SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่
ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่จะนามาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน
ระบบฐานข้อมูล จึงนับว่าเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ซึ่งผู้ใช้สามารถจัดการ
กับข้อมูลได้ในลักษณะต่าง ๆ ทั้งการเพิ่ม การแก้ไข การลบ ตลอดจนการเรียกดูข้อมูล
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการประยุกต์นาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการ
ฐานข้อมูล
ในอดีตได้มีการใช้ระบบแฟ้ มข้อมูลอย่างกว้างขวาง โดยที่แฟ้ มข้อมูลแต่ละแฟ้ มจะ
ประกอบด้วยกลุ่มของระเบียน (Records) ที่มีรูปแบบ (Format) เหมือนกัน และ
แต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่แทนของอย่างหนึ่ง (An instance or
occurrence) ในกลุ่มของของที่จัดเก็บนั้น
ตัวอย่างเช่น แฟ้ มข้อมูลลูกค้า (Customer file) หนึ่งระเบียนของแฟ้ ม จะเป็น
ข้อมูลของลูกค้า 1 คน (One instance) เป็นต้น การจัดการโดยระบบแฟ้ มข้อมูล
ส่วนใหญ่จะถูกใช้งานเฉพาะเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
บิท (Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด
ไบท์ (Byte) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่กิดจากการนาบิทมารวมกันเป็นตัวอักขระ (Character)
เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันแล้ว
ได้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ ที่อยู่ เป็นต้น
ระเบียน (Record) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อ
เกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
แฟ้ มข้อมูล (File) หมายถึงหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาข้อมูลหลาย ๆ ระเบียนที่เป็นเรื่องเดียวกันมา
รวมกัน เช่น แฟ้ มข้อมูลนักศึกษา แฟ้ มข้อมูลลูกค้า แฟ้ มข้อมูลพนักงาน
1. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบที่เป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชั่น
(Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือเป็นแถว (row) และเป็นคอลัมน์
(column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์
(attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นี้จะเป็นรูปแบบของฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)
ฐาน ข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการรวมระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะ
ต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดย
ระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันจะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์ใดแอททริ บิวต์หนึ่งเหมือนกัน
แต่ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดงความสัมพันธ์อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น
3. ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น (Hierarchical Database)
ฐาน ข้อมูลแบบลาดับชั้น เป็นโครงสร้างที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก
(Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบ
ต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขต
ข้อมูล (Field) ของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ
1. สามารถลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้
การ เก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่ ทาให้เกิดความซ้าซ้อน (Redundancy) ดังนั้นการนาข้อมูลมา
รวมเก็บไว้ในฐานข้อมูล จะชาวยลดปัญหาการเกิดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ โดยระบบจัดการฐานข้อมูล
(Database Management System : DBMS) จะช่วยควบคุมความซ้าซ้อนได้ เนื่องจาก
ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทราบได้ตลอดเวลาว่ามีข้อมูลซ้าซ้อนกันอยู่ ที่ใดบ้าง
2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้
หาก มีการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่และมีการปรับปรุงข้อมูลเดียวกันนี้แต่ปรับปรุงไม่ครบทุกที่ที่มี
ข้อมูลเก็บอยู่ก็จะทาให้เกิดปัญหาข้อมูลชนิด เดียวกัน อาจมีค่าไม่เหมือนกันในแต่ละที่ที่เก็บข้อมูลอยู่ จึง
ก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลขึ้น (Inconsistency)
3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
ฐานข้อมูลจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลรวมไว้ด้วย กัน ดังนั้นหากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลที่มา
จากแฟ้ มข้อมูลต่างๆ ก็จะทาได้โดยง่าย
4. สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล
บาง ครั้งพบว่าการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลอาจมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น เช่น จากการที่ผู้ป้ อนข้อมูล
ป้ อนข้อมูลผิดพลาดคือป้ อนจากตัวเลขหนึ่งไปเป็นอีก ตัวเลขหนึ่ง โดยเฉพาะกรณีมีผู้ใช้หลายคน
ต้องใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลร่วมกัน หากผู้ใช้คนใดคนหนึ่งแก้ไขข้อมูลผิดพลาดก็ทาให้ผู้อื่นได้รับ
ผลกระทบตามไป ด้วย ในระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) จะสามารถใส่กฎเกณฑ์เพื่อควบคุม
ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น
5. สามารถกาหนดความป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้
การเก็บข้อมูลร่วมกันไว้ในฐานข้อมูลจะทาให้ สามารถกาหนดมาตรฐานของข้อมูลได้รวมทั้ง
มาตรฐานต่าง ๆ ในการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันได้ เช่นการกาหนดรูปแบบการ
เขียนวันที่ ในลักษณะ วัน/เดือน/ปี หรือ ปี/เดือน/วัน ทั้งนี้จะมีผู้ที่คอยบริหารฐานข้อมูลที่เราเรียกว่า
ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) เป็นผู้กาหนดมาตรฐานต่างๆ
6. สามารถกาหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้
ระบบความปลอดภัยในที่นี้ เป็นการป้ องกันไม่ให้ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิมาใช้ หรือมาเห็นข้อมูลบางอย่างใน
ระบบ ผู้บริหารฐานข้อมูลจะสามารถกาหนดระดับการเรียกใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนได้ ตามความ
เหมาะสม
7. เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล
ในระบบฐานข้อมูลจะมีตัวจัดการฐานข้อมูลที่ ทาหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล โปรแกรมต่าง
ๆ อาจไม่จาเป็นต้องมีโครงสร้างข้อมูลทุกครั้ง ดังนั้นการแก้ไขข้อมูลบางครั้ง จึงอาจกระทาเฉพาะกับ
โปรแกรมที่เรียกใช้ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงเท่านั้น ส่วนโปรแกรมที่ไม่ได้เรียกใช้ข้อมูลดังกล่าว ก็จะเป็น
อิสระจากการเปลี่ยนแปลง
ด.ญ. จุฑารัตน์ คล้ายเจ๊ก เลขที่ 17
ด.ญ. นัดดา ทรัพย์สมบัติ เลขที่ 23
ด.ญ. วราทิพย์ ป้ องกัน เลขที่ 27
ด.ญ. วีรยา จันทร์มณี เลขที่ 30
ด.ญ. อุทุมพร เจริญผล เลขที่ 36
ม 2/3

More Related Content

What's hot

Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic newQoo Kratai
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7nunzaza
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nunzaza
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkitkit1974
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docxความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.DocxAhc Heinn
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศchayatorn sarathana
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic newQoo Kratai
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลYoshikuni Yuusuke
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลApirada Prayougsab
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26The'King NuZa
 

What's hot (19)

Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic new
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docxความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศ
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic new
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
 

Similar to ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลGatesiree G'ate
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
งาคอม
งาคอมงาคอม
งาคอมlookpair
 
Data processing
Data processingData processing
Data processingchukiat008
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1Ruttikan Munkhan
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 
Power point2
Power point2Power point2
Power point2056777777
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 

Similar to ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล (20)

Db1
Db1Db1
Db1
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
งาคอม
งาคอมงาคอม
งาคอม
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
Power point2
Power point2Power point2
Power point2
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล

  • 1.
  • 2. ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่จะนามาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล จึงนับว่าเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ซึ่งผู้ใช้สามารถจัดการ กับข้อมูลได้ในลักษณะต่าง ๆ ทั้งการเพิ่ม การแก้ไข การลบ ตลอดจนการเรียกดูข้อมูล ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการประยุกต์นาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการ ฐานข้อมูล
  • 3. ในอดีตได้มีการใช้ระบบแฟ้ มข้อมูลอย่างกว้างขวาง โดยที่แฟ้ มข้อมูลแต่ละแฟ้ มจะ ประกอบด้วยกลุ่มของระเบียน (Records) ที่มีรูปแบบ (Format) เหมือนกัน และ แต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่แทนของอย่างหนึ่ง (An instance or occurrence) ในกลุ่มของของที่จัดเก็บนั้น ตัวอย่างเช่น แฟ้ มข้อมูลลูกค้า (Customer file) หนึ่งระเบียนของแฟ้ ม จะเป็น ข้อมูลของลูกค้า 1 คน (One instance) เป็นต้น การจัดการโดยระบบแฟ้ มข้อมูล ส่วนใหญ่จะถูกใช้งานเฉพาะเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
  • 4. บิท (Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ไบท์ (Byte) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่กิดจากการนาบิทมารวมกันเป็นตัวอักขระ (Character) เขตข้อมูล (Field) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันแล้ว ได้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ ที่อยู่ เป็นต้น ระเบียน (Record) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อ เกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แฟ้ มข้อมูล (File) หมายถึงหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาข้อมูลหลาย ๆ ระเบียนที่เป็นเรื่องเดียวกันมา รวมกัน เช่น แฟ้ มข้อมูลนักศึกษา แฟ้ มข้อมูลลูกค้า แฟ้ มข้อมูลพนักงาน
  • 5. 1. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบที่เป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชั่น (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือเป็นแถว (row) และเป็นคอลัมน์ (column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบิวต์ (attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นี้จะเป็นรูปแบบของฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
  • 6. 2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) ฐาน ข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการรวมระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะ ต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดย ระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันจะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์ใดแอททริ บิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดงความสัมพันธ์อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น 3. ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น (Hierarchical Database) ฐาน ข้อมูลแบบลาดับชั้น เป็นโครงสร้างที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบ ต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขต ข้อมูล (Field) ของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ
  • 7. 1. สามารถลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ การ เก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่ ทาให้เกิดความซ้าซ้อน (Redundancy) ดังนั้นการนาข้อมูลมา รวมเก็บไว้ในฐานข้อมูล จะชาวยลดปัญหาการเกิดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ โดยระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) จะช่วยควบคุมความซ้าซ้อนได้ เนื่องจาก ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทราบได้ตลอดเวลาว่ามีข้อมูลซ้าซ้อนกันอยู่ ที่ใดบ้าง 2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ หาก มีการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่และมีการปรับปรุงข้อมูลเดียวกันนี้แต่ปรับปรุงไม่ครบทุกที่ที่มี ข้อมูลเก็บอยู่ก็จะทาให้เกิดปัญหาข้อมูลชนิด เดียวกัน อาจมีค่าไม่เหมือนกันในแต่ละที่ที่เก็บข้อมูลอยู่ จึง ก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูลขึ้น (Inconsistency)
  • 8. 3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ฐานข้อมูลจะเป็นการจัดเก็บข้อมูลรวมไว้ด้วย กัน ดังนั้นหากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลที่มา จากแฟ้ มข้อมูลต่างๆ ก็จะทาได้โดยง่าย 4. สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล บาง ครั้งพบว่าการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลอาจมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น เช่น จากการที่ผู้ป้ อนข้อมูล ป้ อนข้อมูลผิดพลาดคือป้ อนจากตัวเลขหนึ่งไปเป็นอีก ตัวเลขหนึ่ง โดยเฉพาะกรณีมีผู้ใช้หลายคน ต้องใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลร่วมกัน หากผู้ใช้คนใดคนหนึ่งแก้ไขข้อมูลผิดพลาดก็ทาให้ผู้อื่นได้รับ ผลกระทบตามไป ด้วย ในระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) จะสามารถใส่กฎเกณฑ์เพื่อควบคุม ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น
  • 9. 5. สามารถกาหนดความป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้ การเก็บข้อมูลร่วมกันไว้ในฐานข้อมูลจะทาให้ สามารถกาหนดมาตรฐานของข้อมูลได้รวมทั้ง มาตรฐานต่าง ๆ ในการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันได้ เช่นการกาหนดรูปแบบการ เขียนวันที่ ในลักษณะ วัน/เดือน/ปี หรือ ปี/เดือน/วัน ทั้งนี้จะมีผู้ที่คอยบริหารฐานข้อมูลที่เราเรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) เป็นผู้กาหนดมาตรฐานต่างๆ 6. สามารถกาหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ ระบบความปลอดภัยในที่นี้ เป็นการป้ องกันไม่ให้ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิมาใช้ หรือมาเห็นข้อมูลบางอย่างใน ระบบ ผู้บริหารฐานข้อมูลจะสามารถกาหนดระดับการเรียกใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนได้ ตามความ เหมาะสม
  • 10. 7. เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลจะมีตัวจัดการฐานข้อมูลที่ ทาหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล โปรแกรมต่าง ๆ อาจไม่จาเป็นต้องมีโครงสร้างข้อมูลทุกครั้ง ดังนั้นการแก้ไขข้อมูลบางครั้ง จึงอาจกระทาเฉพาะกับ โปรแกรมที่เรียกใช้ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงเท่านั้น ส่วนโปรแกรมที่ไม่ได้เรียกใช้ข้อมูลดังกล่าว ก็จะเป็น อิสระจากการเปลี่ยนแปลง
  • 11. ด.ญ. จุฑารัตน์ คล้ายเจ๊ก เลขที่ 17 ด.ญ. นัดดา ทรัพย์สมบัติ เลขที่ 23 ด.ญ. วราทิพย์ ป้ องกัน เลขที่ 27 ด.ญ. วีรยา จันทร์มณี เลขที่ 30 ด.ญ. อุทุมพร เจริญผล เลขที่ 36 ม 2/3