SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
ศวิตา อมรตระกูล ชั้นม.6/1 เลขที่ 40
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ถูกเขียนขึ้น
เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทา งาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถแบ่งออกได้เป็น
1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคาสั่งที่เขียนไว้เป็นคาสั่งสาเร็จรูป ซึ่งจะทางานใกล้ชิดกับ
คอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้
งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคาสั่งที่เขียนใน
ภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบ
เช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสาหรับระบบด้วยเช่นกัน
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มาให้คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ
ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนกได้เป็น 2
ประเภท คือ
2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่
เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทาสินค้าคง
คลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์
ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรง
กับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัว พัฒนา
2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทาไว้ เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆ ทั่วไป
โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนาโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทาการดัดแปลง หรือแก้ไข
โปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียน
โปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสาเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานใน
หน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชานาญเป็นพิเศษในการเขียน โปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปจึงเป็น
สิ่งที่อานวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสาเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus,
Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น
โดยปกติแล้วเราสามารถหาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้หลาย ๆ วิธี ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบของการสั่งซื้อ
โดยตรงกับบริษัทผู้ผลิตหรือใช้ตัวอย่าง ทดลองจากการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตได้ จึงพอสรุปวิธีการเลือก
ซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ดังนี้
1. แบบสำเร็จรูป (Packaged or ready-made software) เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจาหน่ายซอฟแวร์ที่
ได้รับการแต่งตั้ง จากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว
ผู้ใช้สามรถนาไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านทางร้านตัวแทนจาหน่ายได้ อาจเข้า
ไปในเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ แล้วกรอกข้อมูลรายการชาระเงินผ่านระบบแบบฟอร์มบนเว็บ เมื่อ
รายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายชาระเงินของผู้ซื้อได้รับการอนุมัติแล้ว ก็สามารถดาวน์โหลดเอาซอฟต์แวร์มาใช้งาน
ได้ทันที
2. แบบว่ำจ้ำงทำ (Customized or tailor-made software) เป็นวิธีการที่เหมาะสาหรับองค์กรที่มีลักษณะงาน
เฉพาะของตนเองและไม่สามารถนา โปรแกรมสาเร็จรูปมาประยุกต์ใช้ได้ ดังนั้น จึงต้องมีการผลิตซอฟแวร์ขึ้นมาใช้
เอง โดยให้บุคคลภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านทาการผลิตซอฟแวร์ใหเตรงตาม คุณสมบัติที่ต้องการ
วิธีการนี้อาจทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าแบบสาเร็จรูปพอสมควร แต่การทางานของซอฟต์แวร์จะสอดคล้องตรงกับ
ความต้องการได้ดีที่สุด
3. แบบทดลองใช้ (Shareware) เป็นวิธีที่บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ได้ผลิตโปรแกรมที่ปรับลดคุณสมบัติ บางอย่าง
ลงไป เพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อน โดยมีการกาหนดระยะเวลาทดลองใช้งาน เช่น ใช้ได้ภายใน 30 วัน ใช้
ภายใน 90 วัน เป็นต้น หากผู้ใช้ทดลองใช้แล้วตัดสินใจว่าดี ตลอดจนเหมาะสมกับงานที่ทาอยู่ ผู้ใช้สามารถสั่งซื้อ
โปรแกรมสาเร็จรูปแบบต็มๆจากบริษัทผู้ผลิตต่อไป
4. แบบทดลองใช้งำนฟรี (Freeware) เป็นโปรแกรมที่แจกให้ใช้ฟรี เพื่อตอบสนองกับการทางานที่หลากหลาย
ซึ่งผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจ่ายเงินให้กับบริษัทผู้ผลิต ส่วนใหญ่เป้ าหมายของผู้ผลิตคือ ต้องการพัฒนาโปรแกรมเพื่อ
เผยแพร่ผลงานของตนเองให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้น ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ลิขสิทธิ์ก็ยัง
เป็นของบริษัทผู้ผลิตอยู่ ผู้อื่นไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้
5. แบบโอเพ่นชอร์ส (Open source) เป็นวิธีการขององค์กรที่มีกลุ่มบุคคลผู้ที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้าน
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทาการพัฒนาขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้นาไปใช้งานได้ฟรี รวมทั้งสามารถแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมต่างๆ
ให้เหมาะสมกับงานของตนได้
เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู
หน่วยความจา ไปจนถึงส่วนนาเข้าและส่งออกผลลัพธ์ ( input/output device ) บางครั้งก็นิยมเรียกรวม ๆ ว่า แพลตฟอร์ม
(platform ) คอมพิวเตอร์จะทางานได้จาเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต
เครื่องนั้น ๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม หรือระบบปฏิบัติการอะไรในการทางาน เราจะพบเห็นระบบปฏิบัติการอยู่ใน
คอมพิวเตอร์แทบจะทุกประเภทตั้งแต่เครื่องขนาดใหญ่อย่างเครื่องเมนเฟรมจนถึงระดับเล็กสุด เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
พกพาประเภทพีดีเอ
คุณสมบัติการทางาน ระบบปฏิบัติการโดยทั่วไปจะมีคุณสมบัติในการทางานแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. กำรทำงำนแบบ Multi – Tasking คือ ความสามารถในการทางานได้หลาย ๆ งาน หรือหลาย ๆ โปรแกรมใน
เวลาเดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่ไปกับการท่องเว็บ ซึ่งในสมัยก่อนการทางานของระบบปฏิบัติการจะอยู่ในรูปแบบ
ที่เรียกว่า single-tasking ซึ่งจะทางานทีละโปรแกรมคาสั่ง ผู้ใช้ไม่สามารถที่จะสลับงานไประหว่างโปรแกรมหรือทางาน
ควบคู่กันได้ แต่สาหรับในปัจจุบันจะพบเห็นลักษณะการทางานแบบนี้มากขึ้น เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows รุ่ม
ใหม่ ๆ ซึ่งทาให้การใช้งานได้สะดวกและทางานได้หลาย ๆ โปรแกรม
2. กำรทำงำนแบบ Multi – User ในระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการที่ทาหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่เรียกว่า multi-user หรือความสามารถในการทางานกับ
ผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน ขณะที่มีการประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน ทาให้กระจายการใช้ได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
Multi – Tasking Multi – User
ระบบปฏิบัติการที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน อาจนาเอาไปใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หลากหลายชนิด ตั้งแต่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ระดับใหญ่จนถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก ซึ่งอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1. ระบบปฏิบัติกำรแบบเดี่ยว ( stand – alone OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่องนั้น ๆ) นิยมใช้สาหรับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทางานแบบทั่วไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือสานักงาน ซึ่งจะถูกติดตั้ง
ระบบปฏิบัติการนี้รองรับการทางานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลง หรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
ปัจจุบันพัฒนาให้มีคุณสมบัติที่เป็นลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย
1.1 DOS (Disk Operating System)
1.2 Windows 1.3 Unix1.3 Mac OS X
1.4 Linux
2. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ( network OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้หลาย ๆ คน ( multi - user ) นิยมใช้สาหรับงานให้บริการ
และประมวลผลข้อมูลสาหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบเห็นได้กับการนาไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่
ติดตั้งระบบปฏิบัติการเหล่านี้เรียกว่า เครื่อง server ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับ
ผู้ใช้นั่นเอง
2.1 Windows Server
Windows Server
2.2 OS/2 Warp Server
Windows Server
2.3 Solaris
Windows Server
1.3 ระบบปฏิบัติกำรแบบฝัง ( embedded OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอหรือ Smart phone บางรุ่น
สามารถช่วยในการทางานของอุปกรณ์แบบไม่ประจาที่เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อม ๆ กับที่อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์พกพาเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวด้วย
เช่น รองรับกับการทางานทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ มักจะพบเห็นการใช้งานของระบบปฏิบัติการ
แบบฝังนี้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา เช่น Palm, pocket PC, Smart phone รวมถึงอุปกรณ์ขนาดเล็กอื่น ๆ ซึ่ง
พอจะยกตัวอย่างได้ดังนี้
3.3 Pocket PC OS (Windows CE เดิม)
Windows Server
3.2 Symbian OS
Windows Server
3.1 Palm OS
Windows Server
โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ ( Utility Program ) เป็นโปรแกรมที่สาคัญกับการทางานของ
ระบบคอมพิวเตอร์เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็กกว่าระบบปฏิบัติการ คุณสมบัติในการใช้งานนั้นค่อนข้าง
หลากหลายหรือใช้งานได้แบบอรรถประโยชน์ มักนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ยูทิลิตี้( Utility ) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติกำร ( OS Utility Programs ) เป็นยูทิลิตี้ที่มักจะมีการติดตั้งมาพร้อมกับ
ระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกสาหรับการทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอยกตัวอย่าง
ของยูทิลิตี้ที่ใช้ใน Windows ที่ค่อนข้างจะรู้จักกันดี
1.1 ประเภทกำรจัดกำรไฟล์ ( File Manager )
เป็นยูทิลิตี้ที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่าง ๆ เช่น
การคัดลอก การเปลี่ยนชื่อ การลบ และการย้ายไฟล์ เป็นต้น
ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ ๆ ยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่
เรียกว่า image viewer เพื่อนามาปรับใช้กับไฟล์ที่เป็นรูปภาพ
ได้อีกด้วย เมื่อใดที่ต้องการเรียกดูไฟล์ที่เป็นรูปภาพ (จะแสดง
เป็นภาพขนาดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า thumbnail ) ผู้ใช้งานสามารถที่
จะดับเบิลคลิกและเปิดดูได้ทันที
1.2 ประเภทกำรลบทิ้งโปรแกรม ( Uninstaller )
การติดตั้งโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว เมื่อใดก็ตามที่ต้องการลบ
หรือกาจัดโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านี้ออกไปจากระบบ สามารถ
เรียกใช้โปรแกรมประเภทการลบทิ้งนี้ได้เลยทันที ซึ่งทางานได้
อย่างง่ายดาย สาหรับในระบบปฏิบัติการ Windows XP จะอยู่ที่
Add/Remove Programs ในส่วนของ Control Panel
1.3 ประเภทกำรสแกนดิสก์ ( Disk Scanner ) เมื่อใดก็ตามที่อุปกรณ์สารองข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น
ฮาร์ดดิสก์หรือฟล็อปปี้ดิสก์เกิดปัญหาในการใช้งานขึ้น ยูทิลิตี้ประเภทนี้จะทาการสแกนหาข้อผิดพลาดต่าง ๆ เหล่านั้น
พร้อมทั้งหาทางแก้ปัญหานั้นให้ด้วย ยูทิลิตี้ประเภทสแกนดิสก์ อาจพบเห็นได้กับการเอาไปใช้เพื่อสแกนหาไฟล์ที่ไม่
ต้องการใช้งาน ( unnecessary files ) ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้เป็นจานวนมากเมื่อเราใช้คอมพิวเตอร์ทางานไปสักระยะเวลาหนึ่ง
ดังนั้นเพื่อให้มีพื้นที่เก็บบันทึกข้อมูลเหลือคืนมา เราอาจเลือกใช้โปรแกรม เช่น Disk Cleanup ทาการสารวจและกาจัดไฟล์
เหล่านั้นออกไปจากระบบเพื่อกันพื้นที่ไว้เก็บข้อมูลที่จาเป็นใหม่ ๆ อีกได้
1.4 ประเภทกำรจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล ( Disk Defragmenter ) เป็นยูทิลิตี้ที่มีประโยชน์ในการใช้งานอย่างมาก
เพราะดิสก์ของคอมพิวเตอร์นั้นเมื่อมีการเรียกใช้งานอยู่บ่อย ๆ จะทาให้เกิดการกระจัดกระจายของไฟล์ข้อมูลอย่างไม่เป็น
ระเบียบและไม่ได้อยู่เป็นกลุ่มก้อนเดียวกันเมื่อต้องการเรียกใช้อีกในภายหลังจะทาให้เวลาในการดึงข้อมูลนั้น ๆ ช้าลง
โปรแกรมยูทิลิตี้ประเภทนี้จะคอยทาหน้าที่จัดเรียงไฟล์เหล่านี้เสียใหม่ให้เป็นระเบียบมากขึ้น เพื่อช่วยให้การเข้าถึงข้อมูล
ดังกล่าวง่ายและเร็วกว่าเดิม
1.5 ประเภทรักษำหน้ำจอ ( Screen Saver ) จอภาพของคอมพิวเตอร์ เมื่อเราเปิดทางานและปล่อยทิ้งให้แสดง
ภาพเดิมโดยไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ เกิดขึ้นเป็นเวลานาน จะทาให้เกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสงที่ฉาบผิวจอและไม่
สามารถลบหายออกไปได้ เมื่อปล่อยทิ้งไว้นานเข้าอาจส่งผลให้อายุการใช้งานของหน้าจอคอมพิวเตอร์สั้นลงตามไปด้วย
โปรแกรมประเภทรักษาหน้าจอหรือ Screen Saver จะมาช่วยป้ องกันปัญหาดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์
สามารถตั้งค่าระยะเวลาให้โปรแกรมตรวจเช็คและเริ่มทางานได้หากไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ ของจอภาพ เช่น 5 นาที หรือ
10 นาที เป็นต้น เมื่อเราทาการขยับเมาส์หรือเริ่มที่จะนั่งทางานใหม่ โปรแกรมดังกล่าวก็จะหายไป ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ
ที่ใช้สาหรับรักษาหน้าจอสามารถเลือกลวดลายหรือรูปแบบภาพได้ด้วยตนเองนอกจากนั้นแล้วเพื่อเป็นการป้ องกันการใช้
งานของบุคคลที่สาม อาจใช้การตั้งรหัสผ่านของโปรแกรมรักษาหน้าจอ
2. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติกำร ( OS Utility Programs ) เป็นยูทิลิตี้ที่มักจะมีการติดตั้งมาพร้อมกับ
ระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกสาหรับการทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอยกตัวอย่าง
ของยูทิลิตี้ที่ใช้ใน Windows ที่ค่อนข้างจะรู้จักกันดี
2.1 โปรแกรมป้ องกันไวรัส ( Anti Virus Program ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกับบุคคลอื่นหลาย ๆ คน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อประยุกต์ใช้กับระบบเครือข่าย สิ่งที่เป็นปัญหาและพบบ่อยมากที่สุดก็คือไวรัสคอมพิวเตอร์ (
computer virus ) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งประเภทหนึ่งที่มีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีเขียนขึ้นมาเพื่อทาให้ประสิทธิภาพในการทางานของ
คอมพิวเตอร์ลดลงหรือไม่สามารถทางานต่าง ๆ ได้ จึงมีผู้พัฒนาโปรแกรมไว้ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวเรียกว่า
โปรแกรมป้ องกันไวรัส (anti virus program )การใช้คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปควรจะมีการติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้ภายในเครื่อง
ด้วย อย่างไรก็ดีไวรัสคอมพิวเตอร์นั้นเกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา โปรแกรมบางรุ่นอาจไม่สามารถตรวจพบไวรัสบางตัวได้
ซึ่งเป็นเพราะว่าผลิตขึ้นมาก่อนที่ไวรัสตัวนั้นจะแพร่กระจาย ผู้ใช้จึงจาเป็นต้องอัพเดทข้อมูลบอกให้กับโปรแกรมเหล่านี้
ทราบด้วยเพื่อให้ทางานได้อย่างสมบูรณ์นั่นเอง (โปรแกรมป้ องกันไวรัสจะมีส่วนของการอัพเดทข้อมูลแบบออนไลน์จาก
เว็บของเจ้าของโปรแกรมให้กับผู้ใช้ไว้ด้วยเสมอ)
2.2 โปรแกรมไฟร์วอลล์ ( Firewall ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายที่แพร่หลายมากยิ่งขึ้น เป็นเหตุผล
หนึ่งที่ทาให้ผู้ไม่ประสงค์ดีบุกรุกเข้ามาใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราได้ ดังนั้นเพื่อเป็นการป้ องกันการบุกรุกดังกล่าว เรา
สามารถหาโปรแกรมประเภทไฟร์วอลล์ (เนื่องจากใช้เฉพาะส่วนตัวบนเครื่องเดียว บางครั้งจึงเรียกว่าpersonal firewall ) มา
ป้ องกันได้ เนื่องจากมีคุณสมบัติเกี่ยวกับป้ องกันการบุกรุก การติดตาม ตลอดจนตรวจสอบรายการต่าง ๆ ของผู้บุกรุกได้
2.3 โปรแกรมบีบอัดไฟล์( File Compression Utility ) เป็นลักษณะของโปรแกรมที่ทาหน้าที่บีบอัดไฟล์ให้มีขนาด
เล็กลงนั้นเอง ไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์นี้บางครั้งนิยมเรียกว่า ซิปไฟล์( zip files ) ตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่นิยมใช้และรู้จักกัน
เป็นอย่างดี เช่น PKZip, Winzip เป็นต้น และแม้ในตัว Windows XP เองก็มีความสามารถในการบีบอัดไฟล์ระดับหนึ่งอยู่แล้ว
เรียกว่าเป็น Compressed Folder นั่นเอง
ซอฟต์แวร์ประยุกต์( Application Software )
การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ในงานเฉพาะด้านซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบ ผู้ใช้จาเป็นต้อง
เลือกหาซอฟต์แวร์ให้ตรงตามความต้องการนั้นๆโดยเฉพาะ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนาเสนองาน การ
จัดทาบัญชี การตกแต่งภาพหรือการออกแบบเว็บไซท์ นอกจากนั้นอาจต้องคานึงถึงงบประมาณในการจัดหามา
ใช้ด้วยว่ามีเพียงพอหรือไม่เพียงใด โดยทั่วไปสามารถแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่งได้ดังนี้
แบ่งตามลักษณะการผลิต ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนำขึ้นใช้เองโดยเฉพำะ ( Proprietary Software ) พัฒนาขึ้นมาเหตุผลหลักคือ
หน่วยงานหรือองค์กรไม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์ที่นามาใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพดีเพียงพอกับความ
ต้องการ จึงทาให้มีการสร้างซอฟต์แวร์ขึ้นมาใหม่เพื่อใช้กันในหน่วยงานโดยเฉพา วิธีการพัฒนาอาจทาได้ 2 วิธีคือ
1.1 In-house developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานของบริษัทเองโดยทีมงานที่มีทักษะและความ
เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะวิธีนี้นอกจากจะได้ซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความต้องการแล้ว
ข้อดีอีกประการหนึ่งคือ แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ง่าย อีกทั้งสามารถควบคุมการผลิตได้ตลอดระยะเวลาการพัฒนานั้น
1.2 Contract หรือ outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทาขึ้นมา โดยอาจเป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญ
ในการเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่า software house ซึ่งสามารถขอดูผลงานที่ผ่านมาของผู้ผลิตได้ อย่างไรก็ตาม
บางครั้งอาจทาสัญญาจ้างผลิตและตกลงเรื่องาคากันตั้งแต่ต้น พร้อมทั้งระบุระยะเวลาที่กาหนดแล้วเสร็จให้ชัดเจน
เพื่อป้ องกันปัญหาในภายหลังได้
2. ซอฟต์แวร์ที่หำซื้อได้โดยทั่วไป ( Off-the-shelf Software หรือ Packaged Software ) งานบางอย่างที่
พบเห็นทั่วไป เช่น การจัดพิมพ์รายงานการจัดทาฐานข้อมูล การนาเสนองาน เราอาจจะเลือกหาซอฟต์แวร์เพื่อมา
ช่วยเหลือการทางานดังกล่าวได้โดยง่าย ซึ่งมีการวางขายตามท้องตลาดทั่วไป ( Off-the-shelf ) การวางขายจะมีการ
บรรจุหีบห่ออย่างดีและสามารถนาไปติดตั้งและใช้งานได้เลย บางครั้งจึงนิยมเรียกว่า โปรแกรมสาเร็จรูป(Packaged
Software ) นั่นเอง ทั้งนี้อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมเฉพาะและโปรแกรมมาตรฐาน
2.1 โปรแกรมเฉพำะ ( customized Package ) เป็นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตทาการเพิ่มเติม
คุณสมบัติบางอย่างลงไป เพราะโปรแกรมที่วางขายอยู่นั้นยังมีข้อจากัดบางประการที่ไม่สามารถตอบสนองการ
ทางานขององค์กรได้ หากมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขเพียงเล็กน้อยก็จะทาให้ใช้งานได้ดีและเหมาะสมกับองค์กรมากขึ้น
หรือบางโปรแกรมก็ทามาให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขปรับเปลี่ยนได้ในระดับหนึ่ง
2.2 โปรแกรมมาตรฐาน ( standard package ) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสามารถใช้กับงานทั่ว ๆ ไป
ส่วนใหญ่แล้วจะมีคุณสมบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องไปปรับปรุงหรือแก้ไขส่วนของโปรแกรมใด ๆ
เพิ่มเติม เพียงแต่ศึกษาคู่มือหรือวิธีการใช้งานจากรายละเอียดที่แนบมาพร้อมกับการซื้อโปรแกรมนั้นก็สามารถใช้
งานได้เลยทันที โปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มนี้เช่น กลุ่มของโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้าน Microsoft
Office เป็นต้น
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จากที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกมาตามลักษณะของการผลิต
อีกทางหนึ่งเราอาจแบ่งตามลักษณะของการนาไปใช้งานได้อย่างหลากหลาย ซึ่งอาจยกตัวอย่างของโปรแกรม
ประกอบและแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
1. กลุ่มกำรใช้งำนด้ำนธุรกิจ ( business ) ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้จะเน้นในการใช้งานทางด้านธุรกิจโดยเฉพาะ
โดยมุ่งหวังให้การทางานมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงงานคน เช่น ใช้สาหรับการจัดพิมพ์เอกสาร นาเสนองาน
รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทซอฟต์แวร์ในกลุ่มนี้เป็นจานวนมาก
2. กลุ่มกำรใช้งำนทำงด้ำนกรำฟิกและมัลติมีเดีย( graphic and multimedia ) เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์
ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยสาหรับการจัดการงานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดียให้เป็นไปได้โดยง่าย มี
ความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบด้านต่าง ๆ นั่นเอง เช่น ตกแต่งภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ
ภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์
3. กลุ่มสำหรับใช้งำนบนเว็บและกำรติดต่อสื่อสำร ( Web and Communication ) การเติบโตของ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมสาหรับการตรวจเช็ค
อีเมล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการและดูแลเว็บรวมถึงการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย
ภำษำคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้ว
คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วน
หนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกันยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษา
มาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
โดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม
ยุคที่ 1 (First Generation Language : 1GL) เป็นภาษาระดับต่า (Low - Level Language) ประกอบด้วย
เลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 หรือเรียกว่า "ภาษาเครื่อง (Machine Language)"
ยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) ได้มีผู้พัฒนาให้มีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง เรียกว่า
"ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)" คือ ภาษาอังกฤษ จะเป็นคาสั่งสั้น ๆ ที่จาได้ง่าย เรียกว่า "นิวมอนิกโค้ด
(Nemonic Code)" ทาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างภาษาสัญลักษณ์ ได้แก่ ภาษา
Assembly และเนื่องจากเป็นภาษาสัญลักษณ์ จึงต้องใช้ตัวแปลภาษา เพื่อทาให้เป็นภาษาเครื่องก่อน ด้วยตัว
แปลภาษาที่เรียกว่า"Assembler"
ยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL) ภาษาสัญลักษณ์ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น ทาให้สามารถแทนตัว
เลขฐานสองได้เป็นคา ทาให้กลายเป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจและเขียนได้ง่ายขึ้น คาสั่งสั้นและกระชับมากขึ้น เช่น
ภาษา BASIC, COBOL, Pascal
ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL) ได้มีการพัฒนารูปแบบการเขียนโปรแกรมจากยุคที่ 3 ที่จัดว่าเป็นการ
เขียนแบบ Procedural ให้กลายเป็นการเขียนแบบ Non - Procedural ที่สามารถกระโดดไปทาคาสั่งใดก่อนก็ได้ตามที่
โปรแกรมเขียนไว้ นอกจากนี้จุดเด่นของภาษาในยุคนี้เริ่มจากการเขียนคาสั่งให้ผู้ใช้สามารถจัดการกับข้อมูลใน
ฐานข้อมูลได้และพัฒนาต่อมากลายเป็นการเขียนคาสั่งให้ได้โปรแกรมที่มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิกมากขึ้น และ
พัฒนาจนมาถึงการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object - Oriented Programming) เช่น ภาษา C++, Visual C++, Delphi,
Visual Basic เป็นต้น ปัจจุบันมีภาษาที่ใช้หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุที่นิยมใช้ เช่น ภาษา Java
ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL) เป็นภาษาที่ใช้สาหรับพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert
System : ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกว่า "ภาษาธรรมชาติ (Natural
Language)" คือ ไม่ต้องสนใจถึงคาสั่งหรือลาดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นคาหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคาหรือประโยคเหล่านั้นเพื่อทาตาม
คาสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ ก็จะมีคาถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
ในการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ
ตามแต่ความชานาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้จะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโคด (source code) ซึ่งมนุษย์
จะอ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคาสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง
(Machine Language) ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์
(Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่องโปรแกรมที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้ว
เรียกว่า ออบเจคโคด (object code) ซึ่งจะประกอบด้วยรหัสคาสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ต่อไป
ตัวแปลภาษาที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน จะต่างกันที่ขั้นตอนที่ใช้ในการแปลภาษาให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถ
เข้าใจได้สามารถแบ่งได้เป็น
1. แอสเซมเบลอ (Assembler) เป็นตัวแปลภาษาแอสแซมบลีซึ่งเป็นภาษาระดับต่าให้เป็นภาษาเครื่อง
2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ไปเป็น
ภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคาสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้งโปรแกรมทาให้การแก้ไขโปรแกรมทาได้
ง่ายและรวดเร็วแต่ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลโดยการใช้อินเตอร์พรีเตอร์นั้นไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้จะจะต้อง
แปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน
3. คอมไพเลอร์ (Compiler) จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูงเช่นเดียวกับอินเตอร์พรีเตอร์แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรมทั้ง
โปรแกรมให้เป็นออบเจคโคด ก่อนที่จะสามารถนาไปทางานเช่นเดียวกับแอสแซมเบลอ ออบเจคโคดที่ได้จากการแปล
นั้นสามารถจัดเก็บไว้เป็นแฟ้ มข้อมูล เพื่อให้นาไปใช้ในการทางานเมื่อใดก็ได้ตามต้องการ ซึ่งเป็นข้อดีของคอมไพเลอร์ที่
จะนาผลที่ได้จากการแปลนั้นไปใช้งานกี่ครั้งก็ได้ไม่จากัด ไม่ต้องเสียเวลาในการแปลใหม่ทุกครั้ง ทาให้เป็นรูปแบบการ
แปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก

More Related Content

What's hot

ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์rungtip boontiengtam
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ssuseraa96d2
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์Phicha Pintharong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้Bhisut Boonyen
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์Khunakon Thanatee
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์Saranya Sirimak
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)jiratchayalert
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System) Petpayao Yamyindee
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
Ch03 handout
Ch03 handoutCh03 handout
Ch03 handoutNaret Su
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้ครู อินดี้
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1Paveenut
 

What's hot (18)

ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
ความหมายเรื่องซอฟต์แวร์
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
เอกสารประกอบการสอน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Introduction to Operating System)
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
Ch03 handout
Ch03 handoutCh03 handout
Ch03 handout
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1ระบบปฏิบัติการ1
ระบบปฏิบัติการ1
 

Similar to Work3-ศวิตา40

ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01tonglots
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศFfurn Leawtakoon
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJewely Slsnt
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการRawiwan Kashornchan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์wanuporn12345
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 

Similar to Work3-ศวิตา40 (20)

ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่3-49
บทที่3-49บทที่3-49
บทที่3-49
 
Work3 41
Work3 41Work3 41
Work3 41
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
 
Work3 07
Work3 07Work3 07
Work3 07
 
Ch04 slide
Ch04 slideCh04 slide
Ch04 slide
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
Whatiscomputer
WhatiscomputerWhatiscomputer
Whatiscomputer
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 

Work3-ศวิตา40

  • 2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ถูกเขียนขึ้น เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทา งาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อง คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคาสั่งที่เขียนไว้เป็นคาสั่งสาเร็จรูป ซึ่งจะทางานใกล้ชิดกับ คอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้ งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคาสั่งที่เขียนใน ภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบ เช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสาหรับระบบด้วยเช่นกัน 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มาให้คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่ เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทาสินค้าคง คลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรง กับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัว พัฒนา 2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทาไว้ เพื่อใช้ในการทางานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนาโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทาการดัดแปลง หรือแก้ไข โปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียน โปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสาเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานใน หน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชานาญเป็นพิเศษในการเขียน โปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปจึงเป็น สิ่งที่อานวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสาเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น
  • 3. โดยปกติแล้วเราสามารถหาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้หลาย ๆ วิธี ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบของการสั่งซื้อ โดยตรงกับบริษัทผู้ผลิตหรือใช้ตัวอย่าง ทดลองจากการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตได้ จึงพอสรุปวิธีการเลือก ซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ดังนี้ 1. แบบสำเร็จรูป (Packaged or ready-made software) เป็นวิธีที่ผู้ใช้งานซื้อได้จากตัวแทนจาหน่ายซอฟแวร์ที่ ได้รับการแต่งตั้ง จากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว ผู้ใช้สามรถนาไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือกซื้อผ่านทางร้านตัวแทนจาหน่ายได้ อาจเข้า ไปในเว็บไซต์ของบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์นั้นๆ แล้วกรอกข้อมูลรายการชาระเงินผ่านระบบแบบฟอร์มบนเว็บ เมื่อ รายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายชาระเงินของผู้ซื้อได้รับการอนุมัติแล้ว ก็สามารถดาวน์โหลดเอาซอฟต์แวร์มาใช้งาน ได้ทันที 2. แบบว่ำจ้ำงทำ (Customized or tailor-made software) เป็นวิธีการที่เหมาะสาหรับองค์กรที่มีลักษณะงาน เฉพาะของตนเองและไม่สามารถนา โปรแกรมสาเร็จรูปมาประยุกต์ใช้ได้ ดังนั้น จึงต้องมีการผลิตซอฟแวร์ขึ้นมาใช้ เอง โดยให้บุคคลภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านทาการผลิตซอฟแวร์ใหเตรงตาม คุณสมบัติที่ต้องการ วิธีการนี้อาจทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าแบบสาเร็จรูปพอสมควร แต่การทางานของซอฟต์แวร์จะสอดคล้องตรงกับ ความต้องการได้ดีที่สุด 3. แบบทดลองใช้ (Shareware) เป็นวิธีที่บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ได้ผลิตโปรแกรมที่ปรับลดคุณสมบัติ บางอย่าง ลงไป เพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้งานก่อน โดยมีการกาหนดระยะเวลาทดลองใช้งาน เช่น ใช้ได้ภายใน 30 วัน ใช้ ภายใน 90 วัน เป็นต้น หากผู้ใช้ทดลองใช้แล้วตัดสินใจว่าดี ตลอดจนเหมาะสมกับงานที่ทาอยู่ ผู้ใช้สามารถสั่งซื้อ โปรแกรมสาเร็จรูปแบบต็มๆจากบริษัทผู้ผลิตต่อไป 4. แบบทดลองใช้งำนฟรี (Freeware) เป็นโปรแกรมที่แจกให้ใช้ฟรี เพื่อตอบสนองกับการทางานที่หลากหลาย ซึ่งผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจ่ายเงินให้กับบริษัทผู้ผลิต ส่วนใหญ่เป้ าหมายของผู้ผลิตคือ ต้องการพัฒนาโปรแกรมเพื่อ เผยแพร่ผลงานของตนเองให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้น ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ลิขสิทธิ์ก็ยัง เป็นของบริษัทผู้ผลิตอยู่ ผู้อื่นไม่สามารถนาไปพัฒนาต่อหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ 5. แบบโอเพ่นชอร์ส (Open source) เป็นวิธีการขององค์กรที่มีกลุ่มบุคคลผู้ที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้าน การพัฒนาซอฟต์แวร์ทาการพัฒนาขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้นาไปใช้งานได้ฟรี รวมทั้งสามารถแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับงานของตนได้
  • 4. เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจา ไปจนถึงส่วนนาเข้าและส่งออกผลลัพธ์ ( input/output device ) บางครั้งก็นิยมเรียกรวม ๆ ว่า แพลตฟอร์ม (platform ) คอมพิวเตอร์จะทางานได้จาเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต เครื่องนั้น ๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม หรือระบบปฏิบัติการอะไรในการทางาน เราจะพบเห็นระบบปฏิบัติการอยู่ใน คอมพิวเตอร์แทบจะทุกประเภทตั้งแต่เครื่องขนาดใหญ่อย่างเครื่องเมนเฟรมจนถึงระดับเล็กสุด เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ พกพาประเภทพีดีเอ คุณสมบัติการทางาน ระบบปฏิบัติการโดยทั่วไปจะมีคุณสมบัติในการทางานแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. กำรทำงำนแบบ Multi – Tasking คือ ความสามารถในการทางานได้หลาย ๆ งาน หรือหลาย ๆ โปรแกรมใน เวลาเดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่ไปกับการท่องเว็บ ซึ่งในสมัยก่อนการทางานของระบบปฏิบัติการจะอยู่ในรูปแบบ ที่เรียกว่า single-tasking ซึ่งจะทางานทีละโปรแกรมคาสั่ง ผู้ใช้ไม่สามารถที่จะสลับงานไประหว่างโปรแกรมหรือทางาน ควบคู่กันได้ แต่สาหรับในปัจจุบันจะพบเห็นลักษณะการทางานแบบนี้มากขึ้น เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows รุ่ม ใหม่ ๆ ซึ่งทาให้การใช้งานได้สะดวกและทางานได้หลาย ๆ โปรแกรม 2. กำรทำงำนแบบ Multi – User ในระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการที่ทาหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่เรียกว่า multi-user หรือความสามารถในการทางานกับ ผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน ขณะที่มีการประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน ทาให้กระจายการใช้ได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น Multi – Tasking Multi – User
  • 5. ระบบปฏิบัติการที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน อาจนาเอาไปใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หลากหลายชนิด ตั้งแต่เครื่อง คอมพิวเตอร์ระดับใหญ่จนถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก ซึ่งอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. ระบบปฏิบัติกำรแบบเดี่ยว ( stand – alone OS ) เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว (เจ้าของเครื่องนั้น ๆ) นิยมใช้สาหรับเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทางานแบบทั่วไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือสานักงาน ซึ่งจะถูกติดตั้ง ระบบปฏิบัติการนี้รองรับการทางานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลง หรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ปัจจุบันพัฒนาให้มีคุณสมบัติที่เป็นลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย 1.1 DOS (Disk Operating System) 1.2 Windows 1.3 Unix1.3 Mac OS X 1.4 Linux
  • 6. 2. ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ( network OS ) เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสาหรับผู้ใช้หลาย ๆ คน ( multi - user ) นิยมใช้สาหรับงานให้บริการ และประมวลผลข้อมูลสาหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบเห็นได้กับการนาไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ติดตั้งระบบปฏิบัติการเหล่านี้เรียกว่า เครื่อง server ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับ ผู้ใช้นั่นเอง 2.1 Windows Server Windows Server 2.2 OS/2 Warp Server Windows Server 2.3 Solaris Windows Server
  • 7. 1.3 ระบบปฏิบัติกำรแบบฝัง ( embedded OS ) เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอหรือ Smart phone บางรุ่น สามารถช่วยในการทางานของอุปกรณ์แบบไม่ประจาที่เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อม ๆ กับที่อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์พกพาเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวด้วย เช่น รองรับกับการทางานทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ มักจะพบเห็นการใช้งานของระบบปฏิบัติการ แบบฝังนี้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา เช่น Palm, pocket PC, Smart phone รวมถึงอุปกรณ์ขนาดเล็กอื่น ๆ ซึ่ง พอจะยกตัวอย่างได้ดังนี้ 3.3 Pocket PC OS (Windows CE เดิม) Windows Server 3.2 Symbian OS Windows Server 3.1 Palm OS Windows Server
  • 8. โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ ( Utility Program ) เป็นโปรแกรมที่สาคัญกับการทางานของ ระบบคอมพิวเตอร์เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็กกว่าระบบปฏิบัติการ คุณสมบัติในการใช้งานนั้นค่อนข้าง หลากหลายหรือใช้งานได้แบบอรรถประโยชน์ มักนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ยูทิลิตี้( Utility ) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติกำร ( OS Utility Programs ) เป็นยูทิลิตี้ที่มักจะมีการติดตั้งมาพร้อมกับ ระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกสาหรับการทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอยกตัวอย่าง ของยูทิลิตี้ที่ใช้ใน Windows ที่ค่อนข้างจะรู้จักกันดี 1.1 ประเภทกำรจัดกำรไฟล์ ( File Manager ) เป็นยูทิลิตี้ที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่าง ๆ เช่น การคัดลอก การเปลี่ยนชื่อ การลบ และการย้ายไฟล์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการ Windows รุ่นใหม่ ๆ ยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่ เรียกว่า image viewer เพื่อนามาปรับใช้กับไฟล์ที่เป็นรูปภาพ ได้อีกด้วย เมื่อใดที่ต้องการเรียกดูไฟล์ที่เป็นรูปภาพ (จะแสดง เป็นภาพขนาดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า thumbnail ) ผู้ใช้งานสามารถที่ จะดับเบิลคลิกและเปิดดูได้ทันที 1.2 ประเภทกำรลบทิ้งโปรแกรม ( Uninstaller ) การติดตั้งโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว เมื่อใดก็ตามที่ต้องการลบ หรือกาจัดโปรแกรมต่าง ๆ เหล่านี้ออกไปจากระบบ สามารถ เรียกใช้โปรแกรมประเภทการลบทิ้งนี้ได้เลยทันที ซึ่งทางานได้ อย่างง่ายดาย สาหรับในระบบปฏิบัติการ Windows XP จะอยู่ที่ Add/Remove Programs ในส่วนของ Control Panel
  • 9. 1.3 ประเภทกำรสแกนดิสก์ ( Disk Scanner ) เมื่อใดก็ตามที่อุปกรณ์สารองข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์หรือฟล็อปปี้ดิสก์เกิดปัญหาในการใช้งานขึ้น ยูทิลิตี้ประเภทนี้จะทาการสแกนหาข้อผิดพลาดต่าง ๆ เหล่านั้น พร้อมทั้งหาทางแก้ปัญหานั้นให้ด้วย ยูทิลิตี้ประเภทสแกนดิสก์ อาจพบเห็นได้กับการเอาไปใช้เพื่อสแกนหาไฟล์ที่ไม่ ต้องการใช้งาน ( unnecessary files ) ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้เป็นจานวนมากเมื่อเราใช้คอมพิวเตอร์ทางานไปสักระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้นเพื่อให้มีพื้นที่เก็บบันทึกข้อมูลเหลือคืนมา เราอาจเลือกใช้โปรแกรม เช่น Disk Cleanup ทาการสารวจและกาจัดไฟล์ เหล่านั้นออกไปจากระบบเพื่อกันพื้นที่ไว้เก็บข้อมูลที่จาเป็นใหม่ ๆ อีกได้ 1.4 ประเภทกำรจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล ( Disk Defragmenter ) เป็นยูทิลิตี้ที่มีประโยชน์ในการใช้งานอย่างมาก เพราะดิสก์ของคอมพิวเตอร์นั้นเมื่อมีการเรียกใช้งานอยู่บ่อย ๆ จะทาให้เกิดการกระจัดกระจายของไฟล์ข้อมูลอย่างไม่เป็น ระเบียบและไม่ได้อยู่เป็นกลุ่มก้อนเดียวกันเมื่อต้องการเรียกใช้อีกในภายหลังจะทาให้เวลาในการดึงข้อมูลนั้น ๆ ช้าลง โปรแกรมยูทิลิตี้ประเภทนี้จะคอยทาหน้าที่จัดเรียงไฟล์เหล่านี้เสียใหม่ให้เป็นระเบียบมากขึ้น เพื่อช่วยให้การเข้าถึงข้อมูล ดังกล่าวง่ายและเร็วกว่าเดิม
  • 10. 1.5 ประเภทรักษำหน้ำจอ ( Screen Saver ) จอภาพของคอมพิวเตอร์ เมื่อเราเปิดทางานและปล่อยทิ้งให้แสดง ภาพเดิมโดยไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ เกิดขึ้นเป็นเวลานาน จะทาให้เกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสงที่ฉาบผิวจอและไม่ สามารถลบหายออกไปได้ เมื่อปล่อยทิ้งไว้นานเข้าอาจส่งผลให้อายุการใช้งานของหน้าจอคอมพิวเตอร์สั้นลงตามไปด้วย โปรแกรมประเภทรักษาหน้าจอหรือ Screen Saver จะมาช่วยป้ องกันปัญหาดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ สามารถตั้งค่าระยะเวลาให้โปรแกรมตรวจเช็คและเริ่มทางานได้หากไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ ของจอภาพ เช่น 5 นาที หรือ 10 นาที เป็นต้น เมื่อเราทาการขยับเมาส์หรือเริ่มที่จะนั่งทางานใหม่ โปรแกรมดังกล่าวก็จะหายไป ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ที่ใช้สาหรับรักษาหน้าจอสามารถเลือกลวดลายหรือรูปแบบภาพได้ด้วยตนเองนอกจากนั้นแล้วเพื่อเป็นการป้ องกันการใช้ งานของบุคคลที่สาม อาจใช้การตั้งรหัสผ่านของโปรแกรมรักษาหน้าจอ
  • 11. 2. ยูทิลิตี้สำหรับระบบปฏิบัติกำร ( OS Utility Programs ) เป็นยูทิลิตี้ที่มักจะมีการติดตั้งมาพร้อมกับ ระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกสาหรับการทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งขอยกตัวอย่าง ของยูทิลิตี้ที่ใช้ใน Windows ที่ค่อนข้างจะรู้จักกันดี 2.1 โปรแกรมป้ องกันไวรัส ( Anti Virus Program ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกับบุคคลอื่นหลาย ๆ คน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อประยุกต์ใช้กับระบบเครือข่าย สิ่งที่เป็นปัญหาและพบบ่อยมากที่สุดก็คือไวรัสคอมพิวเตอร์ ( computer virus ) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งประเภทหนึ่งที่มีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีเขียนขึ้นมาเพื่อทาให้ประสิทธิภาพในการทางานของ คอมพิวเตอร์ลดลงหรือไม่สามารถทางานต่าง ๆ ได้ จึงมีผู้พัฒนาโปรแกรมไว้ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวเรียกว่า โปรแกรมป้ องกันไวรัส (anti virus program )การใช้คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปควรจะมีการติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้ภายในเครื่อง ด้วย อย่างไรก็ดีไวรัสคอมพิวเตอร์นั้นเกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา โปรแกรมบางรุ่นอาจไม่สามารถตรวจพบไวรัสบางตัวได้ ซึ่งเป็นเพราะว่าผลิตขึ้นมาก่อนที่ไวรัสตัวนั้นจะแพร่กระจาย ผู้ใช้จึงจาเป็นต้องอัพเดทข้อมูลบอกให้กับโปรแกรมเหล่านี้ ทราบด้วยเพื่อให้ทางานได้อย่างสมบูรณ์นั่นเอง (โปรแกรมป้ องกันไวรัสจะมีส่วนของการอัพเดทข้อมูลแบบออนไลน์จาก เว็บของเจ้าของโปรแกรมให้กับผู้ใช้ไว้ด้วยเสมอ)
  • 12. 2.2 โปรแกรมไฟร์วอลล์ ( Firewall ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายที่แพร่หลายมากยิ่งขึ้น เป็นเหตุผล หนึ่งที่ทาให้ผู้ไม่ประสงค์ดีบุกรุกเข้ามาใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราได้ ดังนั้นเพื่อเป็นการป้ องกันการบุกรุกดังกล่าว เรา สามารถหาโปรแกรมประเภทไฟร์วอลล์ (เนื่องจากใช้เฉพาะส่วนตัวบนเครื่องเดียว บางครั้งจึงเรียกว่าpersonal firewall ) มา ป้ องกันได้ เนื่องจากมีคุณสมบัติเกี่ยวกับป้ องกันการบุกรุก การติดตาม ตลอดจนตรวจสอบรายการต่าง ๆ ของผู้บุกรุกได้ 2.3 โปรแกรมบีบอัดไฟล์( File Compression Utility ) เป็นลักษณะของโปรแกรมที่ทาหน้าที่บีบอัดไฟล์ให้มีขนาด เล็กลงนั้นเอง ไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์นี้บางครั้งนิยมเรียกว่า ซิปไฟล์( zip files ) ตัวอย่างของยูทิลิตี้ที่นิยมใช้และรู้จักกัน เป็นอย่างดี เช่น PKZip, Winzip เป็นต้น และแม้ในตัว Windows XP เองก็มีความสามารถในการบีบอัดไฟล์ระดับหนึ่งอยู่แล้ว เรียกว่าเป็น Compressed Folder นั่นเอง
  • 13. ซอฟต์แวร์ประยุกต์( Application Software ) การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ในงานเฉพาะด้านซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบ ผู้ใช้จาเป็นต้อง เลือกหาซอฟต์แวร์ให้ตรงตามความต้องการนั้นๆโดยเฉพาะ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนาเสนองาน การ จัดทาบัญชี การตกแต่งภาพหรือการออกแบบเว็บไซท์ นอกจากนั้นอาจต้องคานึงถึงงบประมาณในการจัดหามา ใช้ด้วยว่ามีเพียงพอหรือไม่เพียงใด โดยทั่วไปสามารถแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่งได้ดังนี้ แบ่งตามลักษณะการผลิต ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนำขึ้นใช้เองโดยเฉพำะ ( Proprietary Software ) พัฒนาขึ้นมาเหตุผลหลักคือ หน่วยงานหรือองค์กรไม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์ที่นามาใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพดีเพียงพอกับความ ต้องการ จึงทาให้มีการสร้างซอฟต์แวร์ขึ้นมาใหม่เพื่อใช้กันในหน่วยงานโดยเฉพา วิธีการพัฒนาอาจทาได้ 2 วิธีคือ 1.1 In-house developed สร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานของบริษัทเองโดยทีมงานที่มีทักษะและความ เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะวิธีนี้นอกจากจะได้ซอฟต์แวร์ที่ตรงกับความต้องการแล้ว ข้อดีอีกประการหนึ่งคือ แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ง่าย อีกทั้งสามารถควบคุมการผลิตได้ตลอดระยะเวลาการพัฒนานั้น 1.2 Contract หรือ outsource เป็นการจ้างบุคคลภายนอกให้ทาขึ้นมา โดยอาจเป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญ ในการเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่า software house ซึ่งสามารถขอดูผลงานที่ผ่านมาของผู้ผลิตได้ อย่างไรก็ตาม บางครั้งอาจทาสัญญาจ้างผลิตและตกลงเรื่องาคากันตั้งแต่ต้น พร้อมทั้งระบุระยะเวลาที่กาหนดแล้วเสร็จให้ชัดเจน เพื่อป้ องกันปัญหาในภายหลังได้
  • 14. 2. ซอฟต์แวร์ที่หำซื้อได้โดยทั่วไป ( Off-the-shelf Software หรือ Packaged Software ) งานบางอย่างที่ พบเห็นทั่วไป เช่น การจัดพิมพ์รายงานการจัดทาฐานข้อมูล การนาเสนองาน เราอาจจะเลือกหาซอฟต์แวร์เพื่อมา ช่วยเหลือการทางานดังกล่าวได้โดยง่าย ซึ่งมีการวางขายตามท้องตลาดทั่วไป ( Off-the-shelf ) การวางขายจะมีการ บรรจุหีบห่ออย่างดีและสามารถนาไปติดตั้งและใช้งานได้เลย บางครั้งจึงนิยมเรียกว่า โปรแกรมสาเร็จรูป(Packaged Software ) นั่นเอง ทั้งนี้อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมเฉพาะและโปรแกรมมาตรฐาน 2.1 โปรแกรมเฉพำะ ( customized Package ) เป็นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตทาการเพิ่มเติม คุณสมบัติบางอย่างลงไป เพราะโปรแกรมที่วางขายอยู่นั้นยังมีข้อจากัดบางประการที่ไม่สามารถตอบสนองการ ทางานขององค์กรได้ หากมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขเพียงเล็กน้อยก็จะทาให้ใช้งานได้ดีและเหมาะสมกับองค์กรมากขึ้น หรือบางโปรแกรมก็ทามาให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขปรับเปลี่ยนได้ในระดับหนึ่ง 2.2 โปรแกรมมาตรฐาน ( standard package ) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสามารถใช้กับงานทั่ว ๆ ไป ส่วนใหญ่แล้วจะมีคุณสมบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องไปปรับปรุงหรือแก้ไขส่วนของโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติม เพียงแต่ศึกษาคู่มือหรือวิธีการใช้งานจากรายละเอียดที่แนบมาพร้อมกับการซื้อโปรแกรมนั้นก็สามารถใช้ งานได้เลยทันที โปรแกรมที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มนี้เช่น กลุ่มของโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้าน Microsoft Office เป็นต้น
  • 15. แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จากที่กล่าวมาข้างต้นเป็นการแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกมาตามลักษณะของการผลิต อีกทางหนึ่งเราอาจแบ่งตามลักษณะของการนาไปใช้งานได้อย่างหลากหลาย ซึ่งอาจยกตัวอย่างของโปรแกรม ประกอบและแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. กลุ่มกำรใช้งำนด้ำนธุรกิจ ( business ) ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้จะเน้นในการใช้งานทางด้านธุรกิจโดยเฉพาะ โดยมุ่งหวังให้การทางานมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงงานคน เช่น ใช้สาหรับการจัดพิมพ์เอกสาร นาเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทซอฟต์แวร์ในกลุ่มนี้เป็นจานวนมาก 2. กลุ่มกำรใช้งำนทำงด้ำนกรำฟิกและมัลติมีเดีย( graphic and multimedia ) เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยสาหรับการจัดการงานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดียให้เป็นไปได้โดยง่าย มี ความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบด้านต่าง ๆ นั่นเอง เช่น ตกแต่งภาพ วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ 3. กลุ่มสำหรับใช้งำนบนเว็บและกำรติดต่อสื่อสำร ( Web and Communication ) การเติบโตของ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมสาหรับการตรวจเช็ค อีเมล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการและดูแลเว็บรวมถึงการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย
  • 16. ภำษำคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้ว คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วน หนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกันยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษา มาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่ง โดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม ยุคที่ 1 (First Generation Language : 1GL) เป็นภาษาระดับต่า (Low - Level Language) ประกอบด้วย เลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 หรือเรียกว่า "ภาษาเครื่อง (Machine Language)" ยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) ได้มีผู้พัฒนาให้มีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง เรียกว่า "ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)" คือ ภาษาอังกฤษ จะเป็นคาสั่งสั้น ๆ ที่จาได้ง่าย เรียกว่า "นิวมอนิกโค้ด (Nemonic Code)" ทาให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างภาษาสัญลักษณ์ ได้แก่ ภาษา Assembly และเนื่องจากเป็นภาษาสัญลักษณ์ จึงต้องใช้ตัวแปลภาษา เพื่อทาให้เป็นภาษาเครื่องก่อน ด้วยตัว แปลภาษาที่เรียกว่า"Assembler" ยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL) ภาษาสัญลักษณ์ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น ทาให้สามารถแทนตัว เลขฐานสองได้เป็นคา ทาให้กลายเป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจและเขียนได้ง่ายขึ้น คาสั่งสั้นและกระชับมากขึ้น เช่น ภาษา BASIC, COBOL, Pascal
  • 17. ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL) ได้มีการพัฒนารูปแบบการเขียนโปรแกรมจากยุคที่ 3 ที่จัดว่าเป็นการ เขียนแบบ Procedural ให้กลายเป็นการเขียนแบบ Non - Procedural ที่สามารถกระโดดไปทาคาสั่งใดก่อนก็ได้ตามที่ โปรแกรมเขียนไว้ นอกจากนี้จุดเด่นของภาษาในยุคนี้เริ่มจากการเขียนคาสั่งให้ผู้ใช้สามารถจัดการกับข้อมูลใน ฐานข้อมูลได้และพัฒนาต่อมากลายเป็นการเขียนคาสั่งให้ได้โปรแกรมที่มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิกมากขึ้น และ พัฒนาจนมาถึงการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object - Oriented Programming) เช่น ภาษา C++, Visual C++, Delphi, Visual Basic เป็นต้น ปัจจุบันมีภาษาที่ใช้หลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุที่นิยมใช้ เช่น ภาษา Java ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL) เป็นภาษาที่ใช้สาหรับพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกว่า "ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)" คือ ไม่ต้องสนใจถึงคาสั่งหรือลาดับของข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นคาหรือประโยคตามที่ผู้ใช้เข้าใจ คอมพิวเตอร์จะพยายามแปลคาหรือประโยคเหล่านั้นเพื่อทาตาม คาสั่ง แต่ถ้าไม่สามารถแปลให้เข้าใจได้ ก็จะมีคาถามกลับมาถามผู้ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้อง
  • 18. ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ ตามแต่ความชานาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้จะเรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโคด (source code) ซึ่งมนุษย์ จะอ่านโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้แต่คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคาสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรม ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่องโปรแกรมที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้ว เรียกว่า ออบเจคโคด (object code) ซึ่งจะประกอบด้วยรหัสคาสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ต่อไป ตัวแปลภาษาที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน จะต่างกันที่ขั้นตอนที่ใช้ในการแปลภาษาให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้สามารถแบ่งได้เป็น 1. แอสเซมเบลอ (Assembler) เป็นตัวแปลภาษาแอสแซมบลีซึ่งเป็นภาษาระดับต่าให้เป็นภาษาเครื่อง 2. อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ไปเป็น ภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคาสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้งโปรแกรมทาให้การแก้ไขโปรแกรมทาได้ ง่ายและรวดเร็วแต่ออบเจคโคดที่ได้จากการแปลโดยการใช้อินเตอร์พรีเตอร์นั้นไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้จะจะต้อง แปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน 3. คอมไพเลอร์ (Compiler) จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูงเช่นเดียวกับอินเตอร์พรีเตอร์แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรมทั้ง โปรแกรมให้เป็นออบเจคโคด ก่อนที่จะสามารถนาไปทางานเช่นเดียวกับแอสแซมเบลอ ออบเจคโคดที่ได้จากการแปล นั้นสามารถจัดเก็บไว้เป็นแฟ้ มข้อมูล เพื่อให้นาไปใช้ในการทางานเมื่อใดก็ได้ตามต้องการ ซึ่งเป็นข้อดีของคอมไพเลอร์ที่ จะนาผลที่ได้จากการแปลนั้นไปใช้งานกี่ครั้งก็ได้ไม่จากัด ไม่ต้องเสียเวลาในการแปลใหม่ทุกครั้ง ทาให้เป็นรูปแบบการ แปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก