SlideShare a Scribd company logo
การลาเลียงสารอาหารของพืช
       (CONDUCTION)
 จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ
1.สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับ
กระบวนการลาเลียงสารอาหารของพืช
2.สืบค้นข้อมูล และอภิปรายเกี่ยวกับชนิดของ
สารอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
การลาเลียงสารอาหารของพืช ประกอบด้วยธาตุต่าง ๆ ที่พืช
สามารถนาไปใช้ในการดารงชีวิต เนื่องจากน้าเป็นตัวทาละลาย
ที่ดี ดังนั้นน้าที่พืชดูดเข้าไปใช้จึงไม่ใช่น้าบริสุทธิ์ เนื่องจากน้าที่
อยู่ในดินย่อมต้องละลายแร่ธาตุต่าง ๆ ปะปนเข้าไปด้วย
การที่แร่ธาตุต่าง ๆ จะผ่านเข้าไปในเซลล์ได้ จะต้องผ่านจากผนัง
เซลล์เข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน
(Selective permeable membrane) การลาเลียง
แร่ธาตุต่าง ๆ ที่ละลายเป็นไอออน แล้วเข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์ ไม่
สามารถผ่านได้โดยอิสระ การลาเลียงแร่ธาตุจึงมีความซับซ้อน
มากกว่าการลาเลียงน้าที่เกิดโดยวิธี ออสโมซิส(osmosis)
การลาเลียงสารอาหารของพืช เกิดโดยวิธีการดังนี้
 1. การลาเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน(Passive transport)
  เป็นการลาเลียงสารอาหารหรือแร่ธาตุ จากบริเวณที่ที่มีความ
  เข้มข้นมากกว่าไปยังบริเวณที่ที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า โดยไม่
  ต้องใช้พลังงาน ซึ่งอาศัยหลักของการแพร่ (Diffusion)
  จนกว่าความเข้มข้นของสาร สองบริเวณนี้เท่ากัน
2. การลาเลียงแบบใช้พลังงาน (Active transport) เป็นการ
   ลาเลียงสารหรือแร่ธาตุ จากบริเวณที่ทีมีความเข้มข้นน้อยกว่า
   หรือเจือจางกว่าไปยังบริเวณที่ที่มีความเข้มข้นมากกว่า โดยเป็น
   การลาเลียงที่ต่อต้านกับความเข้มข้นของสาร ดังนั้นวิธีนี้จึงต้อง
   อาศัยพลังงานจาก ATP ช่วย ซึ่งเป็นวิธีที่รากและลาต้นจะมี
   โอกาสสะสมแร่ธาตุต่าง ๆ ไว้ได้ ทาให้พืชดูดแร่ธาตุจากภายนอก
   เข้ามาได้ทั้ง ๆ ที่ความเข้มข้นของแร่ธาตุชนิดนั้นภายในเซลล์มี
   มากกว่าภายนอกเซลล์แล้วก็ตาม ทาให้พืชสามารถลาเลียงแร่
   ธาตุที่ต้องการได้ เมื่อแร่ธาตุผ่านเข้าสู่รากแล้ว จะถูกลาเลียง
   ต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืชทางไซเลมพร้อม ๆ กับการลาเลียงน้า
นอกจากนี้พืชที่ปลูกในดินที่มีสภาพโปร่ง รากจะได้รับแก๊ส
ออกซิเจนมาก ดูดน้าและแร่ธาตุได้เพิ่มขึ้น พืชจึงเจริญเติบโตได้ดี
การได้รับแก๊สออกซิเจนของราก มีความสัมพันธ์กับการดูดแร่ธาตุ
ของราก คือ ออกซิเจนที่รากได้รับจากดิน ถูกนาไปใช้ใน
กระบวนการเมแทบอลิซึมของเซลล์ราก ในกรณีที่ออกซิเจนในดิน
น้อย อัตราเมแทบอลิซึมของเซลล์ราก จะน้อยลงด้วย ถ้าพลังงาน
จาก ATP ที่มีความจาเป็นต่อกระบวนการ แอกทีฟทรานสปอร์ต
เกิดขึ้นน้อย การลาเลียงสารโดยกระบวนการนี้จะไม่สามารถดาเนิน
ต่อไปได้ ปริมาณการดูดแร่ธาตุเข้าสู่เซลล์รากจะลดลง
เมื่อพืชนาแร่ธาตุต่าง ๆ เข้าไปในลาต้นแล้ว พืชจะนาไปใช้ในการ
เจริญเติบโตและด้านอื่น ๆ ดังนี้
1. เป็นส่วนประกอบของโครงสร้าง(สารอินทรีย์ภายในพืช) ได้แก่
   C, H, O, N และ S เช่น การสร้างสารเซลลูโลสโดยใช้ C
   ส่วนที่ใช้สร้างโปรตีน คือ N
2. ในกระบวนการเมแทบอลิซึม เช่น การสร้างพลังงานจาก ATP
   โดย P การสร้างส่วนประกอบของคลอโรฟิลล์ โดย Mg
3. กระตุ้นการทางานของเอนไซม์ ได้แก่ Cu, Fe, Zn, Mn และ
   Cl
4. ควบคุมแรงดันออสโมติก ทาให้เซลล์เต่ง เช่น ในเซลล์คุมของใบ
   ต้องการ K
หนังสือเรียนหน้า 50


มีการแบ่งสารอาหารของพืชออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
1. ธาตุอาหารหลัก(macronutrients) เป็นสารอาหารที่
     พืชต้องการในปริมาณมาก
2. สารอาหารรอง(micronutrients) เป็นสารอาหารที่พืช
     ต้องการในปริมาณน้อย


หนังสือเรียนหน้า 51- 55
ธาตุ                      หน้าที่ของธาตุ
ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ โปรตีน เอนไซม์
           และวิตามินหลายชนิด ช่วยให้พืชเจริญเติบโตทางด้าน
           ใบ ลาต้น หัว ฯลฯ
ฟอสฟอรัส เป็นองค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก ฟอสโฟลิพิด ATP
           และโคเอนไซม์หลายชนิด ช่วยเร่งการออกดอกและ
           สร้างเมล็ด
โพแทสเซียม ไม่เป็นองค์ประกอบของสารใดๆ ในพืชแต่ไปทา
           หน้าที่กระตุ้นการทางานของเอนไซม์หลายชนิดที่
           เกี่ยวข้องกับการสร้างแป้ง น้าตาล และโปรตีน ควบคุม
           การปิดเปิดของปากใบ และเกี่ยวข้องกับกระบวนการ
           สร้างโปรตีน
ธาตุ                       หน้าที่ของธาตุ
แคลเซียม เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ จาเป็นสาหรับ
           กระบวนการแบ่งเซลล์ การเพิ่มขนาดของเซลล์และช่วย
           กระตุ้นการทางานของเอนไซม์บางชนิด
แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ กระตุ้นการทางาน
           ของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
           แสง การหายใจ การสังเคราะห์โปรตีน
กามะถัน เป็นองค์ประกอบของสารโปรตีนบางชนิด วิตามิน B1
           และสารที่ระเหยได้บางชนิดในพืชช่วยเพิ่มปริมาณ
           น้ามันในพืช เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์
A. ใบส้มที่ขาดไนโตรเจน มีสีเหลืองทาง
ใบ
B. ใบส้มที่ขาดไนโตรเจน แสดงอาการที่
ใบแก่ก่อนใบอ่อน
C. ผลส้มด้านขวาขาดฟอสฟอรัสทาให้
เปลือกหนา และมีช่องว่าง
แกนกลาง
D. ใบส้มที่ขาดโพแทสเซียม มีสีเหลืองที่
ปลายใบ แสดงอาการที่ใบแก่ก่อน
E. ใบส้มที่ขาดแคลเซียม แสดงอาการ
สูญเสียคลอโรฟิลล์ เส้นใบ
ขอบใบเหลืองซีด ใบเล็กลงและหนาขึ้น
F. ใบส้มที่ขาดแมกนีเซียมใบเหลืองซีด
และมีสีเขียวเหลืออยู่เป็นรูปตัวV
A. ใบส้มที่ขาดธาตุเหล็ก
แสดงอาการใบสีซีด
B. ใบส้มที่ขาดธาตุสังกะสี มีสีเขียวเป็น
ปื้นเส้นกลางใบและเส้นใบมี
สีเหลืองอ่อน
C. ใบส้มที่ขาดธาตุแมงกานีส
 ใบอ่อนมีสีจาง เส้นใบมีสีเขียว
D.ใบส้มที่ขาดธาตุโบรอน แสดงอาการ
ตายปลายยอด ปลายใบจะม้วนลง
E. ใบส้มที่ขาดธาตุทองแดง แสดง
อาการใบใหญ่ผิดปกติ
F. ใบส้มที่ขาดธาตุโมลิบดีนัม แสดง
อาการใบเหลืองเป็นวงใหญ่ระหว่าง
เส้นใบ
จากความรู้เรื่องคุณสมบัติต่าง ๆ ของธาตุและประโยชน์ที่มี
ต่อพืช รวมทั้งการเกิดปัญหาการขาดแคลนที่ดินในการเพาะปลูก
คือ การปลูกพืชไฮโดรพอนิกส์ (Hydroponic culture)
เป็นการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ด้วยการปลูกพืชในสารละลาย
ที่มีแร่ธาตุต่างๆ ที่พืชต้องการ และยังสามารถเติมเฉพาะธาตุแต่ละ
ชนิดที่พืชต้องการในปริมาณที่เหมาะสมได้อีกด้วย
สิ่งสาคัญที่ต้องระวังในการปลูกพืชด้วยวิธีนี้คือ pH ของ
สารละลายที่ไม่คงที่ หลังจากแช่รากพืชไว้ในสารละลายนานพอควร
pH ของสารละลายจะเพิ่มจากเดิมที่แรกปลูก pH อยู่ที่ 5
เนื่องจากพืชสามารถดูดสารที่มีประจุลบ เช่น NO3- PO43-
SO42- ได้ดีกว่าสารที่มีประจุบวก ได้แก่ K+ Mg + และ Ca+
จากนั้นพืชจะปล่อย OH- ออกมาแทนที่สารประจุลบที่พืชดูดเข้าไป
สารละลายจึงมีสภาพเป็นเบส เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ pH จึงมีค่าสูงขึ้น
ดังนั้นการปลูกพืชในสารละลายจึงจาเป็นต้องมีวิธีการป้องกันไม่ให้
ค่า pH เปลี่ยนไป หรือถ้าเปลี่ยนไปก็ให้เปลี่ยนได้น้อยมาก ด้วย
การเติมกรด
ตัวอย่างปุ๋ยผสม สูตร 16-16-16
ตัวอย่างปุ๋ย
  อินทรีย์

                    ตัวอย่างปุ๋ยชีวภาพ

               pH
จุลินทรีย์ที่นำมำใช้ในกำรผลิตปุ๋ยชีวภำพ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่
ได้แก่
• จุลินทรีย์ที่ตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศ ตัวอย่างของ
แบคทีเรีย ได้แก่ ไรโซเบียม (Rhizobium) อะโซโตแบคเตอร์
(Azotobacter) คลอสตริเดียม (Clostridium) เป็นต้น
ส่วนตัวอย่างสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน ได้แก่ แอนาบีนา
(Anabaena) นอสตอก (Nostoc) ออสซิลลาทอเรีย
(Oscillatoria) แคโลทริกซ์ (Calothrix) เป็นต้น
จุลินทรียทุกตัวที่กล่าวถึง มีเอนไซม์ไนโตรจีเนส(Nitrogenase)
          ์
ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่สามารถเปลี่ยนแก๊สไนโตรเจนให้เป็นสารประกอบ
ไนโตรเจน (NH+4 , NO3-)
 ซึ่งพืช สามารถนาไปใช้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไรโซเบียม
(Rhizobium) ที่เป็นแบคทีเรียอยู่ในปมรากถั่วนั้นมี
ความสามารถในการตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้ดี โดยอยู่ร่วมกับ
รากพืชตระกูลถั่วแบบพึ่งพาการใช้ไรโซเบียม ทาปุ๋ยชีวภาพ ทาได้
โดยการนา แบคทีเรียไรโซเบียม คลุกเมล็ดก่อนปลูก
• จุลินทรียที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงฟอสฟอรัสที่อยู่ใน
             ์
ดินให้เป็นประโยชน์กับพืช เนื่องจากพืชไม่สามารถได้ P อย่าง
พอเพียงทั้ง ๆ ที่ดินบริเวณนั้นไม่ขาด P เพราะฟอสฟอรัสจะถูกตรึง
เอาไว้ในดิน แต่มีราไมโคไรซา (Mycorrhiza) อาศัยอยู่กับราก
พืชโดยอยู่กันแบบพึ่งพา คือ ราจะช่วยย่อยสลายแร่ธาตุที่เป็น
สารประกอบในดินบริเวณใกล้ราก โดยเฉพาะ P ที่ถูกตรึงเอาไว้ใน
ดิน จนพืชไม่สามารถนาไปใช้ได้ จะถูกราไมโคไรซา ปล่อยเอนไซม์
ออกมาย่อยสลายจนพืชนาไปใช้ได้ ส่วนประโยชน์ที่ราจะได้รับจาก
พืช คือ น้าตาล กรดอะมิโน และสารอื่น ๆ จากรากพืช
การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการเพาะปลูกนั้น ทาให้ดินร่วนซุย ราก
 พืช จึงชอนไชเข้าไปในดินได้ดี ไม่ทาให้สภาพแวดล้อมของดิน
 เสีย เพราะปุ๋ยอินทรีย์ย่อยสลายได้ง่าย จึงไม่มีสารพิษตกค้าง
 อยู่ในดิน
    ข้อเสีย ของการใช้ปุ๋ยชีวภาพที่เป็นจุลินทรียซึ่งมีชีวิต คือ
                                                   ์
 สภาวะแวดล้อมของดินต้องไม่มีสารเคมีหรือยาฆ่าแมลง และมี
 ปัจจัยอื่น ๆ ที่เอื้อต่อการมีชีวิต จึงจะใช้ปุ๋ยชีวภาพได้ผลดี
      การใช้ปุ๋ยเคมีไปนาน ๆ จะทาให้เกิดการสะสมสารเคมี ดิน
จับตัวกันแข็งกว่าปกติ ทาให้อากาศในดินถ่ายเทได้ไม่ดี และ
น้าซึมช้า รากชอนไชได้ยาก พืชจึงเจริญเติบโตไม่ดี
การลำเลียงสารอาหารของพืช

More Related Content

What's hot

สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
Thanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
Thitaree Samphao
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
Min Minho
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
Pinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 

Similar to การลำเลียงสารอาหารของพืช

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaRn Tik Tok
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัยwiyadanam
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4
arunrat bamrungchit
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Wichai Likitponrak
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
Wichai Likitponrak
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชchunkidtid
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารBank Kitsana
 
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน IS
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน ISการศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน IS
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน IS
RusPateepawanit
 

Similar to การลำเลียงสารอาหารของพืช (20)

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4
 
Biology Chapter10
Biology Chapter10 Biology Chapter10
Biology Chapter10
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
 
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน IS
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน ISการศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน IS
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน IS
 

More from Anana Anana

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงAnana Anana
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisAnana Anana
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 

More from Anana Anana (14)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

การลำเลียงสารอาหารของพืช

  • 1. การลาเลียงสารอาหารของพืช (CONDUCTION) จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1.สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับ กระบวนการลาเลียงสารอาหารของพืช 2.สืบค้นข้อมูล และอภิปรายเกี่ยวกับชนิดของ สารอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
  • 2. การลาเลียงสารอาหารของพืช ประกอบด้วยธาตุต่าง ๆ ที่พืช สามารถนาไปใช้ในการดารงชีวิต เนื่องจากน้าเป็นตัวทาละลาย ที่ดี ดังนั้นน้าที่พืชดูดเข้าไปใช้จึงไม่ใช่น้าบริสุทธิ์ เนื่องจากน้าที่ อยู่ในดินย่อมต้องละลายแร่ธาตุต่าง ๆ ปะปนเข้าไปด้วย การที่แร่ธาตุต่าง ๆ จะผ่านเข้าไปในเซลล์ได้ จะต้องผ่านจากผนัง เซลล์เข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน (Selective permeable membrane) การลาเลียง แร่ธาตุต่าง ๆ ที่ละลายเป็นไอออน แล้วเข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์ ไม่ สามารถผ่านได้โดยอิสระ การลาเลียงแร่ธาตุจึงมีความซับซ้อน มากกว่าการลาเลียงน้าที่เกิดโดยวิธี ออสโมซิส(osmosis)
  • 3. การลาเลียงสารอาหารของพืช เกิดโดยวิธีการดังนี้ 1. การลาเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน(Passive transport) เป็นการลาเลียงสารอาหารหรือแร่ธาตุ จากบริเวณที่ที่มีความ เข้มข้นมากกว่าไปยังบริเวณที่ที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า โดยไม่ ต้องใช้พลังงาน ซึ่งอาศัยหลักของการแพร่ (Diffusion) จนกว่าความเข้มข้นของสาร สองบริเวณนี้เท่ากัน
  • 4. 2. การลาเลียงแบบใช้พลังงาน (Active transport) เป็นการ ลาเลียงสารหรือแร่ธาตุ จากบริเวณที่ทีมีความเข้มข้นน้อยกว่า หรือเจือจางกว่าไปยังบริเวณที่ที่มีความเข้มข้นมากกว่า โดยเป็น การลาเลียงที่ต่อต้านกับความเข้มข้นของสาร ดังนั้นวิธีนี้จึงต้อง อาศัยพลังงานจาก ATP ช่วย ซึ่งเป็นวิธีที่รากและลาต้นจะมี โอกาสสะสมแร่ธาตุต่าง ๆ ไว้ได้ ทาให้พืชดูดแร่ธาตุจากภายนอก เข้ามาได้ทั้ง ๆ ที่ความเข้มข้นของแร่ธาตุชนิดนั้นภายในเซลล์มี มากกว่าภายนอกเซลล์แล้วก็ตาม ทาให้พืชสามารถลาเลียงแร่ ธาตุที่ต้องการได้ เมื่อแร่ธาตุผ่านเข้าสู่รากแล้ว จะถูกลาเลียง ต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืชทางไซเลมพร้อม ๆ กับการลาเลียงน้า
  • 5.
  • 6. นอกจากนี้พืชที่ปลูกในดินที่มีสภาพโปร่ง รากจะได้รับแก๊ส ออกซิเจนมาก ดูดน้าและแร่ธาตุได้เพิ่มขึ้น พืชจึงเจริญเติบโตได้ดี การได้รับแก๊สออกซิเจนของราก มีความสัมพันธ์กับการดูดแร่ธาตุ ของราก คือ ออกซิเจนที่รากได้รับจากดิน ถูกนาไปใช้ใน กระบวนการเมแทบอลิซึมของเซลล์ราก ในกรณีที่ออกซิเจนในดิน น้อย อัตราเมแทบอลิซึมของเซลล์ราก จะน้อยลงด้วย ถ้าพลังงาน จาก ATP ที่มีความจาเป็นต่อกระบวนการ แอกทีฟทรานสปอร์ต เกิดขึ้นน้อย การลาเลียงสารโดยกระบวนการนี้จะไม่สามารถดาเนิน ต่อไปได้ ปริมาณการดูดแร่ธาตุเข้าสู่เซลล์รากจะลดลง
  • 7. เมื่อพืชนาแร่ธาตุต่าง ๆ เข้าไปในลาต้นแล้ว พืชจะนาไปใช้ในการ เจริญเติบโตและด้านอื่น ๆ ดังนี้ 1. เป็นส่วนประกอบของโครงสร้าง(สารอินทรีย์ภายในพืช) ได้แก่ C, H, O, N และ S เช่น การสร้างสารเซลลูโลสโดยใช้ C ส่วนที่ใช้สร้างโปรตีน คือ N 2. ในกระบวนการเมแทบอลิซึม เช่น การสร้างพลังงานจาก ATP โดย P การสร้างส่วนประกอบของคลอโรฟิลล์ โดย Mg 3. กระตุ้นการทางานของเอนไซม์ ได้แก่ Cu, Fe, Zn, Mn และ Cl 4. ควบคุมแรงดันออสโมติก ทาให้เซลล์เต่ง เช่น ในเซลล์คุมของใบ ต้องการ K
  • 8. หนังสือเรียนหน้า 50 มีการแบ่งสารอาหารของพืชออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. ธาตุอาหารหลัก(macronutrients) เป็นสารอาหารที่ พืชต้องการในปริมาณมาก 2. สารอาหารรอง(micronutrients) เป็นสารอาหารที่พืช ต้องการในปริมาณน้อย หนังสือเรียนหน้า 51- 55
  • 9. ธาตุ หน้าที่ของธาตุ ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ โปรตีน เอนไซม์ และวิตามินหลายชนิด ช่วยให้พืชเจริญเติบโตทางด้าน ใบ ลาต้น หัว ฯลฯ ฟอสฟอรัส เป็นองค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก ฟอสโฟลิพิด ATP และโคเอนไซม์หลายชนิด ช่วยเร่งการออกดอกและ สร้างเมล็ด โพแทสเซียม ไม่เป็นองค์ประกอบของสารใดๆ ในพืชแต่ไปทา หน้าที่กระตุ้นการทางานของเอนไซม์หลายชนิดที่ เกี่ยวข้องกับการสร้างแป้ง น้าตาล และโปรตีน ควบคุม การปิดเปิดของปากใบ และเกี่ยวข้องกับกระบวนการ สร้างโปรตีน
  • 10. ธาตุ หน้าที่ของธาตุ แคลเซียม เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ จาเป็นสาหรับ กระบวนการแบ่งเซลล์ การเพิ่มขนาดของเซลล์และช่วย กระตุ้นการทางานของเอนไซม์บางชนิด แมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ กระตุ้นการทางาน ของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสง การหายใจ การสังเคราะห์โปรตีน กามะถัน เป็นองค์ประกอบของสารโปรตีนบางชนิด วิตามิน B1 และสารที่ระเหยได้บางชนิดในพืชช่วยเพิ่มปริมาณ น้ามันในพืช เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์
  • 11. A. ใบส้มที่ขาดไนโตรเจน มีสีเหลืองทาง ใบ B. ใบส้มที่ขาดไนโตรเจน แสดงอาการที่ ใบแก่ก่อนใบอ่อน C. ผลส้มด้านขวาขาดฟอสฟอรัสทาให้ เปลือกหนา และมีช่องว่าง แกนกลาง D. ใบส้มที่ขาดโพแทสเซียม มีสีเหลืองที่ ปลายใบ แสดงอาการที่ใบแก่ก่อน E. ใบส้มที่ขาดแคลเซียม แสดงอาการ สูญเสียคลอโรฟิลล์ เส้นใบ ขอบใบเหลืองซีด ใบเล็กลงและหนาขึ้น F. ใบส้มที่ขาดแมกนีเซียมใบเหลืองซีด และมีสีเขียวเหลืออยู่เป็นรูปตัวV
  • 12. A. ใบส้มที่ขาดธาตุเหล็ก แสดงอาการใบสีซีด B. ใบส้มที่ขาดธาตุสังกะสี มีสีเขียวเป็น ปื้นเส้นกลางใบและเส้นใบมี สีเหลืองอ่อน C. ใบส้มที่ขาดธาตุแมงกานีส ใบอ่อนมีสีจาง เส้นใบมีสีเขียว D.ใบส้มที่ขาดธาตุโบรอน แสดงอาการ ตายปลายยอด ปลายใบจะม้วนลง E. ใบส้มที่ขาดธาตุทองแดง แสดง อาการใบใหญ่ผิดปกติ F. ใบส้มที่ขาดธาตุโมลิบดีนัม แสดง อาการใบเหลืองเป็นวงใหญ่ระหว่าง เส้นใบ
  • 13.
  • 14.
  • 15. จากความรู้เรื่องคุณสมบัติต่าง ๆ ของธาตุและประโยชน์ที่มี ต่อพืช รวมทั้งการเกิดปัญหาการขาดแคลนที่ดินในการเพาะปลูก คือ การปลูกพืชไฮโดรพอนิกส์ (Hydroponic culture) เป็นการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ด้วยการปลูกพืชในสารละลาย ที่มีแร่ธาตุต่างๆ ที่พืชต้องการ และยังสามารถเติมเฉพาะธาตุแต่ละ ชนิดที่พืชต้องการในปริมาณที่เหมาะสมได้อีกด้วย
  • 16.
  • 17. สิ่งสาคัญที่ต้องระวังในการปลูกพืชด้วยวิธีนี้คือ pH ของ สารละลายที่ไม่คงที่ หลังจากแช่รากพืชไว้ในสารละลายนานพอควร pH ของสารละลายจะเพิ่มจากเดิมที่แรกปลูก pH อยู่ที่ 5 เนื่องจากพืชสามารถดูดสารที่มีประจุลบ เช่น NO3- PO43- SO42- ได้ดีกว่าสารที่มีประจุบวก ได้แก่ K+ Mg + และ Ca+ จากนั้นพืชจะปล่อย OH- ออกมาแทนที่สารประจุลบที่พืชดูดเข้าไป สารละลายจึงมีสภาพเป็นเบส เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ pH จึงมีค่าสูงขึ้น ดังนั้นการปลูกพืชในสารละลายจึงจาเป็นต้องมีวิธีการป้องกันไม่ให้ ค่า pH เปลี่ยนไป หรือถ้าเปลี่ยนไปก็ให้เปลี่ยนได้น้อยมาก ด้วย การเติมกรด
  • 19. ตัวอย่างปุ๋ย อินทรีย์ ตัวอย่างปุ๋ยชีวภาพ pH
  • 20. จุลินทรีย์ที่นำมำใช้ในกำรผลิตปุ๋ยชีวภำพ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ • จุลินทรีย์ที่ตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศ ตัวอย่างของ แบคทีเรีย ได้แก่ ไรโซเบียม (Rhizobium) อะโซโตแบคเตอร์ (Azotobacter) คลอสตริเดียม (Clostridium) เป็นต้น ส่วนตัวอย่างสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน ได้แก่ แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) ออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria) แคโลทริกซ์ (Calothrix) เป็นต้น
  • 21. จุลินทรียทุกตัวที่กล่าวถึง มีเอนไซม์ไนโตรจีเนส(Nitrogenase) ์ ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่สามารถเปลี่ยนแก๊สไนโตรเจนให้เป็นสารประกอบ ไนโตรเจน (NH+4 , NO3-) ซึ่งพืช สามารถนาไปใช้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไรโซเบียม (Rhizobium) ที่เป็นแบคทีเรียอยู่ในปมรากถั่วนั้นมี ความสามารถในการตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้ดี โดยอยู่ร่วมกับ รากพืชตระกูลถั่วแบบพึ่งพาการใช้ไรโซเบียม ทาปุ๋ยชีวภาพ ทาได้ โดยการนา แบคทีเรียไรโซเบียม คลุกเมล็ดก่อนปลูก
  • 22.
  • 23.
  • 24. • จุลินทรียที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงฟอสฟอรัสที่อยู่ใน ์ ดินให้เป็นประโยชน์กับพืช เนื่องจากพืชไม่สามารถได้ P อย่าง พอเพียงทั้ง ๆ ที่ดินบริเวณนั้นไม่ขาด P เพราะฟอสฟอรัสจะถูกตรึง เอาไว้ในดิน แต่มีราไมโคไรซา (Mycorrhiza) อาศัยอยู่กับราก พืชโดยอยู่กันแบบพึ่งพา คือ ราจะช่วยย่อยสลายแร่ธาตุที่เป็น สารประกอบในดินบริเวณใกล้ราก โดยเฉพาะ P ที่ถูกตรึงเอาไว้ใน ดิน จนพืชไม่สามารถนาไปใช้ได้ จะถูกราไมโคไรซา ปล่อยเอนไซม์ ออกมาย่อยสลายจนพืชนาไปใช้ได้ ส่วนประโยชน์ที่ราจะได้รับจาก พืช คือ น้าตาล กรดอะมิโน และสารอื่น ๆ จากรากพืช
  • 25. การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการเพาะปลูกนั้น ทาให้ดินร่วนซุย ราก พืช จึงชอนไชเข้าไปในดินได้ดี ไม่ทาให้สภาพแวดล้อมของดิน เสีย เพราะปุ๋ยอินทรีย์ย่อยสลายได้ง่าย จึงไม่มีสารพิษตกค้าง อยู่ในดิน ข้อเสีย ของการใช้ปุ๋ยชีวภาพที่เป็นจุลินทรียซึ่งมีชีวิต คือ ์ สภาวะแวดล้อมของดินต้องไม่มีสารเคมีหรือยาฆ่าแมลง และมี ปัจจัยอื่น ๆ ที่เอื้อต่อการมีชีวิต จึงจะใช้ปุ๋ยชีวภาพได้ผลดี การใช้ปุ๋ยเคมีไปนาน ๆ จะทาให้เกิดการสะสมสารเคมี ดิน จับตัวกันแข็งกว่าปกติ ทาให้อากาศในดินถ่ายเทได้ไม่ดี และ น้าซึมช้า รากชอนไชได้ยาก พืชจึงเจริญเติบโตไม่ดี