SlideShare a Scribd company logo
CHAPTER 1
ประวัติความเป็ นมาของการควบคุมคุณภาพ
1. ยุคเริ่มต้น (ยุคก่อนปี พ.ศ. 2483)
2. ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (ก่อนปี พ.ศ. 2485)
3. ยุคระหว่างและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2485-2503)
4. ยุคปัจจุบัน (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน)
1. ยุคเริ่มต้น
ยุคก่อนปี พ.ศ. 2483 ในยุคนั้นภาพพจน์ของประเทศญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นก็คือเป็นผู้ผลิตสินค้าชั้นเลว แต่ปัจจุบันนี้สินค้าที่ออกจาก
จากญี่ปุ่นกลับกลายเป็นสิ่งที่ทุกคนนิยมในความยอดเยี่ยมใน
ในเรื่ องคุณภาพ จึงมีผู้อยากรู้กันว่า อะไรกันที่ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างหน้ามือเป็นหลังมือขึ้นได้
สาเหตุหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงนี้ก็เนื่องมาจากการที่นาย
นายพล ดักลาส แม็คอาเธอร์ ผู้บัญชาการกองกาลังสหรัฐฯ
ที่มาประจาการในญี่ปุ่นตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผู้
มุ่งมั่นที่จะช่วยให้ชาวญี่ปุ่นสามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจและการเงิน
การเงินของประเทศให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้นั่นเอง
ยิ่งกว่านั้น แม็คอาเธอร์ยังรู้ดีว่าการที่ญี่ปุ่ นขาดแคลนแหล่ง
ทรัพยากรธรรมชาติ ทาให้ญี่ปุ่นต้องติดต่อค้าขายกับต่างชาติ
ต่างชาติ และยังรู้อีกว่า ภาพพจน์ของชาวญี่ปุ่นที่ว่า ชอบผลิต
ผลิตสินค้าชั้นเลว จะทาให้มีผู้ซื้อสินค้าญี่ปุ่นไม่กี่ราย
ความพยายามของแม็คอาเธอร์ได้รับ
ความร่วมมืออย่างดี จากผู้นารัฐบาลและ
นักธุรกิจและอุตสาหกรรมของญี่ปุ่ น
นอกจากนั้นแม็คอาเธอร์ยังได้รับความ
ช่วยเหลือจากชาวอเมริกันหลายท่าน
ทีเดียว เพื่อช่วยเหลือญี่ปุ่ นในการเพิ่ม
คุณภาพของสินค้า ซึ่งในบรรดานี้ก็มีคนๆ
หนึ่งชื่อ ดร.เอ็ดเวิร์ด ดับบริว เดมมิ่ง ผู้
ริเริ่มระบบ คิว.ซี.ทางสถิติ (SQC)
สาหรับชาวญี่ปุ่น ได้มาช่วยสอนวิชาการ
ควบคุมคุณภาพ โดยเน้นในการใช้สถิติ
เพื่อการควบคุมคุณภาพ (SQC) และ
ผลที่ได้รับก็คือ ชาวญี่ปุ่นยินยอมรับรู้และ
เรียนเทคนิคนี้อย่างตั้งอกตั้งใจ
2. ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (ก่อนปี พ.ศ.
2485)
-ในปี พ.ศ.2468-2474 ดร.ชิวฮาร์ด(Dr. W.A.
-ในปี พ.ศ.2468 เช่นเดียวกัน ดร.
ดอดจ์ (H.F. Dodge) ได้เสนอหลักการ
ชักตัวอย่าง เพื่อการยอมรับสินค้าหรือชิ้นงาน
และวิธีการสร้ างแผนชักตัวอย่าง โดย
กาหนดค่าความเสี่ยงของผู้บริโภคและความ
เสี่ยงของผู้ผลิต
-ในปี พ.ศ.2485 ได้มีกลุ่มผู้สนใจในงานการควบคุมคุณภาพรวมตัวกันเพื่อการ
จัดตั้งกลุ่มวิจัยทางสถิติ(The statistical Research Group) ที่
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย กลุ่มวิจัยนี้ได้ร่วมกันทางานวิจัยด้านการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ
โดยมีผลงานที่สาคัญๆ ประกอบด้วย
-ในปีพ.ศ.2488 การวิเคราะห์เชิงลาดับสาหรับข้อมูลทางสถิติการประยุกต์
(sequential analysis of statistical data applications)
- ในปีพ.ศ.2490 เทคนิคการวิเคราะห์ทางสถิติ (techniques of
statistical analysis)
- ในปีพ.ศ.2491 การตรวจสอบโดยวิธีชักตัวอย่าง (sampling inspection)
ยุคระหว่างและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2485-2503)
ในประเทศอเมริกา ในปี พ.ศ.2489 สมาคมและกลุ่มผู้ทางานเกี่ยวกับการควบคุม
คุณภาพได้รวมตัวกันก่อตั้งเป็ น สมาคมแห่งอเมริกาเพื่อการควบคุมคุณภาพ
(American Society for Quality Control) สมาคมแห่งนี้ได้รับมี
บทบาทอย่างสาคัญต่อการพัฒนาหลักการควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรมมาจวบจนยุค
ปัจจุบัน
ในประเทศญี่ปุ่น เดือนมีนาคม พ.ศ.2493 ได้มีการกาหนด มาตรฐานอุตสาหกรรม
ญี่ปุ่ น (JIS : Japanese Industrial Standards) ขึ้นภายใต้กฎหมาย
มาตรฐานอุตสาหรรมของประเทศญี่ปุ่น และได้เริ่มต้นปฏิบัติตามระบบ JIS ด้วยการ
ตรวจสอบการควบคุมคุณภาพตามบริษัทต่างๆในเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ.2493 ดร.เดมมิ่ง ผู้เชี่ยวชาญชาวอเมริกันในเรื่อง SQC
ได้รับเชิญจากสหภาพนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรแห่งประเทศญี่ปุ่น( Japanese
Union of Scientists and Engineers หรือ JUSE) ให้ไปบรรยาย
เรื่องวิธีการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ (SQC หรือ Statistical Quality
Control) ให้แก่ผู้บริหารระดับสูงของโรงงานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น หลักสูตรการบรรยาย 8
วันที่ดร.เดมิ่งได้ไปบรรยายไปนั้น โดยญี่ปุ่นได้รับมาใช้อย่างจริงจัง และได้กลายเป็นพื้นฐาน
ดร.เดมมิ่ง ได้ทานายว่า หลังจากที่ญี่ปุ่ นยอมรับหลักการ SQC นี้แล้ว ชาติ
ต่างๆในโลกก็มีหวังต้องกาหนดโควต้าสั่งสินค้าเข้า เพื่อจากัดการนาเข้าสินค้า
ญี่ปุ่ น ภายหลังระยะเวลา 5 ปี หลังจากนี้เท่านั้น เพราะสินค้าญี่ปุ่ นมีผู้ต้องการซื้อ
มากขึ้น
ในปี พ.ศ. 2494 ได้มีการกาหนดรางวัลยอดเยี่ยมให้แก่โรงงานที่มีผลงานด้าน
การควบคุมคุณภาพในประเทศญี่ปุ่น โดยให้ตั้งชื่อว่า รางวัลเดมมิ่ง ( Deming
prize ) เพื่อเป็นเกียรติแก่ ดร. เดมิ่ง
ในปี พ.ศ. 2497 ดร.เจ.เอ็ม.จูแรน (Dr.J.M.Juran) ได้รับเชิญเป็น
ผู้บรรยายในการสัมมนาเรื่อง การจัดการงานควบคุมคุณภาพ (QC
Management) ซึ่งจัดขึ้นโดย JUSE
ดร.เจ.เอ็ม.จูแรน ซึ่งก็เป็นอีกบุคคลผู้หนึ่งที่มีบทบาทอย่างสาคัญต่อการ
พัฒนาของการควบคุมคุณภาพในยุคปัจจุบัน ดร.จูแรน เป็นอีกบุคคลหนึ่งที่ได้รับ
การยกย่องว่า เป็นผู้อยู่เบื้องหลังความสาเร็จของอุตสาหกรรมญี่ปุ่น ผลงานของ
ดร. จูแรน มีมากมายทั้งบทความและหนังสือ เขาได้เน้นเสมอว่าการผลิตสินค้าที่มี
คุณภาพดี จะต้องเกิดจากการตระหนักถึงความสาคัญของคุณภาพสินค้าของ
ผู้บริหารระดับสูง การให้การศึกษาอบรมด้านคุณภาพสินค้าแก่คนงานทุกคนแม้ใน
ระดับปฏิบัติการ และการให้ความสาคัญในด้านคุณภาพสินค้าตั้งแต่ขั้นตอนการ
วิจัยตลาด การออกแบบสินค้า ความสัมพันธ์กับผู้ผลิต และจาหน่ายชิ้นส่วน การ
ผลิต การจัดส่ง และอื่นๆ และ ดร. จูแรน ได้ให้ข้อสังเกตว่า การบริหารคุณภาพ
ประกอบด้วย การวางแผนคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ และปรับปรุงคุณภาพ
ทั้งนี้เนื่องจากความต้องการของลูกค้ามีการเปลี่ยนแปลงจึงต้องมีการดาเนินการ
ทั้ง 3 ด้าน และมีการประกันคุณภาพ เพื่อให้ลูกค้ามีความมั่นใจ
ในประเทศญี่ปุ่นเองบุคคลหนึ่งที่ได้รับการยกย่องว่ามีบทบาทอย่างสาคัญต่อการพัฒนา
คุณภาพสินค้าของอุตสาหกรรมญี่ปุ่นคือ ศาสตราจารย์ ดร.คาโอรุ อิชิกาวา (Kaoru
Ishikawa) ซึ่งเริ่มเรียนรู้หลักการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติในปี พ.ศ.2493 และได้
พบกับ ดร.ชิวฮาร์ด ในปีพ.ศ.2501 เมื่อครั้งที่ไปเยือนเอทีแอนด์ที และห้องปฏิบัติการ
เบลล์ ดร.อิชิกาวา ได้เริ่มนาหลักการของแผนภูมิควบคุมมาสอนและประยุกต์ใช้ใน
อุตสาหกรรมญี่ปุ่นตั้งแต่ปี พ.ศ.2498 ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่ดร.อิชิกาวา คือ
แผนภูมิก้างปลาหรือแผนภูมิเหตุและผล เพื่อใช้ในการระดมความคิดเพื่อแก้ปัญหาด้าน
คุณภาพ
ยุคปัจจุบัน (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน)
นับแต่ทศวรรษที่ 2503 เป็นต้นมา อุตสาหกรรมในโลกเสรีได้รับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง เป็นผลทาให้เกิดสภาพการแข่งขันทางการตลาดที่เข้มข้น ตลอดจนการ
เกิดของประเทศผู้นาทางอุตสาหกรรมใหม่ เช่น ญี่ปุ่ น ฝรั่งเศส และเยอรมัน เป็นต้น
ก่อให้เกิดการแข่งขันด้านคุณภาพสินค้า การพัฒนาด้านเทคนิคและวิธีควบคุม
คุณภาพให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งหน่วยงานที่มีบทบาทอย่างสาคัญต่อการกาหนด
มาตรฐานและวิธีการควบคุมคุณภาพคือ กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้พิมพ์
เผยแพร่มาตรฐานการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ที่เรียกว่า มาตรฐานทางการ
ทหาร(Military standard) สาหรับมาตรฐานทางการทหารส่วนใหญ่ จะ
ได้รับการยอมรับให้กาหนดเป็นมาตรฐานANSI (American National
Standard Institute) อย่างไรก็ตามกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ก็ยังคง
ดาเนินกิจกรรมด้านการควบคุมคุณภาพโดยประสานงานร่วมมือกับกลุ่มประเทศต่างๆ
เช่น กลุ่ม ABCAที่ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ แคนาดา ออสเตรเลีย และ
กลุ่มประเทศแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต NATO
ช่วงปี พ.ศ.2504-2505 นี้ได้เกิดกลุ่ม QCC (Quality Control
Circle) ซึ่งจัดได้ว่าเป็นระบบงานที่ดีเด่นมากระบบหนึ่งของการบริหารที่มีชื่อของญี่ปุ่น
กิจกรรมควบคุมคุณภาพจึงแพร่หลายไปยังประเทศต่างๆทั่วโลก
ในปัจจุบันหลักการและแนวคิดด้านการควบคุมคุณภาพ มิได้
เน้นเฉพาะด้านเทคนิคหรือวิธีการควบคุมคุณภาพแต่เพียงอย่าง
เดียว แต่ยังได้เน้นถึงในด้านการประสานงาน และความร่วมมือ
ระหว่างหน่วยงานทุกหน่วยในองค์การตลอดจนมีการเสริมสร้าง
ทักษะและความเข้าใจด้านคุณภาพสินค้าให้แก่บุคคลากรทุกระดับ
ซึ่ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด นี้ เ อ . วี . เ ฟ เ ก น บ า ม ( A.V.
Feigenbaum) จาก บริษัท General Electric
ของอเมริกัน เสนอไว้ในหนังสือที่เขาเขียนขึ้นมาตั้งแต่ปี
พ.ศ.2504 ชื่อว่า การควบคุมคุณภาพสมบูรณ์แบบ หรือ การ
บริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (Total Quality Control
: TQC) ซึ่งแนวความคิดนี้ได้รับการยอมรับ และนาไปปฏิบัติ
อย่างจริงจังในประเทศญี่ปุ่น จนทาให้สินค้าจากประเทศญี่ปุ่นมี
จึงอาจกล่าวได้ว่ากิจการใดมีการบริหาร โดยยึดคุณภาพเป็นเป้ าหมายรวม เป็น
แกนกลาง เรียกว่ามีการบริหารระบบ TQC หรือการบริหารทั่วทั้งองค์การ ทั้งนี้
เนื่องจากหลังสงครามโลกครั้งที่2 เริ่มแรกนั้นญี่ปุ่นใช้ SQC (Statistical
Quality Control) แล้วก็เกิดกลุ่ม QCC (Quality Control
Circle) ขึ้น ทั้ง SQC และ QCC ได้มีการพัฒนาตัวเองตลอดในช่วง 40 กว่า
ปีมานี้ตลอดเวลาที่ผ่านมาต้องประสพกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆมากมาย แต่ก็ได้
แก้ไขเรื่อยมาจนกระทั่งพบว่า บทบาทของผู้บริหารระดับสูงที่จาเป็ นต้องมีในกิจกรรม
QC เป็นสิ่งสาคัญที่มักจะถูกมองข้าม จนทาให้เป็ นอุปสรรคอันเป็นปัญหาของ
กิจกรรม QC ขึ้น และปัญหานี้ก็ได้เกิดขึ้นในญี่ปุ่นมาแล้ว หนทางแก้ไขก็คือ การเน้น
บทบาทและเอาใจใส่ต่อกิจกรรมQC ของผู้บริหารระดับสูงให้มากขึ้น ซึ่งนี่ก็คือหนึ่ง
ในที่มาของ TQC ในประเทศญี่ปุ่น อันเป็นวิวัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของ QCC
TQC ของญี่ปุ่นนี้มีแนวทางการปฏิบัติที่แตกต่างจาก TQC ของ ดร.ไฟเกน
บาวน์ คือ QC จะต้องดาเนินการโดยพนักงานทุกคนทั่วทั้งองค์การ ไม่ใช่แค่
ผู้เชี่ยวชาญ QC เท่านั้น ดังนั้นเพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ญี่ปุ่นจึงเรียก TQC แบบ
ญี่ปุ่นว่า Company Wide Quality Control (CWQC)แม้ว่า
สหรัฐอเมริกาจะเป็นต้นกาเนิดของ QC หรือ TQC แต่เมื่อเห็นว่าวิธีการของญี่ปุ่น
ใช้ได้ผลดี จึงพยายามนาแนวทาง TQC แบบญี่ปุ่นกลับมาใช้ในอเมริกา และตั้งชื่อ
ใหม่ว่า Total Quality Management (TQM)( ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า
คาว่า QC ในอดีตนั้นหมายถึง SQC แต่ปัจจุบันนี้QC หมายถึง TQC
CWQC และ TQM )
บุคคลอีกท่านหนึ่งในยุคปัจจุบันที่ได้รับการยก
ย่องว่ามีบทบาทในการกระตุ้นให้องค์กรตระหนักใน
เรื่องคุณภาพสินค้าคือ ดร.ฟิ ล ครอสบี (Phil
Crosby) อดีตรองประธานกรรมการและ
กรรมการด้านคุณภาพของบริษัท ไอทีที (ITT) แห่ง
สหรัฐอเมริกา จากประสบการณ์อันยาวนานกว่า 25
ปี ของ ดร.ครอสบี เขาได้เขียนหนังสือที่สาคัญไว้ 2
เล่มคือ Quality Is Free และ Quality
Without Tears ในปี พ.ศ.2522 และ
พ.ศ.2528 ตามลาดับของ ดร.ครอสบี เน้นให้เห็น
ว่าคุณภาพ สินค้าที่ดี สามารถได้มาโดยไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จ่าย และไม่ยากลาบากอะไรเลย ถ้าเพียงแต่
ผู้บริหารทุกระดับจะเอาใจใส่และมีมาตรการในการ
ควบคุมอย่างจริงจัง
สรุปได้ว่า
ญี่ปุ่ นประสบความสาเร็จอย่างสูง เพราะไม่มีประเทศอื่นใดเลยที่สนใจกันใน
เรื่องนี้ และด้วยความพยายามอย่างสูงของญี่ปุ่ น ทุกวันนี้ชื่อเสียงในด้าน
คุณภาพสินค้าของญี่ปุ่ น กลายเป็ นสิ่งที่ใครๆ พากันอิจฉาและยกย่องกันทั่ว
โลก ซึ่งมีหลายคนที่รู้สึกว่าญี่ปุ่ นได้พิชิตความเป็ นผู้นาด้านคุณภาพก่อนปี
2523 เสียด้วยซ้า
งานมอบหมาย
รายงานวิชาการบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม
กลุ่มที่ 1 รายงานเรื่อง “ISO 9001”
กลุ่มที่ 2 รายงานเรื่อง “ISO 14000/14001”
กลุ่มที่ 3 รายงานเรื่อง “การบริหารการผลิต”
กลุ่มที่ 4 รายงานเรื่อง “การประกันคุณภาพการศึกษา”
กลุ่มที่ 5 รายงานเรื่อง “กิจกรรม 5 ส”
กลุ่มที่ 6 รายงานเรื่อง “Re-engineering”
ให้นักศึกษาทารายงาน พร้อมทั้งเตรียมนาเสนอรายงาน ตามปฏิทินนี้
8 มี.ค. 58 สอบกลางภาค
15 มี.ค. 58 นาเสนอรายงาน กลุ่มที่ 1, 2 และ 3
22 มี.ค. 58 นาเสนอรายงาน กลุ่มที่ 4, 5 และ 6
ให้นักศึกษา ส่งรายงาน(รูปเล่ม) ก่อนนาเสนอ 1 สัปดาห์

More Related Content

What's hot

ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
Twatchai Tangutairuang
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
Ornkapat Bualom
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
Prakob Chantarakamnerd
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมApichaya Savetvijit
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
kkrunuch
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
อาบูญาลีละฮ์ บินอับดุลฆอนีย์
 
Pop oui
Pop ouiPop oui
Pop oui
Oui Nuchanart
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
คน ขี้เล่า
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
JiruttiPommeChuaikho
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 

What's hot (20)

ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
Pop oui
Pop ouiPop oui
Pop oui
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 

Chapter 1 ประวัติความเป็นมาในการควบคุมคุณภาพ

  • 1. CHAPTER 1 ประวัติความเป็ นมาของการควบคุมคุณภาพ 1. ยุคเริ่มต้น (ยุคก่อนปี พ.ศ. 2483) 2. ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (ก่อนปี พ.ศ. 2485) 3. ยุคระหว่างและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2485-2503) 4. ยุคปัจจุบัน (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน)
  • 2. 1. ยุคเริ่มต้น ยุคก่อนปี พ.ศ. 2483 ในยุคนั้นภาพพจน์ของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่นก็คือเป็นผู้ผลิตสินค้าชั้นเลว แต่ปัจจุบันนี้สินค้าที่ออกจาก จากญี่ปุ่นกลับกลายเป็นสิ่งที่ทุกคนนิยมในความยอดเยี่ยมใน ในเรื่ องคุณภาพ จึงมีผู้อยากรู้กันว่า อะไรกันที่ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างหน้ามือเป็นหลังมือขึ้นได้ สาเหตุหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงนี้ก็เนื่องมาจากการที่นาย นายพล ดักลาส แม็คอาเธอร์ ผู้บัญชาการกองกาลังสหรัฐฯ ที่มาประจาการในญี่ปุ่นตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผู้ มุ่งมั่นที่จะช่วยให้ชาวญี่ปุ่นสามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจและการเงิน การเงินของประเทศให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้นั่นเอง ยิ่งกว่านั้น แม็คอาเธอร์ยังรู้ดีว่าการที่ญี่ปุ่ นขาดแคลนแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติ ทาให้ญี่ปุ่นต้องติดต่อค้าขายกับต่างชาติ ต่างชาติ และยังรู้อีกว่า ภาพพจน์ของชาวญี่ปุ่นที่ว่า ชอบผลิต ผลิตสินค้าชั้นเลว จะทาให้มีผู้ซื้อสินค้าญี่ปุ่นไม่กี่ราย
  • 3. ความพยายามของแม็คอาเธอร์ได้รับ ความร่วมมืออย่างดี จากผู้นารัฐบาลและ นักธุรกิจและอุตสาหกรรมของญี่ปุ่ น นอกจากนั้นแม็คอาเธอร์ยังได้รับความ ช่วยเหลือจากชาวอเมริกันหลายท่าน ทีเดียว เพื่อช่วยเหลือญี่ปุ่ นในการเพิ่ม คุณภาพของสินค้า ซึ่งในบรรดานี้ก็มีคนๆ หนึ่งชื่อ ดร.เอ็ดเวิร์ด ดับบริว เดมมิ่ง ผู้ ริเริ่มระบบ คิว.ซี.ทางสถิติ (SQC) สาหรับชาวญี่ปุ่น ได้มาช่วยสอนวิชาการ ควบคุมคุณภาพ โดยเน้นในการใช้สถิติ เพื่อการควบคุมคุณภาพ (SQC) และ ผลที่ได้รับก็คือ ชาวญี่ปุ่นยินยอมรับรู้และ เรียนเทคนิคนี้อย่างตั้งอกตั้งใจ
  • 4. 2. ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 (ก่อนปี พ.ศ. 2485) -ในปี พ.ศ.2468-2474 ดร.ชิวฮาร์ด(Dr. W.A.
  • 5. -ในปี พ.ศ.2468 เช่นเดียวกัน ดร. ดอดจ์ (H.F. Dodge) ได้เสนอหลักการ ชักตัวอย่าง เพื่อการยอมรับสินค้าหรือชิ้นงาน และวิธีการสร้ างแผนชักตัวอย่าง โดย กาหนดค่าความเสี่ยงของผู้บริโภคและความ เสี่ยงของผู้ผลิต -ในปี พ.ศ.2485 ได้มีกลุ่มผู้สนใจในงานการควบคุมคุณภาพรวมตัวกันเพื่อการ จัดตั้งกลุ่มวิจัยทางสถิติ(The statistical Research Group) ที่ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย กลุ่มวิจัยนี้ได้ร่วมกันทางานวิจัยด้านการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ โดยมีผลงานที่สาคัญๆ ประกอบด้วย -ในปีพ.ศ.2488 การวิเคราะห์เชิงลาดับสาหรับข้อมูลทางสถิติการประยุกต์ (sequential analysis of statistical data applications) - ในปีพ.ศ.2490 เทคนิคการวิเคราะห์ทางสถิติ (techniques of statistical analysis) - ในปีพ.ศ.2491 การตรวจสอบโดยวิธีชักตัวอย่าง (sampling inspection)
  • 6. ยุคระหว่างและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2485-2503) ในประเทศอเมริกา ในปี พ.ศ.2489 สมาคมและกลุ่มผู้ทางานเกี่ยวกับการควบคุม คุณภาพได้รวมตัวกันก่อตั้งเป็ น สมาคมแห่งอเมริกาเพื่อการควบคุมคุณภาพ (American Society for Quality Control) สมาคมแห่งนี้ได้รับมี บทบาทอย่างสาคัญต่อการพัฒนาหลักการควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรมมาจวบจนยุค ปัจจุบัน ในประเทศญี่ปุ่น เดือนมีนาคม พ.ศ.2493 ได้มีการกาหนด มาตรฐานอุตสาหกรรม ญี่ปุ่ น (JIS : Japanese Industrial Standards) ขึ้นภายใต้กฎหมาย มาตรฐานอุตสาหรรมของประเทศญี่ปุ่น และได้เริ่มต้นปฏิบัติตามระบบ JIS ด้วยการ ตรวจสอบการควบคุมคุณภาพตามบริษัทต่างๆในเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ.2493 ดร.เดมมิ่ง ผู้เชี่ยวชาญชาวอเมริกันในเรื่อง SQC ได้รับเชิญจากสหภาพนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรแห่งประเทศญี่ปุ่น( Japanese Union of Scientists and Engineers หรือ JUSE) ให้ไปบรรยาย เรื่องวิธีการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ (SQC หรือ Statistical Quality Control) ให้แก่ผู้บริหารระดับสูงของโรงงานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น หลักสูตรการบรรยาย 8 วันที่ดร.เดมิ่งได้ไปบรรยายไปนั้น โดยญี่ปุ่นได้รับมาใช้อย่างจริงจัง และได้กลายเป็นพื้นฐาน
  • 7. ดร.เดมมิ่ง ได้ทานายว่า หลังจากที่ญี่ปุ่ นยอมรับหลักการ SQC นี้แล้ว ชาติ ต่างๆในโลกก็มีหวังต้องกาหนดโควต้าสั่งสินค้าเข้า เพื่อจากัดการนาเข้าสินค้า ญี่ปุ่ น ภายหลังระยะเวลา 5 ปี หลังจากนี้เท่านั้น เพราะสินค้าญี่ปุ่ นมีผู้ต้องการซื้อ มากขึ้น ในปี พ.ศ. 2494 ได้มีการกาหนดรางวัลยอดเยี่ยมให้แก่โรงงานที่มีผลงานด้าน การควบคุมคุณภาพในประเทศญี่ปุ่น โดยให้ตั้งชื่อว่า รางวัลเดมมิ่ง ( Deming prize ) เพื่อเป็นเกียรติแก่ ดร. เดมิ่ง ในปี พ.ศ. 2497 ดร.เจ.เอ็ม.จูแรน (Dr.J.M.Juran) ได้รับเชิญเป็น ผู้บรรยายในการสัมมนาเรื่อง การจัดการงานควบคุมคุณภาพ (QC Management) ซึ่งจัดขึ้นโดย JUSE
  • 8. ดร.เจ.เอ็ม.จูแรน ซึ่งก็เป็นอีกบุคคลผู้หนึ่งที่มีบทบาทอย่างสาคัญต่อการ พัฒนาของการควบคุมคุณภาพในยุคปัจจุบัน ดร.จูแรน เป็นอีกบุคคลหนึ่งที่ได้รับ การยกย่องว่า เป็นผู้อยู่เบื้องหลังความสาเร็จของอุตสาหกรรมญี่ปุ่น ผลงานของ ดร. จูแรน มีมากมายทั้งบทความและหนังสือ เขาได้เน้นเสมอว่าการผลิตสินค้าที่มี คุณภาพดี จะต้องเกิดจากการตระหนักถึงความสาคัญของคุณภาพสินค้าของ ผู้บริหารระดับสูง การให้การศึกษาอบรมด้านคุณภาพสินค้าแก่คนงานทุกคนแม้ใน ระดับปฏิบัติการ และการให้ความสาคัญในด้านคุณภาพสินค้าตั้งแต่ขั้นตอนการ วิจัยตลาด การออกแบบสินค้า ความสัมพันธ์กับผู้ผลิต และจาหน่ายชิ้นส่วน การ ผลิต การจัดส่ง และอื่นๆ และ ดร. จูแรน ได้ให้ข้อสังเกตว่า การบริหารคุณภาพ ประกอบด้วย การวางแผนคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ และปรับปรุงคุณภาพ ทั้งนี้เนื่องจากความต้องการของลูกค้ามีการเปลี่ยนแปลงจึงต้องมีการดาเนินการ ทั้ง 3 ด้าน และมีการประกันคุณภาพ เพื่อให้ลูกค้ามีความมั่นใจ
  • 9. ในประเทศญี่ปุ่นเองบุคคลหนึ่งที่ได้รับการยกย่องว่ามีบทบาทอย่างสาคัญต่อการพัฒนา คุณภาพสินค้าของอุตสาหกรรมญี่ปุ่นคือ ศาสตราจารย์ ดร.คาโอรุ อิชิกาวา (Kaoru Ishikawa) ซึ่งเริ่มเรียนรู้หลักการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติในปี พ.ศ.2493 และได้ พบกับ ดร.ชิวฮาร์ด ในปีพ.ศ.2501 เมื่อครั้งที่ไปเยือนเอทีแอนด์ที และห้องปฏิบัติการ เบลล์ ดร.อิชิกาวา ได้เริ่มนาหลักการของแผนภูมิควบคุมมาสอนและประยุกต์ใช้ใน อุตสาหกรรมญี่ปุ่นตั้งแต่ปี พ.ศ.2498 ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่ดร.อิชิกาวา คือ แผนภูมิก้างปลาหรือแผนภูมิเหตุและผล เพื่อใช้ในการระดมความคิดเพื่อแก้ปัญหาด้าน คุณภาพ
  • 10. ยุคปัจจุบัน (พ.ศ.2503-ปัจจุบัน) นับแต่ทศวรรษที่ 2503 เป็นต้นมา อุตสาหกรรมในโลกเสรีได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง เป็นผลทาให้เกิดสภาพการแข่งขันทางการตลาดที่เข้มข้น ตลอดจนการ เกิดของประเทศผู้นาทางอุตสาหกรรมใหม่ เช่น ญี่ปุ่ น ฝรั่งเศส และเยอรมัน เป็นต้น ก่อให้เกิดการแข่งขันด้านคุณภาพสินค้า การพัฒนาด้านเทคนิคและวิธีควบคุม คุณภาพให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งหน่วยงานที่มีบทบาทอย่างสาคัญต่อการกาหนด มาตรฐานและวิธีการควบคุมคุณภาพคือ กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้พิมพ์ เผยแพร่มาตรฐานการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ที่เรียกว่า มาตรฐานทางการ ทหาร(Military standard) สาหรับมาตรฐานทางการทหารส่วนใหญ่ จะ ได้รับการยอมรับให้กาหนดเป็นมาตรฐานANSI (American National Standard Institute) อย่างไรก็ตามกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ก็ยังคง ดาเนินกิจกรรมด้านการควบคุมคุณภาพโดยประสานงานร่วมมือกับกลุ่มประเทศต่างๆ เช่น กลุ่ม ABCAที่ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ แคนาดา ออสเตรเลีย และ กลุ่มประเทศแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต NATO
  • 11. ช่วงปี พ.ศ.2504-2505 นี้ได้เกิดกลุ่ม QCC (Quality Control Circle) ซึ่งจัดได้ว่าเป็นระบบงานที่ดีเด่นมากระบบหนึ่งของการบริหารที่มีชื่อของญี่ปุ่น กิจกรรมควบคุมคุณภาพจึงแพร่หลายไปยังประเทศต่างๆทั่วโลก ในปัจจุบันหลักการและแนวคิดด้านการควบคุมคุณภาพ มิได้ เน้นเฉพาะด้านเทคนิคหรือวิธีการควบคุมคุณภาพแต่เพียงอย่าง เดียว แต่ยังได้เน้นถึงในด้านการประสานงาน และความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานทุกหน่วยในองค์การตลอดจนมีการเสริมสร้าง ทักษะและความเข้าใจด้านคุณภาพสินค้าให้แก่บุคคลากรทุกระดับ ซึ่ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด นี้ เ อ . วี . เ ฟ เ ก น บ า ม ( A.V. Feigenbaum) จาก บริษัท General Electric ของอเมริกัน เสนอไว้ในหนังสือที่เขาเขียนขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2504 ชื่อว่า การควบคุมคุณภาพสมบูรณ์แบบ หรือ การ บริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (Total Quality Control : TQC) ซึ่งแนวความคิดนี้ได้รับการยอมรับ และนาไปปฏิบัติ อย่างจริงจังในประเทศญี่ปุ่น จนทาให้สินค้าจากประเทศญี่ปุ่นมี
  • 12. จึงอาจกล่าวได้ว่ากิจการใดมีการบริหาร โดยยึดคุณภาพเป็นเป้ าหมายรวม เป็น แกนกลาง เรียกว่ามีการบริหารระบบ TQC หรือการบริหารทั่วทั้งองค์การ ทั้งนี้ เนื่องจากหลังสงครามโลกครั้งที่2 เริ่มแรกนั้นญี่ปุ่นใช้ SQC (Statistical Quality Control) แล้วก็เกิดกลุ่ม QCC (Quality Control Circle) ขึ้น ทั้ง SQC และ QCC ได้มีการพัฒนาตัวเองตลอดในช่วง 40 กว่า ปีมานี้ตลอดเวลาที่ผ่านมาต้องประสพกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆมากมาย แต่ก็ได้ แก้ไขเรื่อยมาจนกระทั่งพบว่า บทบาทของผู้บริหารระดับสูงที่จาเป็ นต้องมีในกิจกรรม QC เป็นสิ่งสาคัญที่มักจะถูกมองข้าม จนทาให้เป็ นอุปสรรคอันเป็นปัญหาของ กิจกรรม QC ขึ้น และปัญหานี้ก็ได้เกิดขึ้นในญี่ปุ่นมาแล้ว หนทางแก้ไขก็คือ การเน้น บทบาทและเอาใจใส่ต่อกิจกรรมQC ของผู้บริหารระดับสูงให้มากขึ้น ซึ่งนี่ก็คือหนึ่ง ในที่มาของ TQC ในประเทศญี่ปุ่น อันเป็นวิวัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของ QCC
  • 13. TQC ของญี่ปุ่นนี้มีแนวทางการปฏิบัติที่แตกต่างจาก TQC ของ ดร.ไฟเกน บาวน์ คือ QC จะต้องดาเนินการโดยพนักงานทุกคนทั่วทั้งองค์การ ไม่ใช่แค่ ผู้เชี่ยวชาญ QC เท่านั้น ดังนั้นเพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ญี่ปุ่นจึงเรียก TQC แบบ ญี่ปุ่นว่า Company Wide Quality Control (CWQC)แม้ว่า สหรัฐอเมริกาจะเป็นต้นกาเนิดของ QC หรือ TQC แต่เมื่อเห็นว่าวิธีการของญี่ปุ่น ใช้ได้ผลดี จึงพยายามนาแนวทาง TQC แบบญี่ปุ่นกลับมาใช้ในอเมริกา และตั้งชื่อ ใหม่ว่า Total Quality Management (TQM)( ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า คาว่า QC ในอดีตนั้นหมายถึง SQC แต่ปัจจุบันนี้QC หมายถึง TQC CWQC และ TQM )
  • 14. บุคคลอีกท่านหนึ่งในยุคปัจจุบันที่ได้รับการยก ย่องว่ามีบทบาทในการกระตุ้นให้องค์กรตระหนักใน เรื่องคุณภาพสินค้าคือ ดร.ฟิ ล ครอสบี (Phil Crosby) อดีตรองประธานกรรมการและ กรรมการด้านคุณภาพของบริษัท ไอทีที (ITT) แห่ง สหรัฐอเมริกา จากประสบการณ์อันยาวนานกว่า 25 ปี ของ ดร.ครอสบี เขาได้เขียนหนังสือที่สาคัญไว้ 2 เล่มคือ Quality Is Free และ Quality Without Tears ในปี พ.ศ.2522 และ พ.ศ.2528 ตามลาดับของ ดร.ครอสบี เน้นให้เห็น ว่าคุณภาพ สินค้าที่ดี สามารถได้มาโดยไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่าย และไม่ยากลาบากอะไรเลย ถ้าเพียงแต่ ผู้บริหารทุกระดับจะเอาใจใส่และมีมาตรการในการ ควบคุมอย่างจริงจัง
  • 15. สรุปได้ว่า ญี่ปุ่ นประสบความสาเร็จอย่างสูง เพราะไม่มีประเทศอื่นใดเลยที่สนใจกันใน เรื่องนี้ และด้วยความพยายามอย่างสูงของญี่ปุ่ น ทุกวันนี้ชื่อเสียงในด้าน คุณภาพสินค้าของญี่ปุ่ น กลายเป็ นสิ่งที่ใครๆ พากันอิจฉาและยกย่องกันทั่ว โลก ซึ่งมีหลายคนที่รู้สึกว่าญี่ปุ่ นได้พิชิตความเป็ นผู้นาด้านคุณภาพก่อนปี 2523 เสียด้วยซ้า
  • 16. งานมอบหมาย รายงานวิชาการบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม กลุ่มที่ 1 รายงานเรื่อง “ISO 9001” กลุ่มที่ 2 รายงานเรื่อง “ISO 14000/14001” กลุ่มที่ 3 รายงานเรื่อง “การบริหารการผลิต” กลุ่มที่ 4 รายงานเรื่อง “การประกันคุณภาพการศึกษา” กลุ่มที่ 5 รายงานเรื่อง “กิจกรรม 5 ส” กลุ่มที่ 6 รายงานเรื่อง “Re-engineering”
  • 17. ให้นักศึกษาทารายงาน พร้อมทั้งเตรียมนาเสนอรายงาน ตามปฏิทินนี้ 8 มี.ค. 58 สอบกลางภาค 15 มี.ค. 58 นาเสนอรายงาน กลุ่มที่ 1, 2 และ 3 22 มี.ค. 58 นาเสนอรายงาน กลุ่มที่ 4, 5 และ 6 ให้นักศึกษา ส่งรายงาน(รูปเล่ม) ก่อนนาเสนอ 1 สัปดาห์