ กราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตาแหน่งเพื่อเลือกตาแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทาให้ใช้งาน คอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน 3) โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ส แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็น ระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับ วินโดวส์ 4) ยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์ จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่อปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน 2.ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ( network OS ) เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้หลาย ๆ คน ( multi - user ) นิยมใช้สาหรับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสาหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบเห็น ได้กับการนาไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการเหล่านี้เรียกว่า เครื่อง server ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับผู้ใช้นั่นเอง 1. Windows Server เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่ายโดยเฉพาะ รุ่น แรกออกมาในชื่อ Windows NT และพัฒนาต่อมาเป็น Windows 2000 และรุ่นล่าสุดคือ Windows Server 2003 ผลิตออกมาเพื่อรองรับกับการใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนา โดยบริษัทไมโครซอฟต์ ส่วนใหญ่เหมาะกับการติดตั้งและใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย(Server) 2. OS/2 Warp Server เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายอีกรูปแบบหนึ่ง ออกแบบมาสาหรับการใช้งาน คอมพิวเตอร์แบบเครือข่ายสาหรับองค์กรได้เป็นอย่างดี พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็มเพื่อใช้เป็นระบบ
  • 5. ที่ควบคุมเครื่องแม่ข่ายหรือ Server เช่นเดียวกัน แต่ไม่ประสบความสาเร็จอย่างที่หวัง และเลิก พัฒนาต่อไป 1.ประเภทการจัดการไฟล์ ( File Manager )เป็นยูทิลิตี้ที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่าง ๆ เช่น การ คัดลอก การเปลี่ยนชื่อ การลบ และการย้ายไฟล์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ ๆ ยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่ เรียกว่า image viewer เพื่อนามาปรับใช้กับไฟล์ที่เป็นรูปภาพได้อีกด้วย เมื่อใดที่ต้องการเรียกดูไฟล์ที่เป็นรูปภาพ (จะแสดงเป็นภาพขนาดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า thumbnail ) ผู้ใช้งานสามารถที่จะดับเบิลคลิกและเปิดดูได้ทันที 2.ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม ( Uninstaller ) การติดตั้งโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว เมื่อใดก็ตามที่ต้องการลบหรือ กาจัดโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านี้ออกไปจากระบบ สามารถเรียกใช้โปรแกรมประเภทการลบทิ้งนี้ได้เลยทันที ซึ่งทางาน ได้อย่างง่ายดาย สาหรับในระบบปฏิบัติการ Windows XP จะอยู่ที่ Add/Remove Programs ในส่วนของ Control Panel 3.ประเภทการสแกนดิสก์ ( Disk Scanner ) เมื่อใดก็ตามที่อุปกรณ์สารองข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์หรือฟล็อปปี้ดิสก์เกิดปัญหาในการใช้งานขึ้น ยูทิลิตี้ประเภทนี้จะทาการสแกนหาข้อผิดพลาดต่าง ๆ เหล่านั้น พร้อมทั้งหาทางแก้ปัญหานั้นให้ด้วย ยูทิลิตี้ประเภทสแกนดิสก์ อาจพบเห็นได้กับการเอาไปใช้ เพื่อสแกนหาไฟล์ที่ไม่ต้องการใช้งาน ( unnecessary files ) ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้เป็นจานวนมากเมื่อเราใช้ คอมพิวเตอร์ทางานไปสักระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้นเพื่อให้มีพื้นที่เก็บบันทึกข้อมูลเหลือคืนมา เราอาจเลือกใช้ โปรแกรม เช่น Disk Cleanup ทาการสารวจและกาจัดไฟล์เหล่านั้นออกไปจากระบบเพื่อกันพื้นที่ไว้เก็บ ข้อมูลที่จาเป็นใหม่ ๆ อีกได้ 4.ประเภทการจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล ( Disk Defragmenter ) เป็นยูทิลิตี้ที่มีประโยชน์ในการใช้งาน อย่างมาก เพราะดิสก์ของคอมพิวเตอร์นั้นเมื่อมีการเรียกใช้งานอยู่บ่อย ๆ จะทาให้เกิดการกระจัด กระจายของไฟล์ข้อมูลอย่างไม่เป็นระเบียบและไม่ได้อยู่เป็นกลุ่มก้อนเดียวกันเมื่อต้องการเรียกใช้อีก ในภายหลังจะทาให้เวลาในการดึงข้อมูลนั้น ๆ ช้าลง โปรแกรมยูทิลิตี้ประเภทนี้จะคอยทาหน้าที่ จัดเรียงไฟล์เหล่านี้เสียใหม่ให้เป็นระเบียบมากขึ้น เพื่อช่วยให้การเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวง่ายและเร็ว กว่าเดิม 5.ประเภทรักษาหน้าจอ ( Screen Saver ) จอภาพของคอมพิวเตอร์ เมื่อเราเปิดทางานและปล่อยทิ้งให้ แสดงภาพเดิมโดยไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ เกิดขึ้นเป็นเวลานาน จะทาให้เกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสง ที่ฉาบผิวจอและไม่สามารถลบหายออกไปได้ เมื่อปล่อยทิ้งไว้นานเข้าอาจส่งผลให้อายุการใช้งานของ หน้าจอคอมพิวเตอร์สั้นลงตามไปด้วย โปรแกรมประเภทรักษาหน้าจอหรือ Screen Saver จะมาช่วย
  • 6. ป้องกันปัญหาดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถตั้งค่าระยะเวลาให้โปรแกรม ตรวจเช็คและเริ่มทางานได้หากไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ ของจอภาพ เช่น 5 นาที หรือ 10 นาที เป็นต้น เมื่อเราทาการขยับเมาส์หรือเริ่มที่จะนั่งทางานใหม่ โปรแกรมดังกล่าวก็จะหายไป ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ที่ใช้สาหรับรักษาหน้าจอสามารถเลือกลวดลายหรือรูปแบบภาพได้ด้วยตนเอง นอกจากนั้นแล้วเพื่อ เป็นการป้องกันการใช้งานของบุคคลที่สาม อาจใช้การตั้งรหัสผ่านของโปรแกรมรักษาหน้าจอเอาไว้ ด้วย 1.โปรแกรมป้องกันไวรัส ( Anti Virus Program ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกับบุคคลอื่นหลาย ๆ คน โดยเฉพาะอย่างยิ่เมื่อประยุกต์ใช้กับระบบเครือข่าย สิ่งที่เป็นปัญหาและพบบ่อยมากที่สุดก็คือไวรัสคอมพิวเตอร์ ( computer virus ) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งประเภทหนึ่งที่มีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีเขียนขึ้นมาเพื่อทาให้ประสิทธิภาพในการ ทางานของคอมพิวเตอร์ลดลงหรือไม่สามารถทางานต่าง ๆ ได้ จึงมีผู้พัฒนาโปรแกรมไว้ใช้เพื่อแก้ไขปัญหา ดังกล่าวเรียกว่า โปรแกรมป้องกันไวรัส (anti virus program )การใช้คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปควรจะมีการติดตั้ง โปรแกรมนี้ไว้ภายในเครื่องด้วย อย่างไรก็ดีไวรัสคอมพิวเตอร์นั้นเกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา โปรแกรมบางรุ่น อาจไม่สามารถตรวจพบไวรัสบางตัวได้ซึ่งเป็นเพราะว่าผลิตขึ้นมาก่อนที่ไวรัสตัวนั้นจะแพร่กระจาย ผู้ใช้จึง จาเป็นต้องอัพเดทข้อมูลบอกให้กับโปรแกรมเหล่านี้ทราบด้วยเพื่อให้ทางานได้อย่างสมบูรณ์นั่นเอง (โปรแกรม ป้องกันไวรัสจะมีส่วนของการอัพเดทข้อมูลแบบออนไลน์จากเว็บของเจ้าของโปรแกรมให้กับผู้ใช้ไว้ด้วยเสมอ) 2.โปรแกรมไฟร์วอลล์ ( Firewall ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายที่แพร่หลายมากยิ่งขึ้น เป็น เหตุผลหนึ่งที่ทาให้ผู้ไม่ประสงค์ดีบุกรุกเข้ามาใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราได้ ดังนั้นเพื่อเป็นการ ป้องกันการบุกรุกดังกล่าว เราสามารถหาโปรแกรมประเภทไฟร์วอลล์ (เนื่องจากใช้เฉพาะส่วนตัวบน เครื่องเดียว บางครั้งจึงเรียกว่าpersonal firewall ) มาป้องกันได้ เนื่องจากมีคุณสมบัติเกี่ยวกับป้องกันการ บุกรุก การติดตาม ตลอดจนตรวจสอบรายการต่าง ๆ ของผู้บุกรุกได้
  • 7. โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ ( Utility Program ) เป็นโปรแกรมที่สาคัญกับการทางานของระบบคอมพิวเตอร์เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่จะมีขนาด เล็กกว่าระบบปฏิบัติการ คุณสมบัติในการใช้งานนั้นค่อนข้างหลากหลายหรือใช้งานได้แบบอรรถประโยชน์ มัก นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ยูทิลิตี้ ( Utility ) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ ( OS Utility Programs ) เป็นยูทิลิตี้ที่มักจะมีการติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกสาหรับ การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอยกตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่ใช้ใน Windows ที่ค่อนข้างจะรู้จักกันดี แบ่งตามลักษณะการผลิต 3.โปรแกรมบีบอัดไฟล์( File Compression Utility ) เป็นลักษณะของโปรแกรมที่ทาหน้าที่บีบอัดไฟล์ ให้มีขนาดเล็กลงนั้นเอง ไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์นี้บางครั้งนิยมเรียกว่า ซิปไฟล์( zip files ) ตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่นิยมใช้และรู้จักกันเป็นอย่างดี เช่น PKZip, Winzip เป็นต้น และแม้ในตัว Windows XP เองก็มีความสามารถในการบีบอัดไฟล์ระดับหนึ่งอยู่แล้ว เรียกว่าเป็น Compressed Folder นั่นเอง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการ ฐานข้อมูล เป็นต้น การทางานใด ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จาเป็นต้องทางานภายใต้สภาพแวดล้อมของ ซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคาต้องทางานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอ สดอส หรือวินโดวส์ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่ง มาจากขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้น ๆเพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิตออกจาหน่ายต่างพยายามแข่งขัน กันหลาย ๆ ด้าน เช่น เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย สนับสนุนให้ใช้กับเครื่องพิมพ์ได้ดี มีคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์ที่อ่าน เข้าใจง่าย ให้วิธีหรือขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่างชัดเจน และมีระบบโอนย้ายข้อมูลเข้าออกกับซอฟต์แวร์อื่นได้ง่าย 1. ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะทาง 2. ซอฟต์แวร์สาเร็จ
  • 8. 1.ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ( Proprietary Software ) ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software ) พัฒนาขึ้นมาเหตุผลหลักคือ หน่วยงานหรือองค์กรไม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์ที่นามาใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพดีเพียงพอ กับความต้องการ จึงทาให้มีการสร้างซอฟต์แวร์ขึ้นมาใหม่เพื่อใช้กันในหน่วยงานโดยเฉพาะ วิธีการพัฒนา อาจทาได้ 2 วิธีคือ  In-house developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานของบริษัทเองโดยทีมงานที่มี ทักษะและความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะวิธีนี้ นอกจากจะได้ซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความต้องการแล้ว ข้อดีอีกประการหนึ่งคือ แก้ไข เปลี่ยนแปลงได้ง่าย อีกทั้งสามารถควบคุมการผลิตได้ตลอดระยะเวลาการพัฒนา นั้น  Contract หรือ outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทาขึ้นมา โดยอาจเป็น บริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่า software house ซึ่ง สามารถขอดูผลงานที่ผ่านมาของผู้ผลิตได้ อย่างไรก็ตาม บางครั้งอาจทาสัญญาจ้าง ผลิตและตกลงเรื่องาคากันตั้งแต่ต้น พร้อมทั้งระบุระยะเวลาที่กาหนดแล้วเสร็จให้ ชัดเจน เพื่อป้องกันปัญหาในภายหลังได้ 2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้โดยทั่วไป ( Off-the-shelf Software หรือ Packaged Software) งานบางอย่างที่พบเห็นทั่วไป เช่น การจัดพิมพ์รายงานการจัดทาฐานข้อมูล การนาเสนองาน เราอาจจะ เลือกหาซอฟต์แวร์เพื่อมาช่วยเหลือการทางานดังกล่าวได้โดยง่าย ซึ่งมีการวางขายตามท้องตลาดทั่วไป ( Off-the- shelf ) การวางขายจะมีการบรรจุหีบห่ออย่างดีและสามารถนาไปติดตั้งและใช้งานได้เลย บางครั้งจึงนิยมเรียกว่า โปรแกรมสาเร็จรูป(Packaged Software ) นั่นเอง ทั้งนี้อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมเฉพาะและ โปรแกรมมาตรฐาน
  • 9. 1.โปรแกรมเฉพาะ ( customized Package ) เป็นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตทาการเพิ่มเติมคุณสมบัติ บางอย่างลงไป เพราะโปรแกรมที่วางขายอยู่นั้นยังมีข้อจากัดบางประการที่ไม่สามารถตอบสนองการทางานของ องค์กรได้ หากมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขเพียงเล็กน้อยก็จะทาให้ใช้งานได้ดีและเหมาะสมกับองค์กรมากขึ้นหรือบาง โปรแกรมก็ทามาให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขปรับเปลี่ยนได้ในระดับหนึ่ง 2.โปรแกรมมาตรฐาน ( standard package ) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสามารถใช้กับงานทั่ว ๆ ไป ส่วน ใหญ่แล้วจะมีคุณสมบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องไปปรับปรุงหรือแก้ไขส่วนของโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม เพียงแต่ศึกษาคู่มือหรือวิธีการใช้งานจากรายละเอียดที่แนบมาพร้อมกับการซื้อโปรแกรมนั้นก็สามารถใช้ งานได้เลยทันที โปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มนี้ เช่น กลุ่มของโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้าน Microsoft Office เป็นต้น แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จากที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกมาตาม ลักษณะของการผลิต อีกทางหนึ่งเราอาจแบ่งตามลักษณะของการนาไปใช้งานได้อย่างหลากหลาย ซึ่งอาจยกตัวอย่างของโปรแกรมประกอบและแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ 1.กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ ( business ) ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้จะเน้นในการใช้งานทางด้านธุรกิจ โดยเฉพาะ โดยมุ่งหวังให้การทางานมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงงานคน เช่น ใช้สาหรับการ จัดพิมพ์เอกสาร นาเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทซอฟต์แวร์ในกลุ่มนี้ เป็นจานวนมาก โปรแกรมที่ใช้กันในปัจจุบันอาจแบ่งเป็นกลุ่มย่อยตามลักษณะการใช้งานได้อีกดัง ตัวอย่างในตารางต่อไปนี้ ลักษณะโปรแกรม ตัวอย่างโปรแกรม ประมวลผลคา ( Word Processing ) ตารางคานวณ ( Spreadsheet ) ฐานข้อมูล ( Database ) นาเสนอผลงาน ( Presentation )  Microsoft Word  Sun Star Office Writer  Microsoft Excel  Sun Star Office Cale  Microsoft Access  Oracle
  • 10. สาหรับพีดีเอ ( PDA Software ) แบบกลุ่ม ( Software Suite ) จัดการโครงการ ( Project Management ) งานบัญชี ( Accounting )  My SQL  Microsoft PowerPoint  Sun Star Office Impress  Microsoft Pocket Outlook  Microsoft Pocket Excel  Quick Notes  Microsoft Office  Sun Star Office  Pladao Office  Microsoft Project  Intuit Quick Books  Peachtree Complete Accounting
  • 11. 2.กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย(graphic and multimedia ) เป็นกลุ่ม ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยสาหรับการจัดการงานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดียให้ เป็นไปได้โดยง่าย มีความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบด้านต่าง ๆ นั่นเอง เช่น ตกแต่ง ภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ ซึ่งอาจ แบ่งกลุ่มย่อยลงไปได้อีกดังตารางต่อไปนี้ ลักษณะโปรแกรม ตัวอย่างโปรแกรม งานออกแบบ (Computer Aided Design - CAD) งานสิ่งพิมพ์ (Desktop Publishing) ตกแต่งภาพ (Paint/Image Editing) ตัดต่อวิดีโอและเสียง (Video and Audio Editing) สร้างสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สร้างเว็บ (Web Page Authoring)  Autodesk AutoCAD  Microsoft Visio Professional  Adobe InDesign  Adobe PageMaker  Corel VENTURA  QuarkXPress  Adobe Illustrator  Adobe Photoshop  CoerlDRAW  Macromedia FreeHand  Adobe Premiere  Cakewalk SONAR  Pinnacle Studio DV  Tool book Instructor  Macromedia Authorware  Macromedia Director Shockwave Studio
  • 12.  Adobe Go Live  Macromedia Dream weaver  Macromedia Fireworks  Macromedia Flash  Microsoft FrontPage 3.กลุ่มสาหรับใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร ( Web and Communication ) การ เติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมสาหรับการตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการและดูแลเว็บรวมถึงการส่งข้อความ ติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย เป็นต้น ตัวอย่างของโปรแกรมสามารถดูได้จาก ตารางต่อไปนี้ ลักษณะโปรแกรม ตัวอย่างโปรแกรม จัดการอีเมล์ ( Electronic mail ) ท่องเว็บ ( Web browser ) ประชุมทางไกล ( Video Conference ) ถ่ายโอนไฟล์ ( File Transfer ) ส่งข้อความด่วน ( Instant messaging )  Microsoft Outlook  Outlook Express  Mozzila Thunderbird  Microsoft Internet Explorer  Mozzila Firefox  Opera  Microsoft Netmeeting  Cute_FTP  WS_FTP
  • 13. สนทนาบนอินเทอร์เน็ต ( IRC )  MSN Messenger/Windows Messenger  ICQ  PIRCH  MIRC ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Language) มนุษย์ใช้ภาษาในการสื่อสารมาตั้งแต่สมัยโบราณ การใช้ภาษาเป็นเรื่องที่มนุษย์พยายามถ่ายทอดความคิด และความรู้สึกต่าง ๆ เพื่อการโต้ตอบและสื่อความหมาย ภาษาที่มนุษย์ใช้ติดต่อสื่อสารในชีวิตประจาวัน เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ต่างเรียกว่าภาษาธรรมชาติ (artificial language) เพระมีการศึกษาได้ยิน ได้ฟัง กันมาตั้งแต่เกิด ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้ว คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษา โปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือ ภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่า เป็นภาษาโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และภาษาระดับต่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียน ถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล(compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์ สามารถนาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปล ไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-readable) และ ภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถ เข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ (แทบทุกชนิดเป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมี
  • 14. โค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้ แต่ออกแบบมาเพื่อให้โค้ดกระชับซึ่งคอมพิวเตอร์จะสามารถประมวลผลได้ ง่ายกว่า การใช้งานทางคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ทางานตามที่ต้องการ จาเป็นต้องมีการ กาหนดภาษาสาหรับใช้ติดต่อสั่งงานกับคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์จะเป็น ภาษาประดิษฐ์ (artificial language) ที่มนุษย์คิดสร้างมาเอง เป็นภาษาที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะ มีกฎเกณฑ์ที่ตายตัวและจากัด คือ อยู่ในกรอบ ให้ใช้คาและไวยากรณ์ที่จากัด และมีการตีความหมายที่ชัดเจน จึงจัดภาษาคอมพิวเตอร์เป็น ภาษาที่มีรูปแบบเป็น ทางการ (formal language) ต่างกับภาษาธรรมชาติที่มีขอบเขตกว้างมาก ไม่มีรูปแบบตายตัวที่แน่นอน กฎเกณฑ์ ของภาษา จะขึ้นกับหลักไวยากรณ์ และการยอมรับของกลุ่มผู้ใช้นั้น ๆ ภาษาคอมพิวเตอร์ อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง (machine language) ภาษาระดับต่า (low- ianguage) และภาษาระดับสูง (high-level language) 1. ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบ เลขฐานสอง ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 ที่นามาเขียนเรียงติดต่อกัน ประโยคคาสั่งของภาษาเครื่องจะ ประกอบด้วยส่วนที่ระบุให้คอมพิวเตอร์ทางานอะไร เช่น สั่งให้ทาการบวกเลข สั่งให้ทาการเคลื่อนย้ายข้อมูล เป็นต้น และอีกส่วนเพื่อบอกแหล่งข้อมูลที่จะนามาทางานตามที่ระบุในตอนแรก การเขียนโปรแกรม หรือชุดคาสั่งด้วยภาษาเครื่อง นับเป็นเรื่องที่ยุ่งยากไม่สะดวกและเสียเวลา เพราะผู้ใช้ จะต้องทราบรหัสแทนการทางานต่าง ๆ และต้องรู้ขั้นตอนการทางานภายในของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยละเอียด ถ้าใช้คาสั่งไม่ถูกต้องเกิดการผิดพลาด โอกาสที่จะเข้าไปทาการแก้ไขก็ทาได้ยากและเสียเวลามาก มนุษย์จึง พยายามคิดภาษาให้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น ด้วยการสร้างภาษาระดับต่าในเวลาต่อมา 2. ภาษาระดับต่าหรือภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่า หรือภาษาแอสเซมบลี ลักษณะของภาษานี้จะเป็นการใช้ตัวอักษรมาเรียงกันเป็นคา แทน เลขฐานสอง โดยคาที่กาหนดขึ้นจะมีความหมายที่สามารถเข้าใจและจาได้ง่าย เช่น จะใช้คาสั่ง ADD แทนการ บวก คาสั่ง SUB แทนการลบ เป็นต้น ขณะดียวกัน ส่วนที่ใช้บอกแหล่งข้อมูลก็จะแทนด้วยชุดของตัวอักษรที่ เรียกว่าตัวแปร เช่น คาสั่ง ADD A,B จะหมายถึงให้นาข้อมูลที่ตาแหน่ง A และตาแหน่ง B มาบวกรวมกัน แล้ว นาผลลัพธ์ไปเก็บที่ตาแหน่ง a เป็นต้น เนื่องจากลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์จะรับรู้ หรือทางานด้วยภาษาเครื่องที่เป็นเลขฐานสองเท่านั้น การ เขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลี จะต้องผ่านกระบวนการแปลเสียก่อน โดยแปลภาษาแอสแซมบลี ตัว แปลภาษาแอสแซมบลีนี้เรียกว่า แอสแซมเบลอร์ (assembler)
  • 15. การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสแซมบลี ถึงแม้ว่าจะง่ายและเสียเวลาน้อยกว่าการเขียนโปรแกรมด้วย ภาษาเครื่อง แต่มีข้อเสียคือผู้ใช้จะต้องเรียนรู้โครงสร้างของระบบเครื่องนั้นอย่างละเอียด เพราะภาษาแอสแซมบ ลีเป็นภาษาที่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ จะใช้กับเครื่องระบบนั้น ถ้าใช้เครื่องต่างระบบที่มีตัวประมวลผลต่างกัน จะต้อง เรียนรู้โครงสร้างภายในและชุดคาสั่งสาหรับเครื่องนั้นใหม่ทั้งหมด ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและไม่สะดวก 3. ภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูง การพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา จึงพยายามให้เป็นภาษาที่สามารถนาไปใช้กับ เครื่องต่างระบบกัน ไม่ต้องเสียเวลาเรียนรู้ใหม่ทั้งหมด โปรแกรมที่เขียนสั่งงานกับเครื่องระบบหนึ่ง ก็สามารถ นาไปใช้หรือดัดแปลงเพียงเล็กน้อยเพื่อสั่งงานกับเครื่องอีกระบบหนึ่งได้ ลักษณะของภาษาจะพยายามให้ ใกล้เคียงกับภาษาธรรมชาติมากขึ้น ทาให้เราสามารถศึกษาและเรียนรู้ได้ในเวลาอันรวดเร็ว ภาษาในยุคหลังนี้ เรียกว่า ภาษาระดับสูง ซึ่งได้มีการคิดค้นพัฒนาออกมาหลายภาษาด้วยกัน ที่เด่น ๆ และนิยมกันมาก ได้แก่ ภาษา ฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาปาสกาล (PASCAL) ภาษาซี (C) ภาษาเอดา (ADA) ภาษาลิสป์ (LISP) และภาษาโปรลอก (PROLOG) เป็นต้น เมื่อเราเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงแล้ว จะนาไปสั่งงานคอมพิวเตอร์โดยตรงยังไม่ได้ จะต้องผ่าน ขั้นตอนการแปลภาษาอีก เหมือนกรณีของภาษาแอสเซมบลี ตัวแปลภาษา เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็น ภาษาเครื่อง อาจแบ่งได้เป็นสองแบบ คือ อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) และคอมไพเลอร์ (compiler) ลักษณะของการแปลภาษาของอินเตอร์พรีเตอร์จะแปลและสั่งเครื่องให้ทางานตามคาสั่ง ทันทีทีละคาสั่งจน จบโปรแกรม แต่การแปลภาษาด้วยคอมไพเลอร์จะเป็นการแปลทุกคาสั่งที่อยู่ในโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง เก็บไว้เป็นแฟ้มก่อน การเรียกทางานจะเป็นการนาแฟ้มภาษาเครื่องมาทางานทีเดียว ดังนั้นการทางานด้วย ตัวแปลแบบคอมไพเลอร์จึงทางานได้รวดเร็วและนิยมกันมากในปัจจุบัน ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (First Generation Language : 1GL) เป็นภาษาระดับต่า (Low - Level Language) ประกอบด้วย เลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 หรือเรียกว่า "ภาษาเครื่อง (Machine Language)" ยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) ได้มีผู้พัฒนาให้มีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง เรียกว่า "ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)" คือ ภาษาอังกฤษ จะเป็นคาสั่งสั้น ๆ ที่จาได้ง่าย เรียกว่า "นิวมอนิ กโค้ด (Nemonic Code)" ทาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างภาษาสัญลักษณ์ ได้แก่ ภาษา Assembly และเนื่องจากเป็นภาษาสัญลักษณ์ จึงต้องใช้ตัวแปลภาษา เพื่อทาให้เป็นภาษาเครื่องก่อน ด้วยตัวแปลภาษาที่เรียกว่า"Assembler"
  • 16. ยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL) ภาษาสัญลักษณ์ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น ทาให้สามารถแทน ตัวเลขฐานสองได้เป็นคา ทาให้กลายเป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจและเขียนได้ง่ายขึ้น คาสั่งสั้นและกระชับ มากขึ้น เช่น ภาษา BASIC, COBOL, Pascal ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL) ได้มีการพัฒนารูปแบบการเขียนโปรแกรมจากยุคที่ 3 ที่จัดว่า เป็นการเขียนแบบ Procedural ให้กลายเป็นการเขียนแบบ Non - Procedural ที่สามารถกระโดดไปทาคาสั่งใด ก่อนก็ได้ตามที่โปรแกรมเขียนไว้ นอกจากนี้ จุดเด่นของภาษาในยุคนี้เริ่มจากการเขียนคาสั่งให้ผู้ใช้สามารถ จัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูลได้และพัฒนาต่อมากลายเป็นการเขียนคาสั่งให้ได้โปรแกรมที่มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ แบบกราฟิกมากขึ้น และพัฒนาจนมาถึงการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object - Oriented Programming) เช่น ภาษา C++, Visual C++, Delphi, Visual Basic เป็นต้น ปัจจุบันมีภาษาที่ใช้หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุที่นิยม ใช้ เช่น ภาษา Java ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL) เป็นภาษาที่ใช้สาหรับพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกว่า "ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)" คือ ไม่ต้องสนใจถึงคาสั่งหรือลาดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลง ในเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นคาหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคาหรือประโยคเหล่านั้น เพื่อทาตามคาสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ ก็จะมีคาถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบ ต่าง ๆ ตามแต่ความชานาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้จะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโคด (source code) ซึ่งมนุษย์จะอ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคาสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์ เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่องโปรแกรมที่ แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้วเรียกว่า ออบเจคโคด (object code) ซึ่งจะประกอบด้วยรหัสคาสั่งที่คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ต่อไปตัวแปลภาษาที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน จะต่างกันที่ขั้นตอนที่ใช้ในการ แปลภาษาให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้สามารถแบ่งได้เป็น ♦ แอสเซมเบลอ (Assembler) เป็นตัวแปลภาษาแอสแซมบลีซึ่งเป็นภาษาระดับต่าให้เป็นภาษาเครื่อง ♦ อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ไปเป็น ภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคาสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้งโปรแกรมทาให้การแก้ไข โปรแกรมทาได้ง่ายและรวดเร็ว แต่ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลโดยการใช้อินเตอร์พรีเตอร์นั้นไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้จะจะต้องแปล
  • 17. โปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน ♦ คอมไพเลอร์ (Compiler) จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูงเช่นเดียวกับอินเตอร์พรีเตอร์แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรม ทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจคโคด ก่อนที่จะสามารถนาไปทางานเช่นเดียวกับแอสแซมเบลอ ออบเจคโคดที่ได้ จากการแปลนั้นสามารถจัดเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูล เพื่อให้นาไปใช้ในการทางานเมื่อใดก็ได้ตามต้องการ ซึ่งเป็น ข้อดีของคอมไพเลอร์ที่จะนาผลที่ได้จากการแปลนั้นไปใช้งานกี่ครั้งก็ได้ไม่จากัด ไม่ต้องเสียเวลาในการแปล ใหม่ทุกครั้ง ทาให้เป็นรูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ในปัจจุบัน มีหลักการแปลภาษาคอมพิวเตอร์แบบใหม่เกิดขึ้น คือแปลจากซอร์สโคดไปเป็นรหัสชั่วคราว หรืออินเทอมีเดียตโคด (Intermediate code)ซึ่งสามารถนาไปทางานได้ด้วยการใช้โปรแกรมในการอ่านและ ทางานตามรหัสชั่วคราวนั้นโดยโปรแกรมนี้จะมีหลักการทางานคล้ายกับ อินเทอพรีเตอร์ แต่จะทางานได้เร็วกว่าเนื่องจากรหัสชั่วคราวจะใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก มีข้อดีคือสามารถ นารหัสชั่วคราวนั้นไปใช้ได้กับทุก ๆ เครื่องที่มีโปรแกรมตีความได้ทัน