SlideShare a Scribd company logo
ระบบสืบพันธุ์และ
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาววิลาสินี เหลาลา เลขที่ 37
นางสาวพรนัชชา ไชยเพชร เลขที่ 38
นางสาวกนกพร เจริญไชย เลขที่ 39
นางสาวณัฐวิภา เรืองชัยเจริญ เลขที่ 42
นางสาวทักขิณา สมศรี เลขที่ 43
นางสาวทิวาพร วิเศษนาเรียง เลขที่ 44
ระบบสืบพันธุ์
สิ่งมีชีวิตทั้งหลายมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งคือ มีการสืบพันธุ์ เพื่อการ
ดารงเผ่าพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต และ
พัฒนาการ และการส่งต่อลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมไปให้ลูกหลาน จะ
ดาเนินไปไม่ได้เลยถ้าปราศจากการสืบพันธุ์ของเซลล์หรือการแบ่งเซลล์
เซลล์สืบพันธุ์ในเพศชาย คือ อสุจิ และเซลล์สืบพันธุ์ในเพศหญิง คือ ไข่ เมื่อ
อสุจิและไข่ มีการปฏิสนธิ จะมีการแบ่งเซลล์เจริญและพัฒนาจนเป็นเอมบริ
โอ และเป็นตัวที่สมบูรณ์แล้ว เมื่อคลอดออกมาก็จะมีการเจริญและพัฒนา
อีกครั้งหนึ่ง จนกระทั่งเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการเจริญทางเพศที่สมบูรณ์ และ
สามารถที่จะสืบพันธุ์ได้อีก
ระยะที่มนุษย์มีความพร้อมในการสืบพันธุ์ คือ ระยะตั้งแต่วัยรุ่นขึ้นไป
ร่างกายทั้งชาย และหญิง จะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางเพศ
(Secondary sex development) ผู้ชายส่วนใหญ่กล่องเสียงจะยื่นโต
ออกมา ทาให้มองเห็นเป็นลูกกระเดือก (Adam’s apple) เสียงเริ่มเปลี่ยน
ห้าวขึ้น มีหนวดเครา และขนที่บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ รักแร้ มีการขับ
น้ากาม และอสุจิออกมา ส่วนใหญ่ในหญิงรูปร่างค่อยเปลี่ยนแปลงทีละ
น้อย สะโพกและทรวงอกขยายใหญ่ มีขนที่บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ และ
รักแร้ เริ่มมีประจาเดือน (Menstruation) เสียงแหลม การเปลี่ยนแปลง
ดังกล่าว เนื่องจากระบบสืบพันธุ์เตรียมพร้อมเพื่อการสืบพันธุ์
อวัยวะที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ เรียกว่า โกแนด (Gonads) ในเพศชายคือ
อัณฑะ(Testis) ส่วนในเพศหญิง คือ รังไข่ (Ovary)
โกแนดทำหน้ำที่ 2 ประกำร คือ
1. ผลิตอสุจิ (Spermatozoa) ในชาย และผลิตไข่ (Ova) ในหญิง
2. ผลิตฮอร์โมน และ ถ่ายทอดลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางเพศ
 อวัยวะสืบพันธุ์เพศชำย
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
1. อวัยวะสืบพันธุ์ภำยนอก ได้แก่ ถุงอัณฑะ องคชาต
2. อวัยวะสืบพันธุ์ภำยใน ได้แก่ อัณฑะ ท่อและต่อมต่างๆ
1. อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
1.1 ถุงหุ้มอัณฑะ (Scrotum) เป็นส่วนผิวหนังที่อยู่ใต้องคชาตลงมา
ทาหน้าที่ห่อหุ้มลูกอัณฑะ ควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสาหรับสร้างอสุจิที่
สมบูรณ์แข็งแรง เป็นกล้ามเนื้อที่ช่วยปรับอุณหภูมิของอัณฑะ ให้ต่ากว่า
อุณหภูมิของร่างกาย ประมาณ 3-5 องศาเซลเซียส
1.2 องคชำต (Penis) ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของปัสสาวะ และเป็น
อวัยวะในการร่วมเพศ องคชาตเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษ โดยปกติ
จะหดตัวอยู่(Detumescence) แต่ถ้ามีความรู้สึกทางเพศ จะสามารถ
แข็งตัว (Erection of penis) ได้
2. อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
2.1 อัณฑะ (Testis) เป็นอวัยวะสาคัญที่สุดในระบบสืบพันธุ์เพศ
ชาย ทาหน้าที่สร้างอสุจิ และฮอร์โมนเพศชาย อัณฑะมีลักษณะรูปไข่อยู่
ในถุงอัณฑะ ภายในจะประกอบด้วย หลอดสร้างอสุจิ ทาหน้าที่สร้างตัว
อสุจิ และ ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชาย คือ เทสโทสเตอโรน
2.2 หลอดเก็บอสุจิ (Epididymis) อยู่ด้านบนของอัณฑะเป็นท่อขด
ไปมา วางตัวติดกับด้านหลังของอัณฑะ หลอดเก็บอสุจิยาวประมาณ 4-6
เซนติเมตร ทาหน้าที่เป็นที่เก็บอสุจิที่สร้างสมบรูณ์แล้วพร้อมที่จะปฏิสนธิ
2.3 ท่อนำอสุจิ (Vas Deferens) อยู่ต่อจากหลอดเก็บตัวอสุจิ ยาว
ประมาณ 1 นิ้ว ทาหน้าที่ลาเลียงตัวอสุจิไปเก็บไว้ที่ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ
2.4 ต่อมสร้ำงน้ำเลี้ยงอสุจิ (Seminal Vescicle) เป็น 2 ถุง อยู่หลัง
และต่อกับกระเพาะอาหาร ทาหน้าที่สร้างอาหารสาหรับอสุจิ (Seminal
fluid) ในอาหารประกอบด้วยน้าตาลฟรักโทส โปรตีนโกลบูลิน วิตามิน
ซี และสร้างของเหลวมาผสมกับตัวอสุจิเพื่อทาให้เกิดสภาพที่เหมาะสม
สาหรับตัวอสุจิ
2.5 ท่อฉีดอสุจิ (Ejaculatory Duct) เป็นท่อสั้นๆ เปิดเข้าสู่ท่อ
ปัสสาวะ ตรงบริเวณต่อมลูกหมากยาวประมาณ 2 เซนติเมตร บางครั้ง
เรียกว่า หลอดฉีดน้ากาม ท่อนี้ทาหน้าที่บีบตัว ขับน้าอสุจิ (Semen)
2.6 ต่อมลูกหมำก (Prostate Gland) เป็นต่อมที่อยู่รอบท่ออสุจิ อยู่
ด้านล่างกระเพาะปัสสาวะ ทาหน้าที่สร้างน้ากาม (Prostate Gland) ซึ่งมี
ลักษณะ คล้ายน้านม มีฤทธิ์เป็นเบสเล็กน้อย มีกลิ่นเฉพาะตัว
2.7 ต่อมสร้ำงน้ำเมือก (Urethral Gland) หรือต่อมคำวเปอร์
(Cowper gland) อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก ทาหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อ
ปัสสาวะ มีฤทธิ์เป็นเบส
อสุจิ
ในเพศชำย โดยทั่วไปจะเริ่มสร้างตัวอสุจิเมื่อเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น
คืออายุประมาณ 12-13 ปี และจะสร้างไปจนตลอดชีวิต อสุจิที่สร้าง
ได้จะมีจานวน ในการหลั่งน้าอสุจิ (Insemination) ในแต่ละครั้ง จะ
มีปริมาณประมาณ 3-5 มิลลิลิตร โดยมีอสุจิอยู่ประมาณ 300-400
ล้านตัว หากมีจานวนอสุจิน้อยกว่านี้ อาจเป็นสาเหตุทาให้เป็นหมัน
ได้ ตัวอสุจิเมื่ออกสู่ภายนอกจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 2-3 ชั่วโมง แต่ถ้า
อยู่ในช่องคลอดเพศหญิง จะมีชีวิตอยู่ได้ถึง 24-48 ชั่วโมง อสุจิ
สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยความเร็ว 3 มิลลิเมตรต่อนาที โดยการว่าย
น้าไป และจะเคลื่อนที่ไปถึงท่อนาไข่ในเวลา 30-60 นาที
อสุจิ ประกอบด้วยโครงสร้ำง 3 ส่วน คือ
1. ส่วนหัว เป็นส่วนที่สาคัญที่สุดในการผสมพันธุ์ ที่ปลายหัว
เรียกว่า อะโครโซม ใช้สาหรับเจาะไข่ ในส่วนหัวนี้จะมี DNA อยู่มาก
2. ส่วนลำตัว มีลักษณะเป็นทรงกระบอก ส่วนบนสุดจะคอด
เรียกว่า คอ
3. ส่วนหำง ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ต้นหาง และ ปลายหาง
คาถาม
1) อวัยวะสืบพันธุ์ของเพศชายแบ่งออกเป็นกี่ส่วน ได้แก่ส่วนใดบ้าง
ตอบ 2 ส่วน คือ อวัยวะสืบพันธุ์ภำยนอกและภำยใน
2) อวัยวะที่สาคัญที่สุดในระบบสืบพันธุ์เพศชายคืออะไร
ตอบ อัณฑะ
3) ฮอร์โมนเพศชายที่สร้างจากอัณฑะมีชื่อว่าอย่างไร
ตอบ เทสโทสเตอโรน
4) ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิทาหน้าที่สร้างอาหารสาหรับอสุจิ ในอาหารนั้น
ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ น้ำตำลฟรักโทส โปรตีนโกลบูลิน วิตำมินซี
5) โดยทั่วไปในเพศชายจะเริ่มสร้างอสุจิเมื่ออายุประมาณกี่ปี
ตอบ 12 – 13 ปี
บรรณานุกรม
• sss27818. ( 2554). อวัยวะสืบพันธุ์เพศชำย.เข้าถึงได้จาก : http://www.thaigoodview.com/node/75723?page=0,1
(วันที่สืบค้นข้อมูล: 16 กุมภาพันธ์ 2558).
• ถุงอัณฑะ.(ม.ป.ป.).เข้าถึงได้จาก : http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=35800 (วันที่สืบค้นข้อมูล :
16 กุมภาพันธ์ 2558).
• อุทุมพรแสนสี. (2553). ระบบสืบพันธ์และอวัยวะเพศชำย.เข้าถึงได้จาก :
http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/admin/aboutus.php (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 กุมภาพันธ์
2558).
• ระบบสืบพันธุ์.(2557). เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org/wiki/ระบบสืบพันธุ์(วันที่สืบค้นข้อมูล: 17 กุมภาพันธ์ 2558).
• รถเบนซ์™ (2555).ระบบสืบพันธุ์เพศชำย.เข้าถึงได้จาก:
http://thn21555-02.blogspot.com/p/male-reproductive-system-sperm-sperm.html (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18
กุมภาพันธ์ 2558).
• ระบบสืบพันธุ์เพศชาย.(ม.ป.ป.).เข้าถึงได้จาก :
http://www.thailand.fertilityasia.com/th/stage1/articles/article10/male_reproductive_sy
m.html ( วันที่สืบค้นข้อมูล: 18 กุมภาพันธ์ 2558)
ขอจบการนาเสนอค่ะ
ขอบพระคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
Thitaree Samphao
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
Tikaben Phutako
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
Wan Ngamwongwan
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
Wichai Likitponrak
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 

What's hot (20)

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 

Viewers also liked

ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Presentation Technology New
Presentation Technology NewPresentation Technology New
Presentation Technology New
nares.piyaneti
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
Janejira Meezong
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
Male reproductive system
Male reproductive systemMale reproductive system
Male reproductive system
Dr Ashok dhaka Bishnoi
 
Male Reproductive system
Male Reproductive systemMale Reproductive system
Male Reproductive system
Stephanie Kennedy
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
Aphisit Aunbusdumberdor
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
Aom S
 
MALE REPRODUCTIVE SYSTEM I
MALE REPRODUCTIVE SYSTEM IMALE REPRODUCTIVE SYSTEM I
MALE REPRODUCTIVE SYSTEM I
Dr Nilesh Kate
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1ประกายทิพย์ แซ่กี่
 
Male reproductive system
Male reproductive systemMale reproductive system
Male reproductive system
Michael Wrock
 
Male reproductive system
Male reproductive systemMale reproductive system
Male reproductive system
MBBS IMS MSU
 
ระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนNok Tiwung
 
Male reproductive system
Male reproductive systemMale reproductive system
Male reproductive system
Joey Richard Dio
 

Viewers also liked (14)

ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
Presentation Technology New
Presentation Technology NewPresentation Technology New
Presentation Technology New
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
Male reproductive system
Male reproductive systemMale reproductive system
Male reproductive system
 
Male Reproductive system
Male Reproductive systemMale Reproductive system
Male Reproductive system
 
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSESPATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
MALE REPRODUCTIVE SYSTEM I
MALE REPRODUCTIVE SYSTEM IMALE REPRODUCTIVE SYSTEM I
MALE REPRODUCTIVE SYSTEM I
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
 
Male reproductive system
Male reproductive systemMale reproductive system
Male reproductive system
 
Male reproductive system
Male reproductive systemMale reproductive system
Male reproductive system
 
ระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คนระบบสืบพันธุ์คน
ระบบสืบพันธุ์คน
 
Male reproductive system
Male reproductive systemMale reproductive system
Male reproductive system
 

Similar to ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย

ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์Wan Ngamwongwan
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
Wuttipong Tubkrathok
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
Natthinee Khamchalee
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 

Similar to ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย (11)

ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 

ระบบสืบพันธุ์และอวัยะเพศชาย