SlideShare a Scribd company logo
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   62
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


การย่อยอาหารของคน

            อาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะผ่านเข้าไปในส่วนต่าง ๆ ของทางเดินอาหาร (ดังภาพที่ 2.18) ซึ่ง
ประกอบด้วย
           1. ส่วนที่เ ป็นทางเดิ นอาหาร (Digestive Tract) ประกอบด้วย ปาก(Mouth) คอหอย(Pharynx)
หลอดอาหาร (Esophagus) กระเพาะอาหาร (Stomach) ลาไส้เล็ก (Small intestine) ลาไส้ใหญ่ (Large
intestine) และทวารหนัก (Anus)
           2. ส่วนที่จาเป็นต่อการทางานของระบบทางเดินอาหาร (Associated glandular organs) ได้แก่
ต่อมน้าลาย (Salivary gland) ตับ (Liver) ถุงน้าดี (Gallbladder) และตับอ่อน (Pancreas)
           นอกจากนี้ ส่วนต่างๆ ของทางเดินอาหารจะมีกล้ามเนื้อหูรูด (Sphincter) กั้น แบ่งออกเป็นตอน ๆ
ดังนี้ คือ
           1. กล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารตอนบน (Upper esophageal sphincter) อยู่บนบริเวณหลอด
อาหารตอนบน
           2. กล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารตอนล่าง (Lower esophageal sphincter หรือ Cardiac sphincter)
อยู่บนบริเวณหลอดอาหารตอนล่าง
           3. กล้ามเนื้อหูรูดไพลอรัส (Pyloric sphincter) อยู่บริเวณตอนปลายของหลอดอาหารติดต่อกับ
กระเพาะอาหาร
           4. กล้ามเนื้อหูรูดอิลีโอซีคัล (Eleocecal sphincter) อยู่บริเวณตอนปลายของลาไส้เล็ก
           5. กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักด้านในและด้านนอก (Internal และ External anal sphincter) อยู่
บริเวณทวารหนัก




                        ภาพที่ 2.18 โครงสร้างของทางเดินอาหาร
                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   63
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


       การย่อยอาหารในปาก
1. ส่วนประกอบของปาก (ภาพที่ 2.19)ได้แก่




                 ภาพที่ 2.19 ส่วนประกอบของปาก


          1.1 ริมฝีปาก (Lip) เป็นส่วนที่พบเฉพาะในสัตว์ทเี่ ลียงลูกด้วยน้านม ใช้สาหรับเป็นที่อยู่ของ
                                                             ้
อาหารตอนที่กาลังเคี้ยวอาหาร ริมฝีปากประกอบด้วยกล้ามเนื้อทีเ่ คลื่อนไหวไปมาได้
          1.2 ช่องแก้ม (Buccal cavity) คือส่วนที่ถัดจากริมฝีปาก อยู่ระหว่างฟันกับแก้มมีต่อมที่บริเวณ
เยื่อบุข้างแก้มเป็นจานวนมาก และประกอบด้วยต่อมน้าลาย (Salivary gland)
          1.3 โพรงปาก (Oral cavity) อยู่ภายในอุ้งฟันหมดเขตบริเวณลินไก่ (Uvula) ส่วนบนตอนหน้า
                                                                      ้
ของโพรงปากเป็นเพดานแข็ง (Hard palate) และทางส่วนท้ายเป็นเพดานอ่อน (Soft palate) บนเพดาน
แข็งจะมีสันตามขวางหลายอันทาให้อาหารทีเ่ ข้าปากหลุดออกมายาก ส่วนเพดานอ่อนห้อยโค้งลงมาใกล้
กับโคนลิ้น ส่วนขอบปลายสุดของเพดานอ่อนยังมีต่อมน้าเหลืองอีกคูหนึ่งซึ่งอยูในแอ่งเล็ก ๆ มีหน้าที่
                                                                  ่        ่
สาหรับเป็นกับดักแบคที่เรียในปากไม่ให้เข้าไปในทางเดินอาหรส่วนอื่น ๆ ต่อมน้าเหลืองนี้คือ ต่อมทอนซิล
(Palatine tonsil)




                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                                สาขาวิชาชีววิทยา
                                                     64
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                             บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร
        1.4 ลิ้น (Tongue) ลิ้นของคน ส่วนมากใช้เป็นอวัยวะในการรับรสประกอบด้วยกล้ามเนื้อแป็นส่วน
ใหญ่ จึงเคลื่อนไหวได้หลายอย่างและใช้งานได้ดี เช่น เป็นส่วนสาคัญในการการพูดของคน ช่วยในการ
ตะล่ อ มอาหารให้ ค ลุ ก เคล้ า กั บ น้ าลายจนทั่ ว และช่ว ยในการกลื น เป็ น ต้ น นอกจากนี้ผิ ว ของลิ้ น ยั ง
ประกอบด้วยตุ่มปลายประสาทสาหรับรับรสเป็นจานวนมาก
        1.5 ฟัน (Tooth) (ภาพที่ 2.20) เป็นส่วนที่ทาหน้าทีบดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ฟันแต่ละซี่จะมี
                                                               ่
ส่วนประกอบดังนี้




ภาพที่ 2.20 โครงสร้างของฟันกรามบนและฟันเขี้ยวตัดตามยาว

           1) ตัวฟัน (Crown) คือส่วนที่โผล่พ้นเหงือกหรือโผล่ออกจากกระดูกขากรรไกร เมื่อผ่าตามยาวจะ
เห็นส่วนประกอบของตัวฟันดังนี้
                   - ชั้ น สารเคลื อ บฟั น (Enamel) อยู่ ชั้ น นอกสุ ด เป็ น สารสี ข าวเนื้ อ แน่ น ประกอบด้ ว ย
แคลเซียม เป็นส่วนที่แข็งแรงทนทานทาหน้าที่ปกป้องเนื้อฟันไม่ให้ได้รับอันตรายและใช้สาหรับบดเคี้ยว
อาหาร
                   - ชั้นเนื้อฟัน(Dentin) เป็ นส่วนที่สารเลือบฟันหุ้มไว้ ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อเกี่ ยวพันที่หนามาก
ประกอบด้วยแคลเซียมปริมาณมาก เนื้อฟันจะยาวไปถึงรากฟัน ภายในมี โพรงฟัน (Pulp cavity) ซึ่งเป็น
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่อ่อนนุ่ม มีเส้นเลือดและเส้นประสาทมาก เส้นเลือดและเส้นประสาทจะเข้าสู่ส่วนในของ
ฟันทางรากฟัน ซึ่งมีส่วนติดต่อกันเรียกว่า คลองรากฟัน (Root canal)
                   ส่วนประกอบทางเคมีของสารเคลือบฟัน (Enamel) และเนื้อฟัน (Dentin) ของฟัน คน
ส่วนใหญ่เป็นแคลเซียมฟอสเฟตและแคลเซียมฟลูออไรด์ นอกจากนี้ก็เป็นแคลเซียมคาร์บอเนต แมกนีเซียม
ฟอสเฟต เกลืออื่น ๆ และอินทรียวัตถุต่างๆ ดังตารางต่อไปนี้




                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   65
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


ตารางที่ 2.4 เปรียบเทียบส่วนประกอบทางเคมีที่สาคัญของสารเคลือบฟัน (Enamel)และเนื้อฟัน (Dentin)
               Composition                         Dentin                  Enamel
Calcium phosphate and fluoride                      66.72                    89.82
Calcium carbonate                                    3.36                     4.37
Magnesium phosphate                                  1.08                     1.34
Other salt                                           0.83                     0.88
Organic matter                                      28.01                     3.59
                                                   100.00                   100.00

         2) รากฟัน (Root) เป็นส่วนที่อยู่ในเหงือก และเป็นส่วนของฟันที่ฝังอยู่ในช่องกระดูกขากรรไกร
และยึดติดกับกระดูกโดยเนื้อเยื่อเกี่ยวฟันที่แข็งแรง มีจานวน 1-3 รากขึ้นอยู่กับชนิดของฟัน รากฟันมีสารที่
เรียกว่า ซีเมนตัม (Cementum)
         รูปร่างและหน้าที่ของฟัน




         1. ฟันตัด (Incisor) หรือฟันกัด ทาหน้าที่ตัดอาหารหรือกัดอาหาร มีรูปร่างบางคล้ายลิ่ม มีอยู่ข้าง
ละ 2 ซี่ ทั้งส่วนบนและส่วนล่าง ในสัตว์กินพืชฟันบนจะหายไป กลายเป็นแผ่นแข็ง สาหรับสัตว์แทะฟันตัด
จะเจริญดีที่สุด
         2. ฟันฉีก (Canine) หรือฟันเขี้ยว ทาหน้าที่ฉีกอาหารและรัก ษาทรงมุ มปากมิให้ดูบุ๋ ม มีรูปร่าง
แหลม มีข้างละ 1 ซี่ ในสัตว์กินเนื้อฟันเขี้ยวจะเจริญดีที่สุด มีไว้ล่าเหยื่อโดยเฉพาะ ในสัตว์กินเขี้ยวจะไม่มี
หน้าที่สาคัญ

                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   66
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร
          3. ฟันกรามหน้า (Premolar) หรือฟันกรามน้อย ทาหน้าที่บดอาหาร มีข้างละ 2 ซี่ ในสัตว์กินเนื้อ
เช่น สุนัข กรามหน้าเจริญดีเที่ยบเท่ากับเขี้ยว
          4. ฟันกรามหลัง (Molar) หรือฟันกราม ทาหน้าหน้าที่บดอาหารให้ละเอียด มีขนาดใหญ่กว่าฟัน
กรามหน้า มีข้างละ 3 ซี่ ด้านที่สบกันของฟันมีสารเคลือบที่แข็งแรงมาก โดยเฉพาะในสัตว์กินพืช
                  การเขียนสูตรฟัน
                    I .C . P. M
          สูตรฟัน =
                    I .C . P. M

++




     ภาพที่ 2.21 โครงสร้างของฟันน้านม                        ภาพที่ 2.22 โครงสร้างของฟันแท้




หน้าที่ของฟัน
         1. ใช้บดเคี้ยวอาหาร ฟันจะทาหน้าที่บดอาหารชิ้นใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง ทาให้พื้นที่ผิวของอาหาร
ที่สัมผัสกับเอนไซม์ทย่อยมีมากขึน และย่อยได้ง่ายขึ้นด้วย
                      ี่        ้
         2. ช่วยป้องกันมิให้อาหารหลุดออกจากปากได้ง่าย
         3. รักษารูปใบหนา ้
         4. ช่วยในการออกเสียงให้ชดเจนยิงขึ้น
                                  ั     ่




                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   67
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


        1.6 ต่อมน้้าลาย (Salivary gland) (ภาพที่ 2.23)ในปากส่วนที่ปล่อยน้าย่อยออกมา คือ ต่อม
น้าลาย (Salivary gland) ซึ่งมีอยู่ในตาแหน่งต่าง ๆ ของช่องปาก 3 แห่ง แห่งละคู่ ดังรูปที่ ต่อมทั้งสามคู่นี้
คือ




                          ภาพที่ 2.23 ต่อมน้าลาย


          1. ต่อมน้้าลายใต้กกหู (Parotid glands) อยู่ด้านหน้าของกกหู มีขนาดใหญ่ที่สุด ปล่อยน้าลาย
ออกมาตามท่อ Stensen’s duct น้าลายมีองค์ประกอบเป็นน้า เกลือ และเอนไซม์อะไมเลสย่อยแป้ง แต่ไม่
สร้างมิวซิน (Mucin) ซึ่งเป็นเมือกน้าลายจึงมีลักษณะใส และมีน้ามาก ต่อมน้าลายใต้กกนี้ถ้าเกิดการติด
เชื้อไวรัสจะทาให้อาการคางทูม (Mumps) ต่อมนี้สร้างน้าลายประมาณ 25%
          2. ต่อมน้้าลายใต้ลิ้น (Subligual glands) อยู่บริเวณใต้ลิ้น เป็นต่อมน้าลายที่เล็กที่สุด น้าลายมี
ลักษณะเหนียวมากกว่าใส มีเมือกมาก แต่มีเอนไซม์อะไมเลสน้อย ต่อมนี้สร้างน้าลายประมาณ 5%
          3. ต่อมน้้าลายใต้ขากรรไกร (submandibular glands) เดิมเรียกว่า Submaxillary glands อยู่
ใต้ขากรรไกรล่าง ส่งน้าลายออกมาตามท่อ Wharton’s duct สร้างน้าลายชนิดใสมากกว่าชนิดเหนีย ว
ต่อมนี้สร้างน้าลายประมาณ 70%




                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   68
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


2. การย่อยอาหาร
            อาหารที่เข้ามาอยู่ใ นปากมีการเปลี่ยนสภาพโดยฟันบดเคี้ยว ทาให้มีขนาดเล็กลง กระบวนการ
เช่น นี้ถื อว่าเป็น การย่ อยอาหารเชิงกล (Mechanical digestion) ซึ่งรวมทั้งการย่อยโดยการบีบ ตัวของ
ทางเดิน อาหารด้วย การย่ อยชนิดนี้เ ป็ นการเปลี่ย นขนาดของชิ้น อาหาร แต่โมเลกุ ลของสารอาหารยั ง
เหมือนเดิม

         การเคี้ยวอาหาร (Mastication หรือ Chewing) เกิดจากการเคลื่อนไหวของฟัน ลิน แก้ม         ้
ริมฝีปาก ขากรรไกรล่าง เพื่อช่วยทาให้อาหารแตกสลายมีขนาดเล็กลง และเกิดการคลุกเคล้ากับน้าลาย
และปั้นเป็นก้อนเล็ก ๆ เปียกชื้น และอ่อนนุ่ม ที่เรียกว่า ก้อนโบลัส (Bolus) เพื่อให้สะดวกในการกลืน
         การย่อยอาหารอีกขั้นหนึ่ง จะเป็นการเปลี่ยนขนาดโมเลกุลอาหารให้เล็กลงโดยน้า พร้อมกับมี
เอนไซม์หรือน้าย่อยเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ช่วงนี้เรียกว่า การย่อยอาหารทางเคมี (Chemical digestion)
         น้าลายมีน้าย่อยที่สามารถเปลี่ยนแป้งเป็นน้าตาล ซึ่งเป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่ง แต่เอนไซม์มิได้
หมายถึงเฉพาะน้าย่อยเท่านั้น ในการย่อยอาหารตัวทาปฏิกิริยาจริงๆ คือ น้า เรียกว่า เกิดปฏิกิริยาไฮโดร
ไลซิส (Hydrolysis) โดยมีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา แป้งจะถูกย่อยให้โมเลกุลเล็กลง โดยมักอยู่ในรูปของ
เด็กซ์ทริน (Dextrin) ซึ่งมีขนาดโมกุลใหญ่กว่าน้าตาล แต่มีบางส่วนที่อาจถูกย่อยเป็นน้าตาลโมเลกุลคู่ และ
ส่วนน้อยเป็นโมเลกุลเดียว แล้วแต่ว่าน้าจะสลายพันธะของแป้งบริเวณใด เช่น สลายปลาย ๆ โมเลกุลแป้ง
                         ่
อาจได้น้าตาลโมเลกุลคูหรือโมเลกุลเดี่ยว แต่ถ้าสลายกลางโมเลกุลแป้ง อาจจะได้เด็กซ์ทริน เป็นต้น
                           ่
         เมื่ออาหารถูกบดเคี้ยวในปากแล้วอาหารจะผ่านเข้าสู่หลอดอาหารโดยการกลืนซึ่งเป็นกระบวนการ
ดังนี้




         1. The oral phase เป็นการเริ่มต้นการกลืน ซึ่ง
 อยู่ภายใต้อานาจของจิตใจ เมื่อหารพร้อมทีจะถูกกลืนก็
                                          ่
 จะถูกม้วนเข้าไปในคอหอย(Pharynx) โดยอาศัยการดัน
 ของลิ้น
         2. The pharyngeal phase เริ่มจากที่เพดาน
                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   69
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


อ่อน (Soft palate) จะถูกดึงปิดทางติดต่อกับโพรงจมูก(Nasal cavity) เพื่อไม่ให้อาหารเข้าไปในโพรงจมูก
และเปิดทางในโพรงจมูก และเปิดทางให้อาหารเคลื่อนเข้าไปคอหอย และฝาปิดกล่องเสียง (Epiglottis) จะ
ยกปิ ดหลอดลมและช่วยให้ก ล้ามเนื้อหูรูดตอนบนของหลอดอาหารคลายตัว และขณะที่ก ล้มเนื้อหูรูด
ตอนบนคลายตัวเพื่อรับอาหาร กล้ามเนื้อที่ผนังคอหอยจะหดดันอาหารเข้าไปในหลอดอาหารตอนบน
        3. The esophageal phase เมื่ออาหารผ่านเข้าไปในหลอดอาหาร กล้ามเนื้อหู รูดของหลอด
อาหารจะปิด ฝาปิดกล่องเสียงจะเปิด มีการบีบตัวของหลอดอาหารแบบเพอริสตัลซิส (Peristalsis)
        ตามปกติอาหารจะเคลื่อนที่ผ่านหลอดอาหารถึงกระเพาะอาหารจะใช้เวลาประมาณ 5-10 วินาที่
ถ้าอาหารที่กลืนอยู่ในสภาพของเหลวจะทาให้การเคลื่อนที่ผ่านหลอดอาหารได้เร็วขึ้น

การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร
        1. ส่วนประกอบของกระเพาะอาหาร
            กระเพาะอาหารแบ่งออกเป็น 4 ส่วน (ภาพที่ 2.24) คือ ส่วนต้น เรียกว่า ส่วนคาร์ดิแอค
(Cardiac region) เป็นส่วนใกล้หัวใจและอยู่ติดอยูกับหลอดอาหาร กระเพาะอาหารส่วนที่สอง เรียกว่า
                                                ่
ฟัสดัส (Fundus) มีขนาดเล็กอยุ่เหนือระดับคาร์ดิแอคสฟิงเตอร์ ส่วนที่สามคือ บอดี (Body) เป็นพืนที่ส่วน
                                                                                           ้
ใหญ่ของกระเพาะ และส่วนสุดท้าย คือ ไพลอรัส (Pylorus) หรือ แอนทรัม (Antrum) ส่วนนี้อยู่ติดกับลาไส้
เล็กส่วนต้น




               ภาพที่ 2.24 ส่วนประกอบของกระเพาะอาหาร


             ผนังกระเพาะอาหารประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบ 3 ชัน คือ ชั้นนอกสุดเป็นกล้ามเนื้อเรียบ
                                                             ้
ตามยาว (Longitudinal layer) ซึ่งต่อเนื่องจากกล้ามเนื้อของหลอดอาหาร ชั้นกลางเป็นกล้ามเนื้อวง
(Circular layer) และชั้นในสุดเป็นกล้ามเนื้อทะแยง (Oblique layer)


                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   70
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร
             เมื่อกระเพาะอาหารยังว่างอยู่ ที่ชนเยื่อเมือก (Mucosa) จะพับย่นซ้อนกัน เรียกว่า รูกี
                                              ั้
(Rugae) เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการขยายขนาดกระเพาะอาหารเมื่ออาหารเข้าไป และมีต่อมสร้างน้าย่อย
อาหาร (Gastric gland) อยู่มากมาย จากต่อมเหล่านี้จะมีรูเปิดของท่อเรียกว่าแกสตริกพิท (Gastric pit)
มาเปิดที่ผิวชั้นเยื่อเมือก
             เซลล์ที่สร้างน้าย่อยอาหารมีหลายชนิด(ภาพที่ 2.25) ได้แก่
             1. ชีฟเซลล์ (Chief cell) หรือไซโมเจนิกเซลล์ (Zymogenic cell) สร้างเอนไซม์ในรูปโพ
รเอนไซม์ ชื่อ เพปซิโนเจน และโพรเรนนิน นอกจากนี้ยงหลังแกสตริกไลเปส
                                                     ั ่
             2. พาริเอตัลเซลล์ (Parietal cell) หรือออกซินติกเซลล์(Oxyntic cell) สร้างกรดเกลือ
(HCl) ที่ช่วยในการเปลี่ยนโพรเอนไซม์ไปเป็นเอนไซม์ และสร้างอินทรินซิกแฟกเตอร์ (Intrinsic factor) ที่
จาเป็นในการดูดซึมวิตามิน B12
             3. มิวคัสเซลล์ (Mucus cell) ทาหน้าที่สร้างเมือก (Mucus) มีฤทธิเ์ ป็นเบสไปป้องกันชั้นเยื่อ
เมือกของกระเพาะ ไม่ให้เป็นอันตรายจากกรดและน้าย่อยเพปซิน
             4. เอนเทอโรเอนโดไครน์เซลล์ (Enteroendocrine cells) ทาหน้าทีหลั่งฮอร์โมนแกสตริน
                                                                                 ่
(Gastrin) เซโรโทนิน (Serotonin) ฮีสตามีน (Histamine) และโซมาโตสเตติน (Sematostatin)




              ภาพที่ 2.25 ลักษณะของเซลล์ชนิดต่างๆ ในกระเพาะอาหาร


         2. หน้าที่ของกระเพาะอาหาร
            1. เป็นทีเ่ ก็บอาหารจนกว่าจะถึงเวลาส่งต่อไปยังลาไส้เล็ก (Storage)
            2. คลุกเคล้าอาหารกับน้าย่อยจนมีลักษณะกึ่งของเหลว (Chyme)


                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   71
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร
             3.ค่อย ๆ ปล่อยอาหารไปยั งลาไส้ด้วยความเร็วที่พอเหมาะต่อการย่ อยและการดูดซึมใน
ลาไส้เล็ก
         3. การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร
         3.1 การย่อยโปรตีน
         โปรตีนเริ่มถูกย่อยที่กระเพาะอาหาร โดยมีโพรเอนไซม์ทชื่อว่าเพปซิโนเจน (Pepsinogen) จาก
                                                           ี่
ชีฟเซลล์ และมีการหลั่งกรดเกลือมาจากพาริเอตัลเซลล์ กรดเกลือจะเปลี่ยนเพปซิโนเจน ซึ่งไม่สามารถ
ทางานได้กลับมาทางานได้ โดยเป็นเอนไซม์เพปซิน (ภาพที่ 2.26) นอกจากกรดเกลือจะเปลี่ยนเพปซิโนเจน
เป็นเพปซินแล้ว เพปซินที่ออกมายังไปเปลียนเพปซินโนเจนให้เป็นเพปซินได้ด้วย เอนไซม์เพปซินจะสลาย
                                         ่
พันธะเฉพาะที่อยู่ระหว่างกรดอะมิโน Tyrosine Phenylalanin และTyptophan จนได้โพลีเพปไทด์ที่เล็กลง




                    ภาพที่ 2.26 การสร้างเอนไซม์เพปซิน



       สาหรับทารก เริ่มแรกจะหลั่งออกมาในรูปโพรเรนนิน (Prorennin) แลว้จึงเปลี่ยนไปเป็นเรนนินเมื่อ
ถูกกระตุนด้วยกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ในกระเพาะอาหาร เรนนินจะทาหน้าทีย่อยเคซีน (Casein) ซึ่งแป็น
        ้                                                          ่
โปรตีนในน้านมแล้วมารวมกับแคลเซียม กลายเป็นพาราเคซีน (Paracasein) ซึ่งลักษณะเป็นลิ่ม ๆ ไม่
ละลายน้า จากนั้นจะถูกเพปซินย่อยต่อไป ดังแผนภาพ

                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                    72
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร
                                      เรนนิน
         น้านม                                              เคซีน

         เคซีน + แคลเซียม                                   พาราเคซีน
                                    เพปซิน
         พาราเคซีน                                          โปรตีนเล็กลง

        ถึงแม้เซลล์บุผิวจะถูกทาลายไปบ้าง แต่ก็จะมีการสร้างขึ้นทุก 3 วัน ในกรณีที่เป็นแผลในกระเพาะ
อาหาร (Ulcer) ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากแบคที่เรียทนกรดชนิดหนึ่งชื่อ Helicobacter pylori และมีอาการ
มากขึ้นเมื่อกรดและเอนไซม์เพปซินทาลายเซลล์เร็วมากจนสร้างทดแทนไม่ทัน




                 ภาพที่ 2.27 การบีบตัวของกระเพาะอาหารเพื่อไล่อาหารไปสู่ลาไส้เล็ก


การย่อยอาหารของล้าไส้เล็ก
         อาหารที่ย่อยแล้วบางส่วนและยังไม่ได้ย่อยเคลื่อนผ่านกล้ามเนื้อหูรูดของกระเพาะอาหารเข้าสู่
ลาไส้เ ล็ก ลาไส้เ ล็ก มีลัก ษณะเป็ นท่อยาวประมาณ 6-7 เมตร ขดอยู่ใ นช่องท้อง แบ่ งออกเป็ น 3 ส่วน
ส่วนต้น ที่ ต่อจากกระเพาะอาหารเป็ น ท่อโค้ งรูป ตัวยู ยาวประมาณ 25 เซนติ เ มตร เรีย กว่า ดูโอดินั ม
(Duodenum) ส่วนถัดไป เรียกว่า เจจูนัม (Jejunum) ยาวประมาณ 2.50 เมตร และไอเลียม (Ileum) เป็น


                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                     73
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร
ส่วนสุดท้ายยาวประมาณ 4 เมตร ดังภาพ 2.28 การย่อยอาหารในลาไส้เล็กเกี่ยวข้องกับการทางานของตับ
ตับอ่อน และผนังลาไส้เล็ก ซึ่งหลั่งสารออกมาทางานร่วมกัน




                     ภาพที่ 2.28 แสดงโครงสร้างของลาไส้เล็ก

         เมื่ออาหารจากกระเพาะอาหารเข้าสู่ลาไส้เ ล็ก ส่วนดูโอดินัม (ภาพที่ 2.29) ดูโอดินัมจะสร้า ง
ฮอร์โมนมากระตุ้ น ตับ อ่อนให้สร้างสารโซเดีย มไฮโดรเจนคาร์บ อเนตซึ่งมีฤทธืเ ป็น เบสปล่อยออกมาสู่
ดูโอดินัมเพื่อลดความเป็นกรดของอาหาร




                      ภาพที่ 2.29 ความสัมพันธ์ระหว่างตับอ่อน และดูโอดินัม



                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                    74
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                           บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


         การย่อยโปรตีน

         ตับอ่อน (Pancreas) ทาหน้าที่เป็นทั้งต่อมไร้ท่อและต่อมมีท่อ ส่วนที่เป็นต่อมไร้ท่อทาหน้าที่สร้า ง
ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระดับน้าตาลในเลือด ส่วนที่เป็นต่อมมีท่อทาหน้าที่สร้างเอนไซม์แล้วส่ง
ให้ ล าไส้ เ ล็ ก เช่ น เอนไซม์ ท ริ ป ซิ โ นเจน (Trypsinogen) ไคโมทริ ป ซิ น (Chymotrypsinogen) และ
โพรคาร์บอกซิเพปซิเดส (Procaboxypeptidase) เพื่อป้องกันการย่อยเซลล์ของตับอ่อนเอง เอนไซม์เหล่านี้
จะอยู่ ใ นสภาพที่ ยั ง ไม่ ส ามารถท างานได้ จ นเกว่ า จะเข้ า สู่ ล าไส้ เ ล็ ก ล าไส้ เ ล็ ก จะสร้ า งเอนไซม์
เอนเทอโรไคเนส (Enterokinase) เปลี่ยนเปลี่ยนทริปซิโนเจนให้เป็นทริปซิน (Trypsin) และทริปซินเองจะ
เปลี่ยนไคโมทริปซิโนเจนให้เป็นไคโมทริปซิน (Chymotrypsin) และเปลี่ยนโพรคาร์บอกซิเพปทิเดสให้เป็น
คาร์บอกซิเพปซินเดส (Carboxypeptidase) ซึ่งพร้อมจะทางานได้ ดังภาพที่ 2.30




                      ภาพที่ 2.30 การทางานร่วมกันของเอนไซม์จากตับอ่อนและลาไส้เล็ก



                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                    75
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                           บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


ทั้งทริปซินและไคโมทริปซินจะย่อยโปรตีนให้เป็นเพปไทด์ ส่วนคาร์บอกซิเพปทิเดสจะย่อยโปรตีนและเพป
ไทด์ให้เป็นกรดอะมิโนเซลล์ผนังด้านในของลาไส้เล็กส่วนดูโอดินัมจะผลิตเอนไซม์หลายชนิด ได้แก่ อะมิโน
เพปซิเดส ไดเพปซิเดส ไตรเพปซิเดส โดยเอนไซม์เหล่านี้จะย่อยเพปไทด์ให้เป็นกรดอะมิโน

         การย่อยคาร์โบไฮเดรต

        ตับอ่อนสร้างเอนไซม์อะไมเลสแล้วส่งต่อมาที่ลาไส้เล็กเพื่ อย่อยแป้ง ไกลโคเจนและเดกซ์ทรินให้
เป็น มอลโทส ส่วนเซลล์ผนังด้านในของส่วนดูโอดินัมจะผลิตเอนไซม์มอลเทสย่ อยมอลโทส นอกจากนี้
ผนังลาไส้เ ล็ก ยังผลิต เอนไซม์ซูเ ครสย่ อยซูโครสให้เ ป็ น กลูโคสและฟรัก โทส และเอนไซม์แลกเทสย่ อย
แลกโทสให้เป็นกลูโคสและกาแลกโทส

         การย่อยลิพิด

          ตับสร้างน้าดี (Bile) เก็บไว้ที่ถุงน้าดี (Gallblader) จากถุงน้าดีจะมีท่อนาน้าดีมาเปิดเข้าสู่ดูโอดินัม
น้าดีมีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ เกลือน้าดี (Bile salt) ช่วยให้ไขมันแตกตัวเป็นหยดไขมันเล็ก ๆ และแทรก
รวมกับน้าได้ในรูปอิมัลชัน (Emulsion) ตับอ่อนและเซลล์ที่ผนังลาไส้เล็กจะสร้างเอนไซม์ลิเพส ซึ่งจะย่อย
ไขมันในรูปอิมัลชันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล เกลือน้าดีจะถูกดูดซึมที่ลาไส้ใหญ่ เพื่อให้ตับนากลับ
มาใช้ใหม่




                         ภาพที่ 2.31 การย่อยลิพิด


                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   76
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


การดูดซึมอาหาร

       ลาไส้เล็กมีการดูดซึมสารอาหารได้ดี เนื่องจากผนังด้านในของลาไส้เล็กซึ่งบุด้วย เซลล์บุผิวชั้นเดียวมี
ส่วนที่ยื่น เล็ก ๆ คล้ายนิ้ว เรียกว่า วิลลัส (Villus) เป็น จานวนมาก ความหนาแน่นของวิลลัสมีประมาณ
20 –40 หน่วยต่อพื้น ที่ 1 ตารางเซนติเ มตร ทาให้มีพื้น ที่ผิวในการดูดซึมได้มากขึ้น และด้านนอกของ
เซลล์บุผิวนี้ยังมีส่วนยื่นออกไปเรียกว่า ไมโครวิลลัส (Microvillus) ดังภาพที่ 2.32 ซึ่งเป็นการเพิ่มพื้นที่ผิว
ในการดู ดซึม ภายในวิลลั สมีห ลอดเลือ ดฝอย และท่ อน้าเหลื อง ซึ่งจะรับ สารอาหารที่ ถู ก ดู ดซึม ผ่า น
เซลล์บุผิวของวิลลัสเข้าไป




       ภาพที่ 2.32 ลักษณะโครงสร้างภายในของลาไส้เล็ก



       สารอาหารต่าง ๆ ที่ย่อยแล้วได้แก่ กรดอะมิโน โมโนแซ็กคาไรด์ จะถูกดูดซึมเข้าสู่ไมโครวิลลัสของ
เซลล์บุผิวของลาไส้เล็กแล้วลาเลียงเข้าสู่เส้นเลือดฝอย ดังภาพที่ 2.33 ก่อนที่จะถูกลาเลียงไปตามเส้นเลือด
เวนผ่านตับแล้วจึงเข้าสู่หัวใจ ส่วนสารอาหารจาพวกกรดไขมันและกลีเซอรอล เมื่อเข้าสู่เซลล์ไมโครวิลลัส
ของเซลล์บุผิวแล้ว จะถูกสังเคราะห์ให้เป็นไตรกลีเซอไรด์ภายในเซลล์บุของวิลลัส แล้วจึงถูกลาเลียงโดย
หลอดน้าเหลืองฝอย ดังภาพที่ 2.34 เข้าสู่หัวใจโดยไม่ผ่านตับ เลือดที่ออกจากหัวใจจะนาสารอาหารไป
เลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย



                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                                 สาขาวิชาชีววิทยา
                                                      77
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                              บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร




ภาพที่ 2.33 การดูดซึมกรดอมิโนและโมโนแซ็กคาไรด์             ภาพที่ 2.34 การดูดซึมกรดไขมันและกลีเซอรอล


    สารอาหารเกื อบทุ ก ชนิ ด จะถู ก ดู ด ซึ มที่ ลาไส้เ ล็ ก อาหารที่ ย่ อ ยไม่ ห มดหรื อย่ อ ยไม่ ได้ เรี ย กว่ า
กากอาหาร รวมทั้งน้า วิตามิน และแร่ธาตุบางส่วนที่ไม่ถูกดูดซึมจากลาไส้เล็ก
     การดูดซึมอาหารที่ลาไส้ใหญ่
                         ้
     ลาไส้ใหญ่ของคนยาวประมาณ 1.50 เมตร ประกอบด้วยส่วนที่เรียกว่า ซีกัม (Cecum) โคลอน
(Colon) ไส้ตรง (Rectum) และ ทวารหนัก(Anus) ดังภาพที่ 2.35




                    ภาพที่ 2.35 โครงสร้างของลาไส้ใหญ่


                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)                                              สาขาวิชาชีววิทยา
                                                   78
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3                                         บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร


       เซลล์ที่ผนังด้านในของลาไส้ใหญ่จะดูดซึมน้า วิตามิน และแร่ธาตุ โดยมีการขับเมือกมาหล่อลื่นเพื่อ
ช่วยในการเคลื่อนที่ของกากอาหาร นอกจากนี้ในบริเวณลาไส้ใหญ่ยังมีแบคทีเ่ รียพวก Escherichia coli
ส่วนใหญ่ไม่เป็นอันตรายต่อคน ดารงชีวิตโดยอาศัยสารอาหารจากกากอาหาร และยังสังเคราะห์วิตามินเค
วิตามินบี 12 กรดโฟลิก ไบโอติน ซึ่งถูกดูดซึมและลาเลียงไปใช้ไปใช้ในร่างกายของคนได้ นอกจากนียังมี
                                                                                           ้
แก๊สที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลายอาหารของแบคที่เรีย คือ มีเทนและไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งบางครั้งจะ
ถูกขับออกมาโดยการผายลม




                   เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
                                ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น

More Related Content

What's hot

ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 

What's hot (20)

ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 

Similar to ใบความรู้การย่อยอาหาร

ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
Aphisit Aunbusdumberdor
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
สุขใจ สุขกาย
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
thitichaya24
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
thitichaya24
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Wichai Likitponrak
 
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdfระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ssuser2feafc1
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
issarayuth
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
CoralLec01
CoralLec01CoralLec01
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
AmPere Si Si
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 

Similar to ใบความรู้การย่อยอาหาร (20)

ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdfระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
sense organs
sense organssense organs
sense organs
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
16 prosth[1]
16 prosth[1]16 prosth[1]
16 prosth[1]
 
CoralLec01
CoralLec01CoralLec01
CoralLec01
 
หู
หูหู
หู
 
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 

ใบความรู้การย่อยอาหาร

  • 1. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 62 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร การย่อยอาหารของคน อาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะผ่านเข้าไปในส่วนต่าง ๆ ของทางเดินอาหาร (ดังภาพที่ 2.18) ซึ่ง ประกอบด้วย 1. ส่วนที่เ ป็นทางเดิ นอาหาร (Digestive Tract) ประกอบด้วย ปาก(Mouth) คอหอย(Pharynx) หลอดอาหาร (Esophagus) กระเพาะอาหาร (Stomach) ลาไส้เล็ก (Small intestine) ลาไส้ใหญ่ (Large intestine) และทวารหนัก (Anus) 2. ส่วนที่จาเป็นต่อการทางานของระบบทางเดินอาหาร (Associated glandular organs) ได้แก่ ต่อมน้าลาย (Salivary gland) ตับ (Liver) ถุงน้าดี (Gallbladder) และตับอ่อน (Pancreas) นอกจากนี้ ส่วนต่างๆ ของทางเดินอาหารจะมีกล้ามเนื้อหูรูด (Sphincter) กั้น แบ่งออกเป็นตอน ๆ ดังนี้ คือ 1. กล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารตอนบน (Upper esophageal sphincter) อยู่บนบริเวณหลอด อาหารตอนบน 2. กล้ามเนื้อหูรูดหลอดอาหารตอนล่าง (Lower esophageal sphincter หรือ Cardiac sphincter) อยู่บนบริเวณหลอดอาหารตอนล่าง 3. กล้ามเนื้อหูรูดไพลอรัส (Pyloric sphincter) อยู่บริเวณตอนปลายของหลอดอาหารติดต่อกับ กระเพาะอาหาร 4. กล้ามเนื้อหูรูดอิลีโอซีคัล (Eleocecal sphincter) อยู่บริเวณตอนปลายของลาไส้เล็ก 5. กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักด้านในและด้านนอก (Internal และ External anal sphincter) อยู่ บริเวณทวารหนัก ภาพที่ 2.18 โครงสร้างของทางเดินอาหาร เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 2. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 63 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร การย่อยอาหารในปาก 1. ส่วนประกอบของปาก (ภาพที่ 2.19)ได้แก่ ภาพที่ 2.19 ส่วนประกอบของปาก 1.1 ริมฝีปาก (Lip) เป็นส่วนที่พบเฉพาะในสัตว์ทเี่ ลียงลูกด้วยน้านม ใช้สาหรับเป็นที่อยู่ของ ้ อาหารตอนที่กาลังเคี้ยวอาหาร ริมฝีปากประกอบด้วยกล้ามเนื้อทีเ่ คลื่อนไหวไปมาได้ 1.2 ช่องแก้ม (Buccal cavity) คือส่วนที่ถัดจากริมฝีปาก อยู่ระหว่างฟันกับแก้มมีต่อมที่บริเวณ เยื่อบุข้างแก้มเป็นจานวนมาก และประกอบด้วยต่อมน้าลาย (Salivary gland) 1.3 โพรงปาก (Oral cavity) อยู่ภายในอุ้งฟันหมดเขตบริเวณลินไก่ (Uvula) ส่วนบนตอนหน้า ้ ของโพรงปากเป็นเพดานแข็ง (Hard palate) และทางส่วนท้ายเป็นเพดานอ่อน (Soft palate) บนเพดาน แข็งจะมีสันตามขวางหลายอันทาให้อาหารทีเ่ ข้าปากหลุดออกมายาก ส่วนเพดานอ่อนห้อยโค้งลงมาใกล้ กับโคนลิ้น ส่วนขอบปลายสุดของเพดานอ่อนยังมีต่อมน้าเหลืองอีกคูหนึ่งซึ่งอยูในแอ่งเล็ก ๆ มีหน้าที่ ่ ่ สาหรับเป็นกับดักแบคที่เรียในปากไม่ให้เข้าไปในทางเดินอาหรส่วนอื่น ๆ ต่อมน้าเหลืองนี้คือ ต่อมทอนซิล (Palatine tonsil) เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 3. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 64 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร 1.4 ลิ้น (Tongue) ลิ้นของคน ส่วนมากใช้เป็นอวัยวะในการรับรสประกอบด้วยกล้ามเนื้อแป็นส่วน ใหญ่ จึงเคลื่อนไหวได้หลายอย่างและใช้งานได้ดี เช่น เป็นส่วนสาคัญในการการพูดของคน ช่วยในการ ตะล่ อ มอาหารให้ ค ลุ ก เคล้ า กั บ น้ าลายจนทั่ ว และช่ว ยในการกลื น เป็ น ต้ น นอกจากนี้ผิ ว ของลิ้ น ยั ง ประกอบด้วยตุ่มปลายประสาทสาหรับรับรสเป็นจานวนมาก 1.5 ฟัน (Tooth) (ภาพที่ 2.20) เป็นส่วนที่ทาหน้าทีบดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ฟันแต่ละซี่จะมี ่ ส่วนประกอบดังนี้ ภาพที่ 2.20 โครงสร้างของฟันกรามบนและฟันเขี้ยวตัดตามยาว 1) ตัวฟัน (Crown) คือส่วนที่โผล่พ้นเหงือกหรือโผล่ออกจากกระดูกขากรรไกร เมื่อผ่าตามยาวจะ เห็นส่วนประกอบของตัวฟันดังนี้ - ชั้ น สารเคลื อ บฟั น (Enamel) อยู่ ชั้ น นอกสุ ด เป็ น สารสี ข าวเนื้ อ แน่ น ประกอบด้ ว ย แคลเซียม เป็นส่วนที่แข็งแรงทนทานทาหน้าที่ปกป้องเนื้อฟันไม่ให้ได้รับอันตรายและใช้สาหรับบดเคี้ยว อาหาร - ชั้นเนื้อฟัน(Dentin) เป็ นส่วนที่สารเลือบฟันหุ้มไว้ ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อเกี่ ยวพันที่หนามาก ประกอบด้วยแคลเซียมปริมาณมาก เนื้อฟันจะยาวไปถึงรากฟัน ภายในมี โพรงฟัน (Pulp cavity) ซึ่งเป็น เนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่อ่อนนุ่ม มีเส้นเลือดและเส้นประสาทมาก เส้นเลือดและเส้นประสาทจะเข้าสู่ส่วนในของ ฟันทางรากฟัน ซึ่งมีส่วนติดต่อกันเรียกว่า คลองรากฟัน (Root canal) ส่วนประกอบทางเคมีของสารเคลือบฟัน (Enamel) และเนื้อฟัน (Dentin) ของฟัน คน ส่วนใหญ่เป็นแคลเซียมฟอสเฟตและแคลเซียมฟลูออไรด์ นอกจากนี้ก็เป็นแคลเซียมคาร์บอเนต แมกนีเซียม ฟอสเฟต เกลืออื่น ๆ และอินทรียวัตถุต่างๆ ดังตารางต่อไปนี้ เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 4. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 65 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร ตารางที่ 2.4 เปรียบเทียบส่วนประกอบทางเคมีที่สาคัญของสารเคลือบฟัน (Enamel)และเนื้อฟัน (Dentin) Composition Dentin Enamel Calcium phosphate and fluoride 66.72 89.82 Calcium carbonate 3.36 4.37 Magnesium phosphate 1.08 1.34 Other salt 0.83 0.88 Organic matter 28.01 3.59 100.00 100.00 2) รากฟัน (Root) เป็นส่วนที่อยู่ในเหงือก และเป็นส่วนของฟันที่ฝังอยู่ในช่องกระดูกขากรรไกร และยึดติดกับกระดูกโดยเนื้อเยื่อเกี่ยวฟันที่แข็งแรง มีจานวน 1-3 รากขึ้นอยู่กับชนิดของฟัน รากฟันมีสารที่ เรียกว่า ซีเมนตัม (Cementum) รูปร่างและหน้าที่ของฟัน 1. ฟันตัด (Incisor) หรือฟันกัด ทาหน้าที่ตัดอาหารหรือกัดอาหาร มีรูปร่างบางคล้ายลิ่ม มีอยู่ข้าง ละ 2 ซี่ ทั้งส่วนบนและส่วนล่าง ในสัตว์กินพืชฟันบนจะหายไป กลายเป็นแผ่นแข็ง สาหรับสัตว์แทะฟันตัด จะเจริญดีที่สุด 2. ฟันฉีก (Canine) หรือฟันเขี้ยว ทาหน้าที่ฉีกอาหารและรัก ษาทรงมุ มปากมิให้ดูบุ๋ ม มีรูปร่าง แหลม มีข้างละ 1 ซี่ ในสัตว์กินเนื้อฟันเขี้ยวจะเจริญดีที่สุด มีไว้ล่าเหยื่อโดยเฉพาะ ในสัตว์กินเขี้ยวจะไม่มี หน้าที่สาคัญ เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 5. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 66 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร 3. ฟันกรามหน้า (Premolar) หรือฟันกรามน้อย ทาหน้าที่บดอาหาร มีข้างละ 2 ซี่ ในสัตว์กินเนื้อ เช่น สุนัข กรามหน้าเจริญดีเที่ยบเท่ากับเขี้ยว 4. ฟันกรามหลัง (Molar) หรือฟันกราม ทาหน้าหน้าที่บดอาหารให้ละเอียด มีขนาดใหญ่กว่าฟัน กรามหน้า มีข้างละ 3 ซี่ ด้านที่สบกันของฟันมีสารเคลือบที่แข็งแรงมาก โดยเฉพาะในสัตว์กินพืช การเขียนสูตรฟัน I .C . P. M สูตรฟัน = I .C . P. M ++ ภาพที่ 2.21 โครงสร้างของฟันน้านม ภาพที่ 2.22 โครงสร้างของฟันแท้ หน้าที่ของฟัน 1. ใช้บดเคี้ยวอาหาร ฟันจะทาหน้าที่บดอาหารชิ้นใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง ทาให้พื้นที่ผิวของอาหาร ที่สัมผัสกับเอนไซม์ทย่อยมีมากขึน และย่อยได้ง่ายขึ้นด้วย ี่ ้ 2. ช่วยป้องกันมิให้อาหารหลุดออกจากปากได้ง่าย 3. รักษารูปใบหนา ้ 4. ช่วยในการออกเสียงให้ชดเจนยิงขึ้น ั ่ เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 6. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 67 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร 1.6 ต่อมน้้าลาย (Salivary gland) (ภาพที่ 2.23)ในปากส่วนที่ปล่อยน้าย่อยออกมา คือ ต่อม น้าลาย (Salivary gland) ซึ่งมีอยู่ในตาแหน่งต่าง ๆ ของช่องปาก 3 แห่ง แห่งละคู่ ดังรูปที่ ต่อมทั้งสามคู่นี้ คือ ภาพที่ 2.23 ต่อมน้าลาย 1. ต่อมน้้าลายใต้กกหู (Parotid glands) อยู่ด้านหน้าของกกหู มีขนาดใหญ่ที่สุด ปล่อยน้าลาย ออกมาตามท่อ Stensen’s duct น้าลายมีองค์ประกอบเป็นน้า เกลือ และเอนไซม์อะไมเลสย่อยแป้ง แต่ไม่ สร้างมิวซิน (Mucin) ซึ่งเป็นเมือกน้าลายจึงมีลักษณะใส และมีน้ามาก ต่อมน้าลายใต้กกนี้ถ้าเกิดการติด เชื้อไวรัสจะทาให้อาการคางทูม (Mumps) ต่อมนี้สร้างน้าลายประมาณ 25% 2. ต่อมน้้าลายใต้ลิ้น (Subligual glands) อยู่บริเวณใต้ลิ้น เป็นต่อมน้าลายที่เล็กที่สุด น้าลายมี ลักษณะเหนียวมากกว่าใส มีเมือกมาก แต่มีเอนไซม์อะไมเลสน้อย ต่อมนี้สร้างน้าลายประมาณ 5% 3. ต่อมน้้าลายใต้ขากรรไกร (submandibular glands) เดิมเรียกว่า Submaxillary glands อยู่ ใต้ขากรรไกรล่าง ส่งน้าลายออกมาตามท่อ Wharton’s duct สร้างน้าลายชนิดใสมากกว่าชนิดเหนีย ว ต่อมนี้สร้างน้าลายประมาณ 70% เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 7. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 68 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร 2. การย่อยอาหาร อาหารที่เข้ามาอยู่ใ นปากมีการเปลี่ยนสภาพโดยฟันบดเคี้ยว ทาให้มีขนาดเล็กลง กระบวนการ เช่น นี้ถื อว่าเป็น การย่ อยอาหารเชิงกล (Mechanical digestion) ซึ่งรวมทั้งการย่อยโดยการบีบ ตัวของ ทางเดิน อาหารด้วย การย่ อยชนิดนี้เ ป็ นการเปลี่ย นขนาดของชิ้น อาหาร แต่โมเลกุ ลของสารอาหารยั ง เหมือนเดิม การเคี้ยวอาหาร (Mastication หรือ Chewing) เกิดจากการเคลื่อนไหวของฟัน ลิน แก้ม ้ ริมฝีปาก ขากรรไกรล่าง เพื่อช่วยทาให้อาหารแตกสลายมีขนาดเล็กลง และเกิดการคลุกเคล้ากับน้าลาย และปั้นเป็นก้อนเล็ก ๆ เปียกชื้น และอ่อนนุ่ม ที่เรียกว่า ก้อนโบลัส (Bolus) เพื่อให้สะดวกในการกลืน การย่อยอาหารอีกขั้นหนึ่ง จะเป็นการเปลี่ยนขนาดโมเลกุลอาหารให้เล็กลงโดยน้า พร้อมกับมี เอนไซม์หรือน้าย่อยเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ช่วงนี้เรียกว่า การย่อยอาหารทางเคมี (Chemical digestion) น้าลายมีน้าย่อยที่สามารถเปลี่ยนแป้งเป็นน้าตาล ซึ่งเป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่ง แต่เอนไซม์มิได้ หมายถึงเฉพาะน้าย่อยเท่านั้น ในการย่อยอาหารตัวทาปฏิกิริยาจริงๆ คือ น้า เรียกว่า เกิดปฏิกิริยาไฮโดร ไลซิส (Hydrolysis) โดยมีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา แป้งจะถูกย่อยให้โมเลกุลเล็กลง โดยมักอยู่ในรูปของ เด็กซ์ทริน (Dextrin) ซึ่งมีขนาดโมกุลใหญ่กว่าน้าตาล แต่มีบางส่วนที่อาจถูกย่อยเป็นน้าตาลโมเลกุลคู่ และ ส่วนน้อยเป็นโมเลกุลเดียว แล้วแต่ว่าน้าจะสลายพันธะของแป้งบริเวณใด เช่น สลายปลาย ๆ โมเลกุลแป้ง ่ อาจได้น้าตาลโมเลกุลคูหรือโมเลกุลเดี่ยว แต่ถ้าสลายกลางโมเลกุลแป้ง อาจจะได้เด็กซ์ทริน เป็นต้น ่ เมื่ออาหารถูกบดเคี้ยวในปากแล้วอาหารจะผ่านเข้าสู่หลอดอาหารโดยการกลืนซึ่งเป็นกระบวนการ ดังนี้ 1. The oral phase เป็นการเริ่มต้นการกลืน ซึ่ง อยู่ภายใต้อานาจของจิตใจ เมื่อหารพร้อมทีจะถูกกลืนก็ ่ จะถูกม้วนเข้าไปในคอหอย(Pharynx) โดยอาศัยการดัน ของลิ้น 2. The pharyngeal phase เริ่มจากที่เพดาน เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 8. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 69 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร อ่อน (Soft palate) จะถูกดึงปิดทางติดต่อกับโพรงจมูก(Nasal cavity) เพื่อไม่ให้อาหารเข้าไปในโพรงจมูก และเปิดทางในโพรงจมูก และเปิดทางให้อาหารเคลื่อนเข้าไปคอหอย และฝาปิดกล่องเสียง (Epiglottis) จะ ยกปิ ดหลอดลมและช่วยให้ก ล้ามเนื้อหูรูดตอนบนของหลอดอาหารคลายตัว และขณะที่ก ล้มเนื้อหูรูด ตอนบนคลายตัวเพื่อรับอาหาร กล้ามเนื้อที่ผนังคอหอยจะหดดันอาหารเข้าไปในหลอดอาหารตอนบน 3. The esophageal phase เมื่ออาหารผ่านเข้าไปในหลอดอาหาร กล้ามเนื้อหู รูดของหลอด อาหารจะปิด ฝาปิดกล่องเสียงจะเปิด มีการบีบตัวของหลอดอาหารแบบเพอริสตัลซิส (Peristalsis) ตามปกติอาหารจะเคลื่อนที่ผ่านหลอดอาหารถึงกระเพาะอาหารจะใช้เวลาประมาณ 5-10 วินาที่ ถ้าอาหารที่กลืนอยู่ในสภาพของเหลวจะทาให้การเคลื่อนที่ผ่านหลอดอาหารได้เร็วขึ้น การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร 1. ส่วนประกอบของกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารแบ่งออกเป็น 4 ส่วน (ภาพที่ 2.24) คือ ส่วนต้น เรียกว่า ส่วนคาร์ดิแอค (Cardiac region) เป็นส่วนใกล้หัวใจและอยู่ติดอยูกับหลอดอาหาร กระเพาะอาหารส่วนที่สอง เรียกว่า ่ ฟัสดัส (Fundus) มีขนาดเล็กอยุ่เหนือระดับคาร์ดิแอคสฟิงเตอร์ ส่วนที่สามคือ บอดี (Body) เป็นพืนที่ส่วน ้ ใหญ่ของกระเพาะ และส่วนสุดท้าย คือ ไพลอรัส (Pylorus) หรือ แอนทรัม (Antrum) ส่วนนี้อยู่ติดกับลาไส้ เล็กส่วนต้น ภาพที่ 2.24 ส่วนประกอบของกระเพาะอาหาร ผนังกระเพาะอาหารประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบ 3 ชัน คือ ชั้นนอกสุดเป็นกล้ามเนื้อเรียบ ้ ตามยาว (Longitudinal layer) ซึ่งต่อเนื่องจากกล้ามเนื้อของหลอดอาหาร ชั้นกลางเป็นกล้ามเนื้อวง (Circular layer) และชั้นในสุดเป็นกล้ามเนื้อทะแยง (Oblique layer) เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 9. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 70 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร เมื่อกระเพาะอาหารยังว่างอยู่ ที่ชนเยื่อเมือก (Mucosa) จะพับย่นซ้อนกัน เรียกว่า รูกี ั้ (Rugae) เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการขยายขนาดกระเพาะอาหารเมื่ออาหารเข้าไป และมีต่อมสร้างน้าย่อย อาหาร (Gastric gland) อยู่มากมาย จากต่อมเหล่านี้จะมีรูเปิดของท่อเรียกว่าแกสตริกพิท (Gastric pit) มาเปิดที่ผิวชั้นเยื่อเมือก เซลล์ที่สร้างน้าย่อยอาหารมีหลายชนิด(ภาพที่ 2.25) ได้แก่ 1. ชีฟเซลล์ (Chief cell) หรือไซโมเจนิกเซลล์ (Zymogenic cell) สร้างเอนไซม์ในรูปโพ รเอนไซม์ ชื่อ เพปซิโนเจน และโพรเรนนิน นอกจากนี้ยงหลังแกสตริกไลเปส ั ่ 2. พาริเอตัลเซลล์ (Parietal cell) หรือออกซินติกเซลล์(Oxyntic cell) สร้างกรดเกลือ (HCl) ที่ช่วยในการเปลี่ยนโพรเอนไซม์ไปเป็นเอนไซม์ และสร้างอินทรินซิกแฟกเตอร์ (Intrinsic factor) ที่ จาเป็นในการดูดซึมวิตามิน B12 3. มิวคัสเซลล์ (Mucus cell) ทาหน้าที่สร้างเมือก (Mucus) มีฤทธิเ์ ป็นเบสไปป้องกันชั้นเยื่อ เมือกของกระเพาะ ไม่ให้เป็นอันตรายจากกรดและน้าย่อยเพปซิน 4. เอนเทอโรเอนโดไครน์เซลล์ (Enteroendocrine cells) ทาหน้าทีหลั่งฮอร์โมนแกสตริน ่ (Gastrin) เซโรโทนิน (Serotonin) ฮีสตามีน (Histamine) และโซมาโตสเตติน (Sematostatin) ภาพที่ 2.25 ลักษณะของเซลล์ชนิดต่างๆ ในกระเพาะอาหาร 2. หน้าที่ของกระเพาะอาหาร 1. เป็นทีเ่ ก็บอาหารจนกว่าจะถึงเวลาส่งต่อไปยังลาไส้เล็ก (Storage) 2. คลุกเคล้าอาหารกับน้าย่อยจนมีลักษณะกึ่งของเหลว (Chyme) เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 10. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 71 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร 3.ค่อย ๆ ปล่อยอาหารไปยั งลาไส้ด้วยความเร็วที่พอเหมาะต่อการย่ อยและการดูดซึมใน ลาไส้เล็ก 3. การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร 3.1 การย่อยโปรตีน โปรตีนเริ่มถูกย่อยที่กระเพาะอาหาร โดยมีโพรเอนไซม์ทชื่อว่าเพปซิโนเจน (Pepsinogen) จาก ี่ ชีฟเซลล์ และมีการหลั่งกรดเกลือมาจากพาริเอตัลเซลล์ กรดเกลือจะเปลี่ยนเพปซิโนเจน ซึ่งไม่สามารถ ทางานได้กลับมาทางานได้ โดยเป็นเอนไซม์เพปซิน (ภาพที่ 2.26) นอกจากกรดเกลือจะเปลี่ยนเพปซิโนเจน เป็นเพปซินแล้ว เพปซินที่ออกมายังไปเปลียนเพปซินโนเจนให้เป็นเพปซินได้ด้วย เอนไซม์เพปซินจะสลาย ่ พันธะเฉพาะที่อยู่ระหว่างกรดอะมิโน Tyrosine Phenylalanin และTyptophan จนได้โพลีเพปไทด์ที่เล็กลง ภาพที่ 2.26 การสร้างเอนไซม์เพปซิน สาหรับทารก เริ่มแรกจะหลั่งออกมาในรูปโพรเรนนิน (Prorennin) แลว้จึงเปลี่ยนไปเป็นเรนนินเมื่อ ถูกกระตุนด้วยกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ในกระเพาะอาหาร เรนนินจะทาหน้าทีย่อยเคซีน (Casein) ซึ่งแป็น ้ ่ โปรตีนในน้านมแล้วมารวมกับแคลเซียม กลายเป็นพาราเคซีน (Paracasein) ซึ่งลักษณะเป็นลิ่ม ๆ ไม่ ละลายน้า จากนั้นจะถูกเพปซินย่อยต่อไป ดังแผนภาพ เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 11. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 72 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร เรนนิน น้านม เคซีน เคซีน + แคลเซียม พาราเคซีน เพปซิน พาราเคซีน โปรตีนเล็กลง ถึงแม้เซลล์บุผิวจะถูกทาลายไปบ้าง แต่ก็จะมีการสร้างขึ้นทุก 3 วัน ในกรณีที่เป็นแผลในกระเพาะ อาหาร (Ulcer) ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากแบคที่เรียทนกรดชนิดหนึ่งชื่อ Helicobacter pylori และมีอาการ มากขึ้นเมื่อกรดและเอนไซม์เพปซินทาลายเซลล์เร็วมากจนสร้างทดแทนไม่ทัน ภาพที่ 2.27 การบีบตัวของกระเพาะอาหารเพื่อไล่อาหารไปสู่ลาไส้เล็ก การย่อยอาหารของล้าไส้เล็ก อาหารที่ย่อยแล้วบางส่วนและยังไม่ได้ย่อยเคลื่อนผ่านกล้ามเนื้อหูรูดของกระเพาะอาหารเข้าสู่ ลาไส้เ ล็ก ลาไส้เ ล็ก มีลัก ษณะเป็ นท่อยาวประมาณ 6-7 เมตร ขดอยู่ใ นช่องท้อง แบ่ งออกเป็ น 3 ส่วน ส่วนต้น ที่ ต่อจากกระเพาะอาหารเป็ น ท่อโค้ งรูป ตัวยู ยาวประมาณ 25 เซนติ เ มตร เรีย กว่า ดูโอดินั ม (Duodenum) ส่วนถัดไป เรียกว่า เจจูนัม (Jejunum) ยาวประมาณ 2.50 เมตร และไอเลียม (Ileum) เป็น เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 12. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 73 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร ส่วนสุดท้ายยาวประมาณ 4 เมตร ดังภาพ 2.28 การย่อยอาหารในลาไส้เล็กเกี่ยวข้องกับการทางานของตับ ตับอ่อน และผนังลาไส้เล็ก ซึ่งหลั่งสารออกมาทางานร่วมกัน ภาพที่ 2.28 แสดงโครงสร้างของลาไส้เล็ก เมื่ออาหารจากกระเพาะอาหารเข้าสู่ลาไส้เ ล็ก ส่วนดูโอดินัม (ภาพที่ 2.29) ดูโอดินัมจะสร้า ง ฮอร์โมนมากระตุ้ น ตับ อ่อนให้สร้างสารโซเดีย มไฮโดรเจนคาร์บ อเนตซึ่งมีฤทธืเ ป็น เบสปล่อยออกมาสู่ ดูโอดินัมเพื่อลดความเป็นกรดของอาหาร ภาพที่ 2.29 ความสัมพันธ์ระหว่างตับอ่อน และดูโอดินัม เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 13. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 74 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร การย่อยโปรตีน ตับอ่อน (Pancreas) ทาหน้าที่เป็นทั้งต่อมไร้ท่อและต่อมมีท่อ ส่วนที่เป็นต่อมไร้ท่อทาหน้าที่สร้า ง ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระดับน้าตาลในเลือด ส่วนที่เป็นต่อมมีท่อทาหน้าที่สร้างเอนไซม์แล้วส่ง ให้ ล าไส้ เ ล็ ก เช่ น เอนไซม์ ท ริ ป ซิ โ นเจน (Trypsinogen) ไคโมทริ ป ซิ น (Chymotrypsinogen) และ โพรคาร์บอกซิเพปซิเดส (Procaboxypeptidase) เพื่อป้องกันการย่อยเซลล์ของตับอ่อนเอง เอนไซม์เหล่านี้ จะอยู่ ใ นสภาพที่ ยั ง ไม่ ส ามารถท างานได้ จ นเกว่ า จะเข้ า สู่ ล าไส้ เ ล็ ก ล าไส้ เ ล็ ก จะสร้ า งเอนไซม์ เอนเทอโรไคเนส (Enterokinase) เปลี่ยนเปลี่ยนทริปซิโนเจนให้เป็นทริปซิน (Trypsin) และทริปซินเองจะ เปลี่ยนไคโมทริปซิโนเจนให้เป็นไคโมทริปซิน (Chymotrypsin) และเปลี่ยนโพรคาร์บอกซิเพปทิเดสให้เป็น คาร์บอกซิเพปซินเดส (Carboxypeptidase) ซึ่งพร้อมจะทางานได้ ดังภาพที่ 2.30 ภาพที่ 2.30 การทางานร่วมกันของเอนไซม์จากตับอ่อนและลาไส้เล็ก เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 14. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 75 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร ทั้งทริปซินและไคโมทริปซินจะย่อยโปรตีนให้เป็นเพปไทด์ ส่วนคาร์บอกซิเพปทิเดสจะย่อยโปรตีนและเพป ไทด์ให้เป็นกรดอะมิโนเซลล์ผนังด้านในของลาไส้เล็กส่วนดูโอดินัมจะผลิตเอนไซม์หลายชนิด ได้แก่ อะมิโน เพปซิเดส ไดเพปซิเดส ไตรเพปซิเดส โดยเอนไซม์เหล่านี้จะย่อยเพปไทด์ให้เป็นกรดอะมิโน การย่อยคาร์โบไฮเดรต ตับอ่อนสร้างเอนไซม์อะไมเลสแล้วส่งต่อมาที่ลาไส้เล็กเพื่ อย่อยแป้ง ไกลโคเจนและเดกซ์ทรินให้ เป็น มอลโทส ส่วนเซลล์ผนังด้านในของส่วนดูโอดินัมจะผลิตเอนไซม์มอลเทสย่ อยมอลโทส นอกจากนี้ ผนังลาไส้เ ล็ก ยังผลิต เอนไซม์ซูเ ครสย่ อยซูโครสให้เ ป็ น กลูโคสและฟรัก โทส และเอนไซม์แลกเทสย่ อย แลกโทสให้เป็นกลูโคสและกาแลกโทส การย่อยลิพิด ตับสร้างน้าดี (Bile) เก็บไว้ที่ถุงน้าดี (Gallblader) จากถุงน้าดีจะมีท่อนาน้าดีมาเปิดเข้าสู่ดูโอดินัม น้าดีมีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ เกลือน้าดี (Bile salt) ช่วยให้ไขมันแตกตัวเป็นหยดไขมันเล็ก ๆ และแทรก รวมกับน้าได้ในรูปอิมัลชัน (Emulsion) ตับอ่อนและเซลล์ที่ผนังลาไส้เล็กจะสร้างเอนไซม์ลิเพส ซึ่งจะย่อย ไขมันในรูปอิมัลชันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล เกลือน้าดีจะถูกดูดซึมที่ลาไส้ใหญ่ เพื่อให้ตับนากลับ มาใช้ใหม่ ภาพที่ 2.31 การย่อยลิพิด เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 15. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 76 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร การดูดซึมอาหาร ลาไส้เล็กมีการดูดซึมสารอาหารได้ดี เนื่องจากผนังด้านในของลาไส้เล็กซึ่งบุด้วย เซลล์บุผิวชั้นเดียวมี ส่วนที่ยื่น เล็ก ๆ คล้ายนิ้ว เรียกว่า วิลลัส (Villus) เป็น จานวนมาก ความหนาแน่นของวิลลัสมีประมาณ 20 –40 หน่วยต่อพื้น ที่ 1 ตารางเซนติเ มตร ทาให้มีพื้น ที่ผิวในการดูดซึมได้มากขึ้น และด้านนอกของ เซลล์บุผิวนี้ยังมีส่วนยื่นออกไปเรียกว่า ไมโครวิลลัส (Microvillus) ดังภาพที่ 2.32 ซึ่งเป็นการเพิ่มพื้นที่ผิว ในการดู ดซึม ภายในวิลลั สมีห ลอดเลือ ดฝอย และท่ อน้าเหลื อง ซึ่งจะรับ สารอาหารที่ ถู ก ดู ดซึม ผ่า น เซลล์บุผิวของวิลลัสเข้าไป ภาพที่ 2.32 ลักษณะโครงสร้างภายในของลาไส้เล็ก สารอาหารต่าง ๆ ที่ย่อยแล้วได้แก่ กรดอะมิโน โมโนแซ็กคาไรด์ จะถูกดูดซึมเข้าสู่ไมโครวิลลัสของ เซลล์บุผิวของลาไส้เล็กแล้วลาเลียงเข้าสู่เส้นเลือดฝอย ดังภาพที่ 2.33 ก่อนที่จะถูกลาเลียงไปตามเส้นเลือด เวนผ่านตับแล้วจึงเข้าสู่หัวใจ ส่วนสารอาหารจาพวกกรดไขมันและกลีเซอรอล เมื่อเข้าสู่เซลล์ไมโครวิลลัส ของเซลล์บุผิวแล้ว จะถูกสังเคราะห์ให้เป็นไตรกลีเซอไรด์ภายในเซลล์บุของวิลลัส แล้วจึงถูกลาเลียงโดย หลอดน้าเหลืองฝอย ดังภาพที่ 2.34 เข้าสู่หัวใจโดยไม่ผ่านตับ เลือดที่ออกจากหัวใจจะนาสารอาหารไป เลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 16. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 77 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร ภาพที่ 2.33 การดูดซึมกรดอมิโนและโมโนแซ็กคาไรด์ ภาพที่ 2.34 การดูดซึมกรดไขมันและกลีเซอรอล สารอาหารเกื อบทุ ก ชนิ ด จะถู ก ดู ด ซึ มที่ ลาไส้เ ล็ ก อาหารที่ ย่ อ ยไม่ ห มดหรื อย่ อ ยไม่ ได้ เรี ย กว่ า กากอาหาร รวมทั้งน้า วิตามิน และแร่ธาตุบางส่วนที่ไม่ถูกดูดซึมจากลาไส้เล็ก การดูดซึมอาหารที่ลาไส้ใหญ่ ้ ลาไส้ใหญ่ของคนยาวประมาณ 1.50 เมตร ประกอบด้วยส่วนที่เรียกว่า ซีกัม (Cecum) โคลอน (Colon) ไส้ตรง (Rectum) และ ทวารหนัก(Anus) ดังภาพที่ 2.35 ภาพที่ 2.35 โครงสร้างของลาไส้ใหญ่ เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น
  • 17. โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) สาขาวิชาชีววิทยา 78 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ว 40143 ชีววิทยา3 บทที่ 3 ระบบการย่อยอาหาร เซลล์ที่ผนังด้านในของลาไส้ใหญ่จะดูดซึมน้า วิตามิน และแร่ธาตุ โดยมีการขับเมือกมาหล่อลื่นเพื่อ ช่วยในการเคลื่อนที่ของกากอาหาร นอกจากนี้ในบริเวณลาไส้ใหญ่ยังมีแบคทีเ่ รียพวก Escherichia coli ส่วนใหญ่ไม่เป็นอันตรายต่อคน ดารงชีวิตโดยอาศัยสารอาหารจากกากอาหาร และยังสังเคราะห์วิตามินเค วิตามินบี 12 กรดโฟลิก ไบโอติน ซึ่งถูกดูดซึมและลาเลียงไปใช้ไปใช้ในร่างกายของคนได้ นอกจากนียังมี ้ แก๊สที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลายอาหารของแบคที่เรีย คือ มีเทนและไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งบางครั้งจะ ถูกขับออกมาโดยการผายลม เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับนี้ยังอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไข ใช้สาหรับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เท่านั้น