SlideShare a Scribd company logo
เอกภพ
นายกันต์ธนากร น้อยเสนา
nu@mwit.ac.th
พื้นฐานเกี่ยวกับเอกภพในยุคแรก
ในยุคแรก แนวความคิดเกี่ยวกับเอกภพมีขอบเขตจากัดมาก
เนื่องจากพัฒนาการทางด้านแนวความคิด ประสบการณ์และ
เครื่องมือต่างๆ ยังอยู่ในวงแคบ คนโบราณมีความเชื่อว่าโลกแบนและ
มีวัตถุรูปครึ่งทรงกลมซึ่งมีช่องโหว่เป็นจานวนนับร้อยนับพันกระจาย
อยู่ทั่วผิว แล้วจินตนาการด้วยการใช้โดมแบ่งเอกภพออกเป็นด้าน
นอกเป็นโลกของเทพและด้านในก็เป็นโลกของมนุษย์
ชาวอียิปต์โบราณ เชื่อว่าดวงอาทิตย์เป็นเทพ
สุริยะ (SUN GOD) ซึ่งทุกวันจะประทับ
เรือข้ามท้องฟ้ า ซึ่งเป็นหลังของเทพดารา
(STARRY GODDESS)
เอกภพกาเนิดได้อย่างไร
ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่ หรือบิกแบง (Big Bang)
ทฤษฎีสภาวะคงที่ (Steady State Theory)
STEADY STATE THEORY
เสนอโดย บอนดี (Bondi) โกลด์ (Gold) และฮอยส์
(Hoyle)
แม้เอกภพจะกาลังขยายตัวอยู่ก็ตาม แต่อัตราการกระจาย
ของกาแลกซี่และอัตราการเกิดใหม่ของกาแลกซี่นั้นอยู่ใน
สภาพสมดุล ซึ่งแสดงว่าสถานภาพของเอกภพคงตัว หรือ
แม้ว่าขนาดจะเพิ่มมากขึ้น แต่ความหนาแน่นของสสารในเอก
ภพไม่เปลี่ยนแปลง
BIG BANG
เสนอโดย อับเบ จอร์ช เลเมตเทรอ ( Abbe Georges
Lemaitre )
ณ จุดเริ่มต้นของเอกภพนั้น สสารทุกอย่างรวมตัวกัน
หนาแน่นมากจนเป็นมวลเดียวที่ปริมาตรเป็นศูนย์ไม่ว่าจะเป็น
อวกาศ กาแลกซี่ อนุภาคต่างๆ หรือแม้แต่เวลา เรียกบริเวณ
ดังกล่าวว่า “ซิงกูลาริตี้”(singularity) จากนั้นเอกภพมี
การขยายตัวออกอย่างรุนแรงและเริ่มต้นนับเวลาทันที
เกิดอนุภาคพื้นฐานขึ้น
FERMIONS
BOSONS
หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีขอบิกแบง
การค้นพบของฮับเบิลว่ากาแล็กซีกาลังเคลื่อนที่หนีห่าง
ออกจากันด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้นตามระยะทาง กาแล็กซี
ที่อยู่ไกลยิ่งเคลื่อนที่ห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้
การค้นพบคลื่นรังสีความร้อนระดับไมโครเวฟ มี
อุณหภูมิประมาณ 3 เคลวิน กระจาย อยู่ทั่วไปในเอก
ภพอย่างสม่าเสมอ
กฎของฮับเบิล (HUBBLE’S LAW)
เอ็ดวิน ฮับเบิล (Edwin Hubble) ได้ศึกษา
แถบสเปกตรัมของกาแลกซี่ซึ่งเลื่อนไปทางสีแดง
(galaxies’ red shifts) และได้ค้นพบ
หลักการขยายตัวของเอกภพ
กาแล็กซีกาลังวิ่งหนีห่างออกจากกัน
กฎของฮับเบิล (HUBBLE’S LAW)
จากกราฟได้ความสัมพันธ์
V=Hr
H คือค่าคงที่ของฮับเบิล
กฎของฮับเบิลกล่าวว่ากาแล็กซีที่ยิ่งอยู่ไกลมากเท่าใดก็ยิ่ง
เคลื่อนที่ห่างจากเรามากกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้
จากข้อสมมติฐานทั้ง 2 ข้อ และทฤษฎีสัมพัทธภาพ
ทั่วไป ทาให้ได้แบบจาลองของเอกภพขึ้นมา 3 แบบที่
กาลังมีการขยายตัว เรียกว่า เอกภพปิด (Closed)
เอกภพแบน (Flat) และเอกภพเปิด (Open)
แบบจาลองของเอกภพ
เอกภพปิด (Closed)
เอกภพแบน (Flat)
เอกภพเปิด (Open)
เอกภพปิด(CLOSED UNIVERSE)
เอกภพปิด(Closed Universe) : นั่นคือเอกภพมีความหนาแน่น
ของมวลสารและ พลังงาน มากเพียงพอ จนแรงโน้มถ่วงสามารถเอาชนะแรงดัน
ออกหลังจากการระเบิด ครั้งใหญ่ได้ ในที่สุดเอกภพจะหดตัวกลับ และถึงจุด
จบที่เรียกว่า บิ๊กครันช์ (Big Crunch)
เอกภพแบน (FLAT UNIVERSE)
เอกภพแบน (Flat Universe) : นั่นคือ เอกภพมีความ
หนาแน่นของมวลสารและพลังงาน ในระดับที่แรงโน้มถ่วงสมดุลกับ
แรงดันออกหลังจากการระเบิดครั้งใหญ่ ในที่สุดเอกภพจะขยายตัว แต่
ด้วยอัตราที่ช้าลงเรื่อยๆ
เอกภพเปิด (OPEN UNIVERSE)
เอกภพเปิด (Open Universe): นั่นคือ เอกภพมีความ
หนาแน่นของมวลสารและ พลังงาน ต่าเกินไป ทาให้แรงโน้มถ่วง ไม่
สามารถเอาชนะแรงดันออกหลังจากการ ระเบิดครั้งใหญ่ได้ เอกภพ
จะขยายตัวอย่างต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ เรียกว่า บิ๊กชิลล์ (Big Chill)
รูปร่างทางเรขาคณิตของเอกภพ
(พลังงานจลน์ในการขยายตัว) = (พลังงานศักย์โน้มถ่วง) + (พลังงานรวม)
ถ้ามองภาพว่าเอกภพเปรียบเสมือนเปลือกทรงกลมที่
กาลังขยายตัวออกจากจุดศูนย์กลางด้วยพลังงานจลน์
ที่หลงเหลือมาจากการระเบิดครั้งใหญ่ของเอกภพ แต่
ในขณะเดียวกันมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงอันเนื่องจาก
มวลทั้งหมดของเอกภพคอยดึงให้เอกภพมีการยุบตัว
เข้าสู่ศูนย์กลางดังนั้นสามารถแบ่งเป็น 3 กรณี
ดังต่อไปนี้
OPEN UNIVERSE
พลังงานจลน์ในการขยายตัวของเอกภพสามารถ
เอาชนะพลังงานศักย์โน้มถ่วงได้ (พลังงานรวมเป็น
บวก) เอกภพก็จะขยายตัวออกไปเรื่อยๆ ไม่มีที่
สิ้นสุด
CLOSED UNIVERSE
พลังงานศักย์โน้มถ่วงสามารถเอาชนะพลังงานจลน์
ในการขยายตัวของเอกภพได้ (พลังงานรวมเป็น
ลบ) เอกภพจะขยายตัวถึงจุดหนึ่งแล้วจึงค่อยยุบตัว
ลง
FLAT UNIVERSE
พลังงานจลน์และพลังงานศักย์จะเท่ากันในที่สุด
(พลังงานรวมเป็นศูนย์) เอกภพจะขยายตัวจนถึง
จุดๆ หนึ่งแล้วหยุดนิ่ง
เรขาคณิตของเอกภพจะเป็นดัง
เรขาคณิตตามความหมายทางคณิตศาสตร์ ไม่ได้หมายความว่าเอกภพจะมีรูปร่าง
ดังกล่าวตามเงื่อนไขของพลังงาน แต่จะสามารถพบคุณสมบัติทางเรขาคณิตของเอก
ภพเหมือนกับคุณสมบัติทางเรขาคณิตบนรูปร่างต่างๆกันไป
กาเนิดและวิวัฒนาการของกาแล็กซี
ชนิดของกาแล็กซี
ฮับเบิล(Hubble) นักดาราศาสตร์แห่งหอสังเกตการณ์เมาท์วิล
สัน (Mount Wilson Observatory) ได้ศึกษา
และจาแนกออก เป็น 3 ประเภทคือ
กาแล็กซีแบบทรงรี (Elliptical Galaxy)
กาแล็กซีแบบกังหัน (Spiral Galaxy)
กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ (Irregular Galaxy)
กาแล็กซีแบบทรงรี (ELLIPTICAL GALAXY)
 กาแล็กซีที่พบจานวนมากนั้น นักดาราศาสตร์พบว่ามีรูปร่างแบบทรงรี ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดมี
มวลประมาณ 1013 เท่าของมวลของดวงอาทิตย์ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 105
พาร์เซก กาแล็กซีแบบทรงรีขนาดยักษ์ (Giant Elliptical)ดังกล่าวนี้ ค่อนข้างจะหา
ยาก แต่ที่พบมากที่สุดได้แก่ กาแล็กซีขนาดเล็ก (Dwarf Elliptical) ซึ่งมีมวล
ประมาณ 2.3 ล้านเท่าของดวงของดวงอาทิตย์ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2000
พาร์เซค(parsec, pc).เท่านั้น กาแล็กซีขนาดเล็กดังกล่าวนี้สังเกตการณ์ได้โดยใช้กล้อง
ดูดาวขนาดใหญ่มาก ซึ่งต้องประกอบด้วยอุปกรณ์วัดสัญญาณทางอิเล็กโทรนิคส์ และ
คอมพิวเตอร์ที่มีความไวสูง เช่น เครื่องคู่ควบประจุ (Charge Coupled
Device, CCD) เครื่องขยายความเข้มของภาพ (Image Intensifier)
เป็นต้น
กาแล็กซีแบบกังหัน (SPIRAL GALAXY)
กาแล็กซีแบบนี้ พบว่าประกอบด้วย บริเวณใจกลาง
ที่มีดาวอยู่รวมกันหนาแน่น เรียกว่า”นิวเคลียส
(Nucleus)” และมีแขนยื่นม้วนออกไปใน
ลักษณะกังหัน (Spiral) ทั้งนิวเคลียสและแขน
กังหัน ประกอบขึ้นจากดาวฤกษ์ ฝุ่นและก๊าซ
ชนิด Sa แขนกังหันรอบนิวเคลียสค่อนข้างกระชับ
มากและมีนิวเคลียสขนาดใหญ่
ชนิด Sb แขนกังหันเริ่มคลายออกบ้าง และ
นิวเคลียสมีขนาดเล็กลง กาแล็กซีทาง ช้างเผือก
และกาแล็กซีแอนโดรเมดา จัดอยู่ในประเภทนี้
ชนิด Sc แขนกังหันกางออกมาและมีนิวเคลียส
ขนาดเล็ก
กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ (IRREGULAR GALAXY)
กาแล็กซีที่ค้นพบทั้งหมด พบว่ามีจานวนประมาณ 2.3 % ที่มี
รูปร่างไม่แน่นอน ซึ่งไม่อาจจัดได้ว่าเป็นแบบทรงรีหรือแบบกังหันปกติ
ได้ แบ่งเป็น สอง ประเภท
Irregular I หรือ Irr I เป็นกาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ ที่
สามารถสังเกตเห็นดาวฤกษ์ ชนิด O และ B ตลอดจนบริเวณของ
กลุ่มไฮโดรเจนที่ไอออไนซ์ได้อย่างเด่นชัด
Irregular II หรือ Irr II เป็นกาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ ที่ไม่
สามารถมองเห็นดาวหรือกลุ่มก๊าซต่างๆ ได้เลย
การชนกันของกาแล็กซี
RED SHIFT & BLUE SHIFT
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx

More Related Content

What's hot

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Worrachet Boonyong
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศบทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
Atsada Pasee
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาSzo'k JaJar
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
บท1 5 เรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตัดต่อภาพถ่าย
บท1 5 เรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตัดต่อภาพถ่ายบท1 5 เรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตัดต่อภาพถ่าย
บท1 5 เรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตัดต่อภาพถ่าย
Ariyaporn Suaekong
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Ta Lattapol
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
กฤตพร สุดสงวน
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ศิริชัย เชียงทอง
 
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
rawi05022544
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
Sompak3111
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 

What's hot (20)

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศบทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
บท1 5 เรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตัดต่อภาพถ่าย
บท1 5 เรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตัดต่อภาพถ่ายบท1 5 เรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตัดต่อภาพถ่าย
บท1 5 เรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตัดต่อภาพถ่าย
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 

Similar to บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx

ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสMuttakeen Che-leah
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
tanakit pintong
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
Wichai Likitponrak
 
ดาราศาสตร
ดาราศาสตร ดาราศาสตร
ดาราศาสตร
Sakulpit Promrungsee
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพSakchai Sodsejan
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
Ta Lattapol
 

Similar to บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx (20)

ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
ดาราศาสตร
ดาราศาสตร ดาราศาสตร
ดาราศาสตร
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-4page
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 

บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx