SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
1.ความหมาย ความสำาคัญ
              ประเภท
วามหมาย และความสำาคัญ ของซอฟท์แวร์
  • ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงชุดคำาสั่งหรือ
    โปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำางานตามลำาดับ
    ขันตอนการทำางานที่เขียนขึนด้วยภาษาของ
      ้                          ้
    คอมพิวเตอร์ คำาสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรม
    คอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์
    ทำางานตามคำาสั่ง การทำางานพื้นฐานเป็นเพียงการกระ
    ทำากับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึงใช้แทนข้อมูลที่
                                         ่
    เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูด
    ก็ได้
ความหมาย และความสำาคัญ
          ของซอฟท์แวร์
•       การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำางานให้กับเราได้อย่าง
    หลากหลาย เพราะมีซอฟต์แวร์ต่างๆ ช่วยสนับสนุนการ
    ทำางานเหล่านั้น เช่น ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ในการ
    จัดทำาบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษทขายตัวเครื่องบินใช้
                                     ั         ๋
    คอมพิวเตอร์ชวยในระบบการจองตัว ธนาคารใช้
                   ่                   ๋
    คอมพิวเตอร์ชวยในการจัดการข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่
                     ่
    มากมาย ครูและนักเรียนใช้คอมพิวเตอร์ชวยในการจัด
                                             ่
    พิมพ์เอกสาร ดังนั้นซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึง
    โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำาให้คอมพิวเตอร์
    ทำางานได้
       การที่คอมพิวเตอร์ดำาเนินการได้อย่างไรและก่อให้
    เกิดประโยชน์ได้มากน้อยเพียงใดนั้นจึงขึนอยู่กับ
                                           ้
    ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำาคัญของระบบ
    คอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่
    สามารถทำางานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จำาเป็นและ
ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่ง
    เป็น2ประเภท
ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่ง
              เป็น2ประเภท
  1.ซอฟต์แวร์
  ระบบ
• คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้
  จัดการกับระบบ หน้าที่การทำางานของซอฟต์แวร์
  ระบบคือดำาเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบ
  คอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ
  แล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำา
  ข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำาออกไปยัง
  เครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบน
  หน่วยความจำารอง
2.ซอฟต์แวร์
 ประยุกต์
• เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความ
  ต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำามาใช้ประโยชน์
  ได้โดยตรง ปัจจุบนมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งาน
                   ั
  ทางด้านต่าง ๆ ออกจำาหน่ายมาก การประยุกต์
  งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย
  เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม
  คือ ซอฟต์แวร์สำาเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้น
  ใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำาเร็จในปัจจุบันมี
  มากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำา ซอฟต์แวร์
  ตารางทำางาน ฯลฯ
1.ซอฟท์แวร์ระบบ
• คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก
  หน่วยความจำา และหน่วยประมวลผล ในการทำางานของ
  คอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องมีการดำาเนินงานกับอุปกรณ์พื้น
  ฐานที่จำาเป็น ดังนั้นจึงต้องมีซอฟต์แวร์ระบบเพื่อใช้ใน
  การจัดการระบบ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบ
  ด้วย
• ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น
  รับการกดแป้นต่าง ๆ บนแผงแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษร
  ออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้า
  และส่งออกอืน ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์สังเคราะห์เสียง
                ่
• ใช้ในการจัดการหน่วยความจำา เพื่อนำาข้อมูลจากแผ่น
  บันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำาหลัก หรือในทำานองกลับ
  กัน คือนำาข้อมูลจากหน่วยความจำาหลักมาเก็บไว้ในแผ่น
  บันทึก
•
1.ระบบ
ปฏิบัติการ
• ระบบปฏิบัติการ หรือทีเรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating
                         ่
  System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์
  เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
  นี้ ระบบปฏิบัตการทีนิยมใช้กนมากและเป็นทีรู้จักกันดีเช่นดอส
                ิ    ่        ั             ่
  (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู
  (OS/2) ยูนกซ์ (UNIX)
            ิ
หน้าทีของระบบ
      ่
ปฏิบัติการ
• 1) ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานาน
  แล้ว การใช้งานจึงใช้คำาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็น
  ซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผใช้ไมโครคอมพิวเตอร์
                                  ู้
• 2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัตการที่พัฒนาต่อจากดอส
                                ิ
  เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทำางานหลายงาน
  พร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่อง
  หน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบ
  กราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชีตำาแหน่งเพื่อ
                                           ้
  เลือกตำาแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทำาให้ใช้งาน
  คอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมใน
  ปัจจุบัน
• 3) โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ส
  แต่บริษัทผูพัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติ
                ้
  การที่ให้ผใช้สามารถใช้ทำางานได้หลายงานพร้อมกัน
             ู้
  และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์
2.ตัวแปล
   ภาษา
• 1) ภาษาปาสคาล เป็นภาษาสั่งงานคอมพิวเตอร์ที่
  มีรปแบบเป็นโครงสร้าง เขียนสั่งงานคอมพิวเตอร์
      ู
  เป็นกระบวนความ ผู้เขียนสามารถแบ่งแยกงานออก
  เป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วมารวมกันเป็นโปรแกรมขนาด
  ใหญ่ได้
• 2) ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่มีรปแบบคำาสั่งไม่ยุ่ง
                               ู
  ยาก สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย มีรปแบบคำา
                                        ู
  สั่งพื้นฐานทีสามารถนำามาเขียนเรียงต่อกันเป็น
               ่
  โปรแกรมได้
• 3) ภาษาซีี เป็นภาษาที่เหมาะสำาหรับใช้ในการ
  พัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ ภาษาซีเป็นภาษาทีมี  ่
  โครงสร้างคล่องตัวสำาหรับการเขียนโปรแกรมหรือ
  ให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับอุปกรณ์ตาง ๆ
                                   ่
2.ซอฟท์แวร์ประยุกต์
• การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาก้าวหน้า
  อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการที่มีคอมพิวเตอร์
  ขนาดเล็ก ทำาให้มีการใช้งานคล่องตัวขึ้น จนใน
  ปัจจุบันสามารถนำาคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ติดตัว
  ไปใช้งานในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
• การใช้งานคอมพิวเตอร์ตองมีซอฟท์แวร์
                           ้
  ประยุกต์ ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์สำาเร็จที่มีผู้
  พัฒนาเพื่อใช้งานทั่วไปทำาให้ทำางานได้สะดวก
  ขึ้น หรืออาจเป็นซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ซึ่งผู้
  ใช้เป็นผู้พฒนาขึ้นเองเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ
             ั
1.ซอฟต์แวร์
สำาเร็จ
• ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กันทั่วไป
  ซอฟต์แวร์สำาเร็จ (package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความ
  นิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์สำาเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่
  บริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนำาออกมาจำาหน่าย เพื่อให้ผู้
  ใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาในการ
  พัฒนาซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สำาเร็จทีมีจำาหน่าย
                                        ่
  ในท้องตลาดทั่วไป และเป็นที่นิยมของผูใช้มี 5
                                          ้
  กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประมวลคำา (word
  processing software) ซอฟต์แวร์ตารางทำางาน
  (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จัดการฐาน
  ข้อมูล (data base management software)
  ซอฟต์แวร์นำาเสนอ (presentation software) และ
• 1) ซอฟต์แวร์ประมวลคำา เป็นซอฟต์แวร์
  ประยุกต์ใช้สำาหรับการพิมพ์เอกสาร สามารถ
  แก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้
  อย่างดี เอกสารที่พิมพ์ไว้จัดเป็นแฟ้มข้อมูล
  เรียกมาพิมพ์หรือแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออก
  ทางเครื่องพิมพ์ก็มีรูปแบบตัวอักษรให้เลือก
  หลายรูปแบบ เอกสารจึงดูเรียบร้อยสวยงาม
  ปัจจุบันมีการเพิมขีดความสามารถของ
                  ่
  ซอฟต์แวร์ประมวลคำาอีกมากมาย ซอฟต์แวร์
  ประมวลคำาที่นิยมอยู่ในปัจจุบน เช่น วินส์เวิร์ด
                               ั
ซอฟต์แวร์ประมวลคำามีคณสมบัตดเด่นหลาย
                         ุ      ิ ี
             ประการอาจสรุปได้ดงนี้
                              ั
• 1) สามารถควบคุมสั่งจัดวางรูปแบบเอกสารได้ใหม่ตาม
  ต้องการ เช่น การกำาหนดจำานวนตัวอักษรในแต่ละ
  2) ช่วยควบคุมให้แก้ไขดัดแปลงข้อความเป็นกลุ่ม คือ สามารถ
  สั่งทำาการลบ เคลือนย้าย หรือสำาเนาข้อความเป็นคำา ประโยคหรือ
                   ่
  ย่อหน้า จากตำาแหน่งหนึงไปยังตำาแหน่งอืนของเอกสารได้งาย
                         ่               ่              ่
  3) สามารถควบคุมการแสดงตัวอักษรของข้อความที่อาจเป็น
  ตัวเข้ม ตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้ที่ตำาแหน่งต่าง ๆ ได้
  อย่างอิสระ
  4) เอกสารที่จัดเตรียมไว้สามารถทำาการจัดเก็บลงในเผ่น
  บันทึกในรูปของแฟ้มข้อมูล และสามารถเรียกแฟ้มนั้นออก
  จากแผ่นบันทึกกลับมาลงหน่วยความจำาของเครื่อง
  คอมพิวเตอร์ เพื่อทำาการแก้ไขข้อความบนจอภาพได้ทันที
  5) มีคำาสั่งในการเรียกค้นคำาหรือข้อความที่มอยู่ในเอกสารได้
                                              ี
  อย่างรวดเร็ว ช่วยให้สามารถแก้ไขดัดแปลงได้สะดวกและ
  รวดเร็วขึ้น
• 2) ซอฟต์แวร์ตารางทำางาน เป็นซอฟต์แวร์ที่
  ช่วยในการคิดคำานวณ การทำางานของซอฟต์แวร์
  ตารางทำางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทำางานที่
  มีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครื่องมือคล้าย
  ปากกา ยางลบ และเครื่องคำานวณเตรียมไว้ให้
  เสร็จ บนกระดาษมีชองให้ใส่ตวเลข ข้อความ
                       ่       ั
  หรือสูตร สามารถสังให้คำานวณตามสูตรหรือ
                   ่
  เงือนไขที่กำาหนด ผู้ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทำางาน
     ่
  สามารถประยุกต์ใช้งานประมวลผลตัวเลขอื่น ๆ
  ได้กว้างขวาง ซอฟต์แวร์ตารางทำางานที่นิยมใช้
• 3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล การใช้
  คอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งคือการใช้เก็บข้อมูล และ
  จัดการกับข้อมูลที่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ จึง
  จำาเป็นต้องมีซอฟต์แวร์จัดการข้อมูล การ
  รวบรวมข้อมูลหลาย ๆ เรื่องที่เกี่ยวข้องกันไว้ใน
  คอมพิวเตอร์ เราก็เรียกว่าฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์
  จัดการฐานข้อมูลจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ชวยใน
                                           ่
  การเก็บ การเรียกค้นมาใช้งาน การทำารายงาน
  การสรุปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐาน
  ข้อมูลที่นยมใช้ เช่น เอกเซส ดีเบส พาราด็อก
            ิ
• 4) ซอฟต์แวร์นำาเสนอ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้
  สำาหรับนำาเสนอข้อมูล การแสดงผลต้องสามารถ
  ดึงดูดความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านี้จึงเป็น
  ซอฟต์แวร์ที่นอกจากสามารถแสดงข้อความใน
  ลักษณะที่จะสือความหมายได้ง่ายแล้วจะต้อง
               ่
  สร้างแผนภูมิ กราฟ และรูปภาพได้ ตัวอย่างของ
  ซอฟต์แวร์นำาเสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ โลตัส
  ฟรีแลนซ์ ฮาร์วาร์ดกราฟิก
• 5) ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์สื่อสาร
  ข้อมูลนี้หมายถึงซอฟต์แวร์ที่จะช่วยให้ไมโคร
  คอมพิวเตอร์ติดต่อสือสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์
                      ่
  อื่นในที่ห่างไกล โดยผ่านทางสายโทรศัพท์
  ซอฟต์แวร์สอสารใช้เชือมโยงต่อเข้ากับระบบ
               ื่       ่
  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำาให้
  สามารถใช้บริการอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ สามารถใช้
  รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้โอนย้ายแฟ้ม
  ข้อมูล ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูล อ่านข่าวสาร
  นอกจากนี้ยังใช้ในการเชือมเข้าหามินิ
                          ่
2.ซอฟต์แวร์ใช้
 งานเฉพาะ
• การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สำาเร็จมักจะเน้นการใช้งาน
  ทัวไป แต่อาจจะนำามาประยุกต์โดยตรงกับงานทางธุรกิจบาง
     ่
  อย่างไม่ได้ เช่นในกิจการธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งานทาง
  ด้านบัญชี หรือในห้างสรรพสินค้าก็มีงานการขายสินค้า การออก
  ใบเสร็จรับเงิน การควบคุมสินค้าคงคลัง ดังนันจึงต้องมีการ
                                              ้
  พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะสำาหรับงานแต่ละประเภทให้ตรง
  กับความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย
• ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ทผพัฒนาต้องเข้าไป
                                           ี่ ู้
  ศึกษารูปแบบการทำางานหรือความต้องการของธุรกิจนัน ๆ แล้ว
                                                     ้
  จัดทำาขึ้น โดยทัวไปจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่วนรวมกันเพื่อ
                  ่
  ร่วมกันทำางาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะทีใช้กันในทางธุรกิจ เช่น
                                        ่
  ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจำาหน่าย ระบบงานใน
  โรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเช่าซื้อ
•
• CAI (Computer-Assisted Instruction) เป็น
  ซอฟต์แวร์ที่ใช้เกี่ยวกับการศึกษาในเพิ่ม
  ประสิทธิภาพการสอนและการรับรูของผู้เรียนโดยใช้
                                  ้
  คอมพิวเตอร์เป็นตัวนำาเสนอเนื้อหา และกิจกรรม
  ของการเรียน โดยนำาเนื้อหาและลำาดับวิธีการสอน
  มาบันทึกเก็บไว้ และนำาเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม
  CAI สามารถนำามาใช้ในการฝึกทบทวน(Drill and
  Practice) แก้ปัญหา(Problem solving) จำาลอง
  สถานการณ์(Simulation) ค้นพบ(Discovery) ได้
  ซอฟต์แวร์ CAI นั้นจะต้องถูกสร้างขึนมาตาม
                                    ้
  วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ โดยจะต้องมีเครื่องมือที่
  ใช้ในการสร้างซอฟต์แวร์ CAI หลายๆ เครืองมือมา
                                          ่
  ประกอบกัน เช่น โปรแกรมAuthorware, Toolbook ,
• LMS เป็นระบบจัดการการเรียนการสอน
  ออนไลน์ หรือ e-Learning เป็นซอฟต์แวร์ที่ชวย  ่
  ในระบบจัดการห้องเรียนเสมือน ทำาให้สถาบัน
  การศึกษาหรือแหล่งจัดการเรียนสามารถให้ผู้
  เรียนได้มี Login และ Password เพื่อมีสิทธิเข้า
  เรียน สามารถจัดการเลือกสรรรายวิชาที่จะ
  เรียน มีบันทึกเกี่ยวกับเวลาและข้อมูลการเข้า
  เรียน และการทำารายงานผลให้กับระบบการ
  ศึกษาหรือการฝึกอบรมนั้นๆ
องค์ประกอบของระบบ LMS
• องค์ประกอบของ LMS ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ
   ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management) มี
  กลุ่มผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ผู้เรียน ผู้สอน
  และผู้บริหารระบบ ระบบการสร้างบทเรียน
   (Content Management) ระบบประกอบด้วย
  เครื่องมือในการช่วยสร้างเนื้อหา Content ระบบ
  การทดสอบและประเมินผล มีระบบคลังข้อสอบ
   ระบบส่งเสริมการเรียน ประกอบด้วย เครื่อง
  มือต่างๆ ที่ใช้สอสารระหว่าง ผู้เรียนกับผู้สอน
                  ื่
  และ ผู้เรียนกับผู้เรียน ได้แก่ เว็บบอร์ด และ
  ห้องสนทนา ระบบจัดการข้อมูล ประกอบด้วย
สรุปการใช้ระบบLMS
• Learning Management System หรือ LMS เป็น
  ระบบการจัดการเกี่ยวกับการบริหารการเรียน ในรูป
  แบบ e-Learning เพื่อจัดการกับการใช้คอร์สแวร์
  (Courseware) ในรายวิชาต่างๆ ระหว่างผู้สอน
  (Instructors) ผู้เรียน (Learners) เจ้าหน้าที่ทะเบียน
  (Registrator) และผูดูแลระบบ (Administrator) โดย
                        ้
  ออกแบบระบบเพื่อเป็นซอฟต์แวร์ที่ทำาหน้าที่
  บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ จะประกอบด้วย
  เครื่องมืออำานวยความสะดวก เช่น โปรแกรมจะทำา
  หน้าที่ ตรวจสอบการเข้ามาใช้บทเรียน เนือหา  ้
  กิจกรรมต่าง ๆ ตารางเรียน ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
  ห้องสนทนา กระดานถามตอบ การทำาแบบทดสอบ
  เป็นต้น และองค์ประกอบทีสำาคัญ คือ การเก็บ
                               ่
•   http://www.rajsima.ac.th/media/patchara/work41101-1/pa
•   http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/software/in
•   http://neenuntida.blogspot.com/2008/08/blog-post.html
•   http://www.edtechno.com/site/index.php?option=com_co
• 1.ข้อใดคือความหมายของซอฟต์แวร์
ก ชุดคำาสังหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์
          ่
    ทำางานตามลำาดับขั้นตอนการทำางานที่เขียนขึ้น
ข ด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์
  อุปกรณ์พื้นฐานที่จำาเป็นในการทำางานของ
ค คอมพิวเตอร์ที่มีการดำาเนินงานตามลำาดับขั้น
    ตอนเพื่อใช้ในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์
  การดำาเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบ
    คอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ
    แล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ
• 2.ซอฟต์แวร์แบ่งเป็นกี่ประเภท
ก • 2 ประเภท
ข • 3 ประเภท
ค
  • 4 ประเภท
• 3. ข้อใดคือหน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบ
ก ช่วยในการเก็บการเรียกค้นมาใช้งาน การทำา
ข รายงาน การสรุปผลจากข้อมูล
 เพื่อใช้งานทั่วไปทำาให้ทำางานได้สะดวกขึ้น ซึ่งผู้
ค ใช้เป็นผู้พฒนาขึ้นเองเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ
             ั
   การทำางานของตน
 ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก ใช้
   ในการจัดการหน่วยความจำา และใช้เป็นตัวเชือม  ่
   ต่อระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์
• 4. ภาษาเบสิก,ภาษาปาสคาล ,ภาษาซี, ภาษา
    โลโกเป็นซอฟท์แวร์ประเภทใด
ก ซอฟต์แวร์สำาเร็จ
ข ซอฟท์แวร์ระบบ
ค ซอฟต์แวร์ประยุกต์
• 5. ข้อใดคือซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการเก็บ การเรียก
    ค้นมาใช้งาน การทำารายงาน การสรุปผลจาก
ก   ข้อมูล
ข • ซอฟต์แวร์ประมวลคำา
ค • ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
  • ซอฟต์แวร์นำาเสนอ
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4niramon_gam
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้Bhisut Boonyen
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2peter dontoom
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศArm'Physics Sonsern-Srichai
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 

What's hot (16)

หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
System computer
System computerSystem computer
System computer
 
03 software
03 software03 software
03 software
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
 

Similar to งานนำเสนอบทที่6

ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8Yokyok' Nnp
 
ใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดNoot Ting Tong
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือโครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือkimaira99
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)Aungkana Na Na
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)JoyCe Zii Zii
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือSoldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือKaRn Tik Tok
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)JoyCe Zii Zii
 

Similar to งานนำเสนอบทที่6 (20)

ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
ใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปด
 
K8
K8K8
K8
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือโครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from amphaiboon

งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 

More from amphaiboon (20)

งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 

งานนำเสนอบทที่6

  • 1.
  • 2. 1.ความหมาย ความสำาคัญ ประเภท วามหมาย และความสำาคัญ ของซอฟท์แวร์ • ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงชุดคำาสั่งหรือ โปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำางานตามลำาดับ ขันตอนการทำางานที่เขียนขึนด้วยภาษาของ ้ ้ คอมพิวเตอร์ คำาสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ ทำางานตามคำาสั่ง การทำางานพื้นฐานเป็นเพียงการกระ ทำากับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึงใช้แทนข้อมูลที่ ่ เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูด ก็ได้
  • 3. ความหมาย และความสำาคัญ ของซอฟท์แวร์ • การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำางานให้กับเราได้อย่าง หลากหลาย เพราะมีซอฟต์แวร์ต่างๆ ช่วยสนับสนุนการ ทำางานเหล่านั้น เช่น ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ในการ จัดทำาบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษทขายตัวเครื่องบินใช้ ั ๋ คอมพิวเตอร์ชวยในระบบการจองตัว ธนาคารใช้ ่ ๋ คอมพิวเตอร์ชวยในการจัดการข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ ่ มากมาย ครูและนักเรียนใช้คอมพิวเตอร์ชวยในการจัด ่ พิมพ์เอกสาร ดังนั้นซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำาให้คอมพิวเตอร์ ทำางานได้ การที่คอมพิวเตอร์ดำาเนินการได้อย่างไรและก่อให้ เกิดประโยชน์ได้มากน้อยเพียงใดนั้นจึงขึนอยู่กับ ้ ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำาคัญของระบบ คอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่ สามารถทำางานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จำาเป็นและ
  • 5. ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่ง เป็น2ประเภท 1.ซอฟต์แวร์ ระบบ • คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ จัดการกับระบบ หน้าที่การทำางานของซอฟต์แวร์ ระบบคือดำาเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ แล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำา ข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำาออกไปยัง เครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบน หน่วยความจำารอง
  • 6. 2.ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ • เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความ ต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำามาใช้ประโยชน์ ได้โดยตรง ปัจจุบนมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งาน ั ทางด้านต่าง ๆ ออกจำาหน่ายมาก การประยุกต์ งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์สำาเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้น ใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำาเร็จในปัจจุบันมี มากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำา ซอฟต์แวร์ ตารางทำางาน ฯลฯ
  • 7. 1.ซอฟท์แวร์ระบบ • คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยความจำา และหน่วยประมวลผล ในการทำางานของ คอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องมีการดำาเนินงานกับอุปกรณ์พื้น ฐานที่จำาเป็น ดังนั้นจึงต้องมีซอฟต์แวร์ระบบเพื่อใช้ใน การจัดการระบบ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบ ด้วย • ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับการกดแป้นต่าง ๆ บนแผงแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษร ออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้า และส่งออกอืน ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์สังเคราะห์เสียง ่ • ใช้ในการจัดการหน่วยความจำา เพื่อนำาข้อมูลจากแผ่น บันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำาหลัก หรือในทำานองกลับ กัน คือนำาข้อมูลจากหน่วยความจำาหลักมาเก็บไว้ในแผ่น บันทึก •
  • 8. 1.ระบบ ปฏิบัติการ • ระบบปฏิบัติการ หรือทีเรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating ่ System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ นี้ ระบบปฏิบัตการทีนิยมใช้กนมากและเป็นทีรู้จักกันดีเช่นดอส ิ ่ ั ่ (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู (OS/2) ยูนกซ์ (UNIX) ิ
  • 9. หน้าทีของระบบ ่ ปฏิบัติการ • 1) ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานาน แล้ว การใช้งานจึงใช้คำาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็น ซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ ู้ • 2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัตการที่พัฒนาต่อจากดอส ิ เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทำางานหลายงาน พร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่อง หน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบ กราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชีตำาแหน่งเพื่อ ้ เลือกตำาแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทำาให้ใช้งาน คอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมใน ปัจจุบัน • 3) โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ส แต่บริษัทผูพัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติ ้ การที่ให้ผใช้สามารถใช้ทำางานได้หลายงานพร้อมกัน ู้ และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์
  • 10. 2.ตัวแปล ภาษา • 1) ภาษาปาสคาล เป็นภาษาสั่งงานคอมพิวเตอร์ที่ มีรปแบบเป็นโครงสร้าง เขียนสั่งงานคอมพิวเตอร์ ู เป็นกระบวนความ ผู้เขียนสามารถแบ่งแยกงานออก เป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วมารวมกันเป็นโปรแกรมขนาด ใหญ่ได้ • 2) ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่มีรปแบบคำาสั่งไม่ยุ่ง ู ยาก สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย มีรปแบบคำา ู สั่งพื้นฐานทีสามารถนำามาเขียนเรียงต่อกันเป็น ่ โปรแกรมได้ • 3) ภาษาซีี เป็นภาษาที่เหมาะสำาหรับใช้ในการ พัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ ภาษาซีเป็นภาษาทีมี ่ โครงสร้างคล่องตัวสำาหรับการเขียนโปรแกรมหรือ ให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับอุปกรณ์ตาง ๆ ่
  • 11. 2.ซอฟท์แวร์ประยุกต์ • การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาก้าวหน้า อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการที่มีคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก ทำาให้มีการใช้งานคล่องตัวขึ้น จนใน ปัจจุบันสามารถนำาคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ติดตัว ไปใช้งานในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก • การใช้งานคอมพิวเตอร์ตองมีซอฟท์แวร์ ้ ประยุกต์ ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์สำาเร็จที่มีผู้ พัฒนาเพื่อใช้งานทั่วไปทำาให้ทำางานได้สะดวก ขึ้น หรืออาจเป็นซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ซึ่งผู้ ใช้เป็นผู้พฒนาขึ้นเองเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ ั
  • 12.
  • 13. 1.ซอฟต์แวร์ สำาเร็จ • ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กันทั่วไป ซอฟต์แวร์สำาเร็จ (package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความ นิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์สำาเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่ บริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนำาออกมาจำาหน่าย เพื่อให้ผู้ ใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาในการ พัฒนาซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สำาเร็จทีมีจำาหน่าย ่ ในท้องตลาดทั่วไป และเป็นที่นิยมของผูใช้มี 5 ้ กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประมวลคำา (word processing software) ซอฟต์แวร์ตารางทำางาน (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จัดการฐาน ข้อมูล (data base management software) ซอฟต์แวร์นำาเสนอ (presentation software) และ
  • 14. • 1) ซอฟต์แวร์ประมวลคำา เป็นซอฟต์แวร์ ประยุกต์ใช้สำาหรับการพิมพ์เอกสาร สามารถ แก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้ อย่างดี เอกสารที่พิมพ์ไว้จัดเป็นแฟ้มข้อมูล เรียกมาพิมพ์หรือแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออก ทางเครื่องพิมพ์ก็มีรูปแบบตัวอักษรให้เลือก หลายรูปแบบ เอกสารจึงดูเรียบร้อยสวยงาม ปัจจุบันมีการเพิมขีดความสามารถของ ่ ซอฟต์แวร์ประมวลคำาอีกมากมาย ซอฟต์แวร์ ประมวลคำาที่นิยมอยู่ในปัจจุบน เช่น วินส์เวิร์ด ั
  • 15.
  • 16. ซอฟต์แวร์ประมวลคำามีคณสมบัตดเด่นหลาย ุ ิ ี ประการอาจสรุปได้ดงนี้ ั • 1) สามารถควบคุมสั่งจัดวางรูปแบบเอกสารได้ใหม่ตาม ต้องการ เช่น การกำาหนดจำานวนตัวอักษรในแต่ละ 2) ช่วยควบคุมให้แก้ไขดัดแปลงข้อความเป็นกลุ่ม คือ สามารถ สั่งทำาการลบ เคลือนย้าย หรือสำาเนาข้อความเป็นคำา ประโยคหรือ ่ ย่อหน้า จากตำาแหน่งหนึงไปยังตำาแหน่งอืนของเอกสารได้งาย ่ ่ ่ 3) สามารถควบคุมการแสดงตัวอักษรของข้อความที่อาจเป็น ตัวเข้ม ตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้ที่ตำาแหน่งต่าง ๆ ได้ อย่างอิสระ 4) เอกสารที่จัดเตรียมไว้สามารถทำาการจัดเก็บลงในเผ่น บันทึกในรูปของแฟ้มข้อมูล และสามารถเรียกแฟ้มนั้นออก จากแผ่นบันทึกกลับมาลงหน่วยความจำาของเครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อทำาการแก้ไขข้อความบนจอภาพได้ทันที 5) มีคำาสั่งในการเรียกค้นคำาหรือข้อความที่มอยู่ในเอกสารได้ ี อย่างรวดเร็ว ช่วยให้สามารถแก้ไขดัดแปลงได้สะดวกและ รวดเร็วขึ้น
  • 17. • 2) ซอฟต์แวร์ตารางทำางาน เป็นซอฟต์แวร์ที่ ช่วยในการคิดคำานวณ การทำางานของซอฟต์แวร์ ตารางทำางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทำางานที่ มีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครื่องมือคล้าย ปากกา ยางลบ และเครื่องคำานวณเตรียมไว้ให้ เสร็จ บนกระดาษมีชองให้ใส่ตวเลข ข้อความ ่ ั หรือสูตร สามารถสังให้คำานวณตามสูตรหรือ ่ เงือนไขที่กำาหนด ผู้ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทำางาน ่ สามารถประยุกต์ใช้งานประมวลผลตัวเลขอื่น ๆ ได้กว้างขวาง ซอฟต์แวร์ตารางทำางานที่นิยมใช้
  • 18.
  • 19. • 3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล การใช้ คอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งคือการใช้เก็บข้อมูล และ จัดการกับข้อมูลที่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ จึง จำาเป็นต้องมีซอฟต์แวร์จัดการข้อมูล การ รวบรวมข้อมูลหลาย ๆ เรื่องที่เกี่ยวข้องกันไว้ใน คอมพิวเตอร์ เราก็เรียกว่าฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์ จัดการฐานข้อมูลจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ชวยใน ่ การเก็บ การเรียกค้นมาใช้งาน การทำารายงาน การสรุปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐาน ข้อมูลที่นยมใช้ เช่น เอกเซส ดีเบส พาราด็อก ิ
  • 20.
  • 21. • 4) ซอฟต์แวร์นำาเสนอ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ สำาหรับนำาเสนอข้อมูล การแสดงผลต้องสามารถ ดึงดูดความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านี้จึงเป็น ซอฟต์แวร์ที่นอกจากสามารถแสดงข้อความใน ลักษณะที่จะสือความหมายได้ง่ายแล้วจะต้อง ่ สร้างแผนภูมิ กราฟ และรูปภาพได้ ตัวอย่างของ ซอฟต์แวร์นำาเสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ โลตัส ฟรีแลนซ์ ฮาร์วาร์ดกราฟิก
  • 22. • 5) ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์สื่อสาร ข้อมูลนี้หมายถึงซอฟต์แวร์ที่จะช่วยให้ไมโคร คอมพิวเตอร์ติดต่อสือสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ่ อื่นในที่ห่างไกล โดยผ่านทางสายโทรศัพท์ ซอฟต์แวร์สอสารใช้เชือมโยงต่อเข้ากับระบบ ื่ ่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำาให้ สามารถใช้บริการอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ สามารถใช้ รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้โอนย้ายแฟ้ม ข้อมูล ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูล อ่านข่าวสาร นอกจากนี้ยังใช้ในการเชือมเข้าหามินิ ่
  • 23. 2.ซอฟต์แวร์ใช้ งานเฉพาะ • การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สำาเร็จมักจะเน้นการใช้งาน ทัวไป แต่อาจจะนำามาประยุกต์โดยตรงกับงานทางธุรกิจบาง ่ อย่างไม่ได้ เช่นในกิจการธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งานทาง ด้านบัญชี หรือในห้างสรรพสินค้าก็มีงานการขายสินค้า การออก ใบเสร็จรับเงิน การควบคุมสินค้าคงคลัง ดังนันจึงต้องมีการ ้ พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะสำาหรับงานแต่ละประเภทให้ตรง กับความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย • ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ทผพัฒนาต้องเข้าไป ี่ ู้ ศึกษารูปแบบการทำางานหรือความต้องการของธุรกิจนัน ๆ แล้ว ้ จัดทำาขึ้น โดยทัวไปจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่วนรวมกันเพื่อ ่ ร่วมกันทำางาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะทีใช้กันในทางธุรกิจ เช่น ่ ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจำาหน่าย ระบบงานใน โรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเช่าซื้อ •
  • 24. • CAI (Computer-Assisted Instruction) เป็น ซอฟต์แวร์ที่ใช้เกี่ยวกับการศึกษาในเพิ่ม ประสิทธิภาพการสอนและการรับรูของผู้เรียนโดยใช้ ้ คอมพิวเตอร์เป็นตัวนำาเสนอเนื้อหา และกิจกรรม ของการเรียน โดยนำาเนื้อหาและลำาดับวิธีการสอน มาบันทึกเก็บไว้ และนำาเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม CAI สามารถนำามาใช้ในการฝึกทบทวน(Drill and Practice) แก้ปัญหา(Problem solving) จำาลอง สถานการณ์(Simulation) ค้นพบ(Discovery) ได้ ซอฟต์แวร์ CAI นั้นจะต้องถูกสร้างขึนมาตาม ้ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ โดยจะต้องมีเครื่องมือที่ ใช้ในการสร้างซอฟต์แวร์ CAI หลายๆ เครืองมือมา ่ ประกอบกัน เช่น โปรแกรมAuthorware, Toolbook ,
  • 25. • LMS เป็นระบบจัดการการเรียนการสอน ออนไลน์ หรือ e-Learning เป็นซอฟต์แวร์ที่ชวย ่ ในระบบจัดการห้องเรียนเสมือน ทำาให้สถาบัน การศึกษาหรือแหล่งจัดการเรียนสามารถให้ผู้ เรียนได้มี Login และ Password เพื่อมีสิทธิเข้า เรียน สามารถจัดการเลือกสรรรายวิชาที่จะ เรียน มีบันทึกเกี่ยวกับเวลาและข้อมูลการเข้า เรียน และการทำารายงานผลให้กับระบบการ ศึกษาหรือการฝึกอบรมนั้นๆ
  • 26. องค์ประกอบของระบบ LMS • องค์ประกอบของ LMS ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management) มี กลุ่มผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ผู้เรียน ผู้สอน และผู้บริหารระบบ ระบบการสร้างบทเรียน (Content Management) ระบบประกอบด้วย เครื่องมือในการช่วยสร้างเนื้อหา Content ระบบ การทดสอบและประเมินผล มีระบบคลังข้อสอบ ระบบส่งเสริมการเรียน ประกอบด้วย เครื่อง มือต่างๆ ที่ใช้สอสารระหว่าง ผู้เรียนกับผู้สอน ื่ และ ผู้เรียนกับผู้เรียน ได้แก่ เว็บบอร์ด และ ห้องสนทนา ระบบจัดการข้อมูล ประกอบด้วย
  • 27. สรุปการใช้ระบบLMS • Learning Management System หรือ LMS เป็น ระบบการจัดการเกี่ยวกับการบริหารการเรียน ในรูป แบบ e-Learning เพื่อจัดการกับการใช้คอร์สแวร์ (Courseware) ในรายวิชาต่างๆ ระหว่างผู้สอน (Instructors) ผู้เรียน (Learners) เจ้าหน้าที่ทะเบียน (Registrator) และผูดูแลระบบ (Administrator) โดย ้ ออกแบบระบบเพื่อเป็นซอฟต์แวร์ที่ทำาหน้าที่ บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ จะประกอบด้วย เครื่องมืออำานวยความสะดวก เช่น โปรแกรมจะทำา หน้าที่ ตรวจสอบการเข้ามาใช้บทเรียน เนือหา ้ กิจกรรมต่าง ๆ ตารางเรียน ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้องสนทนา กระดานถามตอบ การทำาแบบทดสอบ เป็นต้น และองค์ประกอบทีสำาคัญ คือ การเก็บ ่
  • 28. http://www.rajsima.ac.th/media/patchara/work41101-1/pa • http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/software/in • http://neenuntida.blogspot.com/2008/08/blog-post.html • http://www.edtechno.com/site/index.php?option=com_co
  • 29. • 1.ข้อใดคือความหมายของซอฟต์แวร์ ก ชุดคำาสังหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ ่ ทำางานตามลำาดับขั้นตอนการทำางานที่เขียนขึ้น ข ด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานที่จำาเป็นในการทำางานของ ค คอมพิวเตอร์ที่มีการดำาเนินงานตามลำาดับขั้น ตอนเพื่อใช้ในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ การดำาเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ แล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ
  • 30.
  • 31.
  • 32. • 2.ซอฟต์แวร์แบ่งเป็นกี่ประเภท ก • 2 ประเภท ข • 3 ประเภท ค • 4 ประเภท
  • 33.
  • 34.
  • 35. • 3. ข้อใดคือหน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบ ก ช่วยในการเก็บการเรียกค้นมาใช้งาน การทำา ข รายงาน การสรุปผลจากข้อมูล เพื่อใช้งานทั่วไปทำาให้ทำางานได้สะดวกขึ้น ซึ่งผู้ ค ใช้เป็นผู้พฒนาขึ้นเองเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ ั การทำางานของตน ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก ใช้ ในการจัดการหน่วยความจำา และใช้เป็นตัวเชือม ่ ต่อระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์
  • 36.
  • 37.
  • 38. • 4. ภาษาเบสิก,ภาษาปาสคาล ,ภาษาซี, ภาษา โลโกเป็นซอฟท์แวร์ประเภทใด ก ซอฟต์แวร์สำาเร็จ ข ซอฟท์แวร์ระบบ ค ซอฟต์แวร์ประยุกต์
  • 39.
  • 40.
  • 41. • 5. ข้อใดคือซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการเก็บ การเรียก ค้นมาใช้งาน การทำารายงาน การสรุปผลจาก ก ข้อมูล ข • ซอฟต์แวร์ประมวลคำา ค • ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล • ซอฟต์แวร์นำาเสนอ