SlideShare a Scribd company logo
1 of 89
ชีววิทยาปะการัง
งศักดิ์ จันทร์เมธากุล สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ม.ราชภัฎภูเ
m Coelenterates แบ่งออกเป็น 4 class
Class
Subclass Subclass
ภาพไดอะแกรม
แสดงลักษณะ
โครงสร้างตัว
ปะการัง (polyp)
และโครงสร้าง
หินปูน (external
skeleton) ที่
รองรับข้างล่าง
ส่วนประกอบของโพลิปแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ
1. Oral disc
Oral disc เป็นส่วนบนประกอบด้วยปาก ซึ่งเป็นช่องเปิดเข้าไปสู่ช่องว่างภายในลำาตัว
(gastrovascular cavity) รอบปากมีแผ่นแบนเรียกว่า peristome ตอนบนเป็น
หนวด (tentacle) เรียงตัวรอบปาก มีทั้งหมด 6 เส้น หรือทวีคูณของ 6 ตรง
• เซลล์เข็มพิษ (stringing cell) พบบริเวณเนื้อเยื่อชั้น
นอกตอนปลายของหนวดปะการัง ภายในมีเข็มพิษที่ทำา
หน้าที่ล่าเหยื่อ รวมถึงป้องกันตัวเองและแก่งแย่งพื้นที่
กับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในแนวปะการัง เซลล์เข็ษพิษมีมาก
ที่สุดบริเวณตอนปลายของหนวด
Column เป็นส่วนที่มีรูปร่างคล้ายทรงกระบอก ภายในประกอบด้วย stomodeaum เป็นท่อขนาดสั้น
ทำาหน้าที่คล้ายคอหอย เป็นทางเชื่อมต่อระหว่างปากกับช่องว่างภายในลำาตัว mesentery เป็น
เนื้อเยื่อแผ่นแบนติดอยู่กับส่วนล่างของ oral disc อีกด้านเชื่อมต่อกับผนังส่วนใน ด้านล่างไม่
เชื่อมติดกับส่วนใด ส่วนนี้มี mesentery filament เป็นแผ่นยาวคล้ายริบบิ้นทำาหน้าที่ช่วยย่อย
ดูดซึมอาหาร และขับถ่ายของเสีย นอกจากนั้นยังเป็นที่ตั้งและพัฒนาของเซลล์สืบพันธ์
ส่วนประกอบอื่น ๆ ของโพลิป
Coenosarc เกิดจาก edge zone ของโพลิปที่อยู่ใกล้มาเชื่อมติดกัน ทำาให้โพลิปมีการเชื่อม
ต่อกันหลาย ๆ โพลิป เกิดเป็นโคโลนี
มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ epidermis และ gastrodermis ชั้น
ตรงกลางระหว่างเนื้อเยื่อทั้งสองเรียกว่า mesoglea
nal organism หมายถึงสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นโคโลนี มีการจัดสรรพ
สารอาหารถึงกันภายในโคโลนี
ternal skeleton of Ring coral (Favia
โครงร่างแข็งเป็นหินปูนแบบ aragonite
กระบวนการสร้างโครงสร้างแข็ง (calcification)
ของปะการังเป็นสมมุติฐานที่เกี่ยวกับการแยกตัว
ของแคลเซียมคาร์บอเนต CaCO3 (ของแข็ง)
ออกจากแคลเซียมไบคาร์บอเนต Ca(HCO3)2
เมื่อได้รับกรดคาร์บอนิก H2CO3
Ca(HCO3)2= CaCO3 (ของแข็ง) +H2CO3 =H2O+CO2
าร์บอเนต=แคลเซียมคาร์บอเนต+กรดคาร์บอนิก=นำ้าทะเล+คาร์บอ
ครงร่างหินปูนของปะการัง (Coral skelet
Ecomorph
coral (Pocillopora damicornis) showi
Shallow zone
Deep
สาหร่ายเซลเดียว
zooxanthellae
(Symbiodinium microadri
หนวดปะการัง
lae are photosynthetic, single-celled dinoflagel
• สาหร่ายเซลล์เดียวจะอาศัยผลผลิต
จากปะการัง ได้แก่ ไนเตรท ฟอสเฟต
และคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อใช้ใน
ขบวนการสังเคราะห์แสง ซึ่งผลจาก
การสังเคราะห์แสงจะได้ ออกซิเจน
และสารประกอบอินทรีย์ สิ่งเหล่านี้
ปะการังจะนำาไปใช้โดยตรง นอกจาก
นั้นสาหร่ายเซลล์เดียวยังมีส่วนร่วมใน
กระบวนการสร้างหินปูนของปะการัง
อีกด้วย
carbon dioxide + water + light
carbohydrate + oxygen
polyps
ขบวนการสังเคราะห์แสง ถูกใช้โดย
ผลพลอยได้จาก metabolism ของปะการัง
• ในปะการังหนึ่งชนิดอาจจะมีสาหร่ายเซลล์เดียว
ได้มากกว่าหนึ่งชนิด
• สาหร่ายในแต่ละชนิดมีความสามารถในการ
ปรับตัวตอบรับต่อปัจจัย สภาพแวดล้อม ต่าง ๆ
เช่น แสง อุณหภูมิ
• ปะการังจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยการ
เลือกสาหร่ายเซลล์เดียวชนิดที่มีประสิทธิภาพสูง
ในการสังเคราะห์แสง
• ปะการังชนิดที่มีสาหร่ายเซลล์เดียวในเนื้อเยื่อ
มากกว่าหนึ่งชนิด จะสามารถปรับตัวและมี
• แสง UV สามารถทะลุนำ้าทะเลได้ถึง 20 เมตร
• แสง UV คือ แสงที่มีความยาวคลื่นตำ่ากว่า 400 นาโนเมตร ส่วน
แสงที่มีความยาวคลื่นระหว่าง 400 – 700 นาโนเมตร เป็นแสงที่
ตามนุษย์สามารถมองเห็น แสงที่มีความยาวคลื่นมากกว่า 700
นาโนเมตร เป็นแสงที่มนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
เรียกช่วงแสงนี้ว่า แสงอินฟราเรด
• แสง UV แบ่งตามความยาวคลื่นได้ 3 ช่วง คือ
1. UV-A ความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 320 – 400
นาโนเมตร
2. UV-B ความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 280 – 320
นาโนเมตร
3. UV-C ความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 200 – 280
นาโนเมตร
แสงที่มีความยาวคลื่นตำ่ากว่า 286 นาโนเมตร ไม่
• ปะการังตอบสนองต่อ UV-B โดยการหดตัวเข้าไปในโครงร่าง
แข็ง หากได้รับเป็นระยะเวลาที่ต่อเนื่องและยาวนาน จะปล่อย
เมือกออกมา เนื้อเยื่อบางส่วนจะหลุดออก และตายในที่สุด
• UV-A มีอันตรายน้อยกว่า แต่หากมีความเข้มสูงกว่าปกติ
ประมาณ 20 % จะเกิด Photo-oxidation และการฟอกขาว
กลไกในการป้องกันตัวเองจาก UV
• สร้างรงควัตถุบางชนิด เมื่อได้รับพลังงานจาก UV แล้ว
จะดูดซับไว้ แล้วสะท้อนกลับออกไปเป็นสีเรืองแสง ส่วน
ใหญ่เป็นสีเขียวเรืองแสง
• รงควัตถุบางชนิดทำาหน้าที่คล้ายเกราะสะท้อน
UV ส่วนใหญ่อยู่บริเวณปลายยอดของปะการัง
มีสีขาว ชมพู หรือม่วง ที่ไม่เรืองแสง
• สร้างสารประกอบบางชนิดขึ้นมาเพื่อป้อนให้กับสาหร่ายเซลล์
เดียวที่อาศัยอยู่ในเนื้อเยื่อ ใช้เป็นสารดูดซับแสงUV เช่น
สารประกอบ S-320 (ดูดซับคลื่นแสงที่มีความเข้มแสงองค์
ประกอบสูงสุดที่ความยาวคลื่น 320 นาโนเมตร)
• ตำาแหน่งและความหนาแน่นของสาหร่ายเซลล์เดียว
ภายในโคโลนี มีความผันแปร ในปะการังเขากวางโพลิ
ปที่อยู่ตอนปลายกิ่งมีปริมาณสาหร่ายมากกว่าโพลิปที่
อยู่ด้านฐานกิ่งหรือบริเวณที่อยู่ในที่ร่มเงา
• สาหร่ายเซลล์เดียวพบได้เยอะใน endodermis ของ
gastraldermal cavity
ปะการังได้รับสารอาหารจาก
3 ขบวนการ:
1. Organic matter จากขบวนการ
สังเคราะห์แสงของ
zooxanthellae:
2. ใช้เข็มพิษหรือเมือกจับเหยื่อ
ขนาดเล็ก:
• อาหารส่วนมากเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กหรือตะกอนสารอินทรีย์แขวนลอยใน
นำ้าทะเล
• ปะการังบางชนิดจับแบคทีเรียในนำ้าทะเลเป็นอาหาร
• บางชนิดใช้เมือกที่มีอยู่รอบโคโลนีเป็นแหล่งอาหารเลี้ยงแบคทีเรีย ผล
ประโยชน์ที่ได้รับคือได้แบคทีเรียเป็นอาหารโดยตรงและยังมีแพลงก์ตอน
ขนาดเล็กมากินแบคทีเรียเป็นอาหาร
3. รับสารอาหารที่ละลายอยู่ในนำ้า (Dissolve organic matter – DOM)
โดยการซึมผ่านเนื้อเยื่อโดยตรง
Source of energy in coral
การสืบพันธุ์ของปะการัง
ปะการังเป็นสัตว์จำาพวก clonal
organism ดังนั้นจึงสามารถสืบพันธุ์
ได้สองรูปแบบ
1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
(Asexual reproduction)
1.1 แตกหน่อ (Budding)
1.1.1 Intratentacular budding เป็นการเกิดโพ
ลิปใหม่ เกิดจากการแยกออกของโพลิปเดิม
โดย mesentery บางอันยื่นออกมารวมกัน
หรือมีการแบ่งตัวที่บริเวณ oral disc ในวง
ของ tentacle วิธีนี้สามารถแยกย่อยได้ดังนี้
Distomodaeal budding
• เป็นการเพิ่มจำานวนโดยมีการแยกออกของโพ
ลิปเดิม ทำาให้เกิดโพลิปใหม่ 2 โพลิป แต่ไม่มี
ผนังของตัวเองอย่างสมบูรณ์ ยังมีบางส่วนใช้
ร่วมกัน คือมีหนวดวงเดียวกัน ใช้ mesentery
2 คู่ร่วมกัน และมี 2 stomodaeum เมื่อดูจาก
โครงร่างแข็งจะเห็นว่าแต่ละ corallite ไม่มี
ผนังของตัวเองอย่างสมบูรณ์ อาจมี 2 ศูนย์กลาง
อยู่ในผนังเดียวกัน เรียกว่า dicentric
Tristomodaeal budding
• เป็นการเพิ่มจำานวนโดยมีการแยกออกของโพ
ลิปเดิม ทำาให้เกิดเป็นโพลิปใหม่ 3 โพลิป ไม่มี
ผนังของตัวเองอย่างสมบูรณ์ ยังมีส่วนที่ใช้ร่วม
กัน มีหนวดวงเดียวกัน ใช้ mesentery 3 คู่
ร่วมกัน และมี 3 stomodaeal เมื่อดูจากโครง
ร่างแข็งพบว่า corallite มี 3 จุดศูนย์กลางอยู่
ในผนังเดียวกัน เรียกลักษณะแบบนี้ว่า
tricentric
Polystomodaeal budding
• เป็นการเพิ่มจำานวนโดยมีการแยกออกของโพ
ลิปเดิม ทำาให้เกิดมากกว่า 3 โพลิป ไม่มีผนัง
ของตัวเองอย่างสมบูรณ์ ยังมีส่วนที่ใช้ร่วมกัน
คือมีหนวดวงเดียวกัน ใช้ mesentery ร่วมกัน
corallite ในโครงร่างแข็งมีหลายจุดศูนย์กลาง
เรียกลักษณะแบบนี้ว่า polycentric ซึ่ง
สามารถพบได้หลายรูปแบบ
- intramural budding ผลของการแยกตัว
ทำาให้เกิด stomodaeum เรียงกันเป็นแถวยาว
ภายในหนวดวงเดียวกัน ใน corallum มี
corallite เรียงกันเป็นแถว ทำาให้เกิดลักษณะ
เป็นร่อง ซึ่งอาจยาวต่อเนื่องตลอด corallum
หรือมีปลายเป็นรูปซ่อม
- Circumoral budding ผลของการแยกตัว
ทำาให้เกิด stomodaeum เรียงตัวกันหนาแน่น
รอบโพลิปที่อยู่ตรงกลาง ซึ่งมักจะมีขนาดใหญ่
กว่า ใน corallum ประกอบด้วย corallite
เล็ก ๆ เรียงอยู่รอบ ๆ corallite เดิมที่มีขนาด
ใหญ่ และไม่มีผนังที่แยกแต่ละ corallite ออก
จากกัน หรืออาจมีผนังเพียงบางส่วน
- Circumural budding ผลของการแยกตัว
ทำาให้เกิด stomodaeal กระจายอยู่รอบ ๆ
กลุ่มของมัน โพลิปไม่มีผนัง หรืออาจมีเพียงบาง
ส่วน ใน corallum มีศูนย์กลางของ corallite
กระจายอยู่รอบ ๆ monticule ซึ่งเป็นปุ่มแหลม
มีรูปร่างคล้ายกรวยยื่นสูงขึ้นกว่าระดับของ
coenosteum
• หลังจากที่แยกตัวออกจนได้ di, tri และ
polycentric แล้ว หากสิ่งแวดล้อมเหมาะสม
ปะการังบางชนิดอาจมีการแบ่งตัวออกจากกัน
โดยสมบูรณ์ เป็นแบบ monostomodaeal
budding ได้ corallite ที่มีศูนย์กลางเดียวมี
ลักษณะเป็น monocentric
1.1.2 Extratentacular budding เป็นการ
แยกตัวใหม่ที่เกิดขึ้นภายนอกวงของหนวดเดิม
โดยเกิดมาจาก coenosarc หรือ edge zone
ารังเขากวางมีการแตกหน่อมากที่ปลายกิ่ง (axial polyp)
สมอง Brain coral (Platygyra daedalea)
องโคโลนี แตกหน่อได้เท่าๆกัน เป็นการแบ่งแบบ Polystomodaea
1.2 การหักพัง (fragmentation)
สิมิลัน - ม.ค. - 2548
–สิมิลัน พ.ย. 2549
•1.3 Polyp bail-out and polyp
expulsion
• Polyp expulsion เกิดขึ้นในปะการัง Favia
fragum และ Oculina patagonica เนื้อเยื่อ
และcorallite ถูกปล่อยออกจากโคโลนีเดิม และลง
เกาะ ไม่ลอยนำ้าเนื่องจากมีนำ้าหนักจากโครงร่างแข็งที่
ติดมาด้วย
• Polyp bail เกิดขึ้นในปะการัง Pocilloporidae โพ
ลิปจะถูกปล่อยออกเฉพาะเนื้อเยื่อจาก corallite พบฟิ
ลาเมนต์เล็ก ๆ 2 เส้นทางด้านล่างของฐานโพลิป ทำา
หน้าที่เสมือนสมอที่ช่วยให้ลงยึดกับพื้นวัสดุอย่าง
รวดเร็ว
1.4 Parthenogenesis
2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
(sexual reproduction)
แบบเพศรวม
Hermaphrodite)
Favites halicora
1.Hermaphrodite broadcaster มีลักษณะ
ของทั้งสองเพศภายในโพลิปเดียวกัน ไข่และนำ้า
เชื้อจะถูกรวมอยู่ในก้อนเล็ก ๆ เรียกว่า
"bundle" เมื่อเข้าสู่ระยะที่สมบูรณ์จะถูกปล่อย
ออกสู่ภายนอก bundle แต่ละก้อนจะแตกออก
ซึ่งไข่และนำ้าเชื้อจะผสมกันในมวลนำ้า
2.Hermaphrodite brooder มีลักษณะที่มีสอง
เพศภายในโพลิปเดียวกัน ไข่และนำาเชื้อมีการ
ผสมกันภายในโพลิป ตัวอ่อนจะได้รับการ
พัฒนาอยู่ภายใน (internal fertilization)
ระยะหนึ่งก่อนที่จะถูกปล่อยออกสู่ภายนอก
แบบแยกเพศผสม
ภายนอก
(Gonochoric
hermaphrodite)
บแยกเพศ (Gonochoric)
แบบแยกเพศผสม
ภายใน(Gonocho
ric brooder)
male female
1. Gonochoric broadcaster มีลักษณะที่ใน
แต่ละโคโลนี หรือในแต่ละโพลิปมีเพศที่ต่าง
กัน มีการปล่อยไข่และนำ้าเชื้อออกมาผสมกัน
ภายนอกลำาตัว
2. Gonochoric brooder ลักษณะที่ในแต่ละโค
โลนี หรือในแต่ละโพลิปมีเพศต่างกัน เพศผู้จะ
ปล่อยนำ้าเชื้อเข้าไปผสมภายในโพลิปของเพศ
เมีย
ช่วงเวลาการปล่อยเซลล์สืบพันธุ์
90 % ปล่อยเซลล์สืบพันธุ์หลังพระจันทร์เต็ม
ดวง และปล่อยเซลล์สืบพันธุ์หลังพระอาทิตย์
ตกดินประมาณ 2 – 3 ชั่วโมง
- ในหลายพื้นที่เกิดขึ้นหลังจาก 15 คำ่า
ประมาณ 5 - 8 วัน แตกต่างกันในแต่ละชนิด
สำาหรับลักษณะความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ ใน
เขตกึ่งเขตร้อน (sub-tropical) ปะการังมีแนว
โน้มที่จะผลิตเซลล์สืบพันธุ์มากในช่วงฤดูร้อน
สำาหรับในเขตร้อนศูนย์สูตร (tropical) ปะการัง
มีแนวโน้มที่จะผลิตเซลล์สืบพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี
- Mass spawning
• พัฒนาเป็นตัวอ่อนภายใน 12 – 48 ชั่วโมง
• ตัวอ่อนดำารงชีพเป็นแพลงก์ตอนลอยไปกับ
กระแสนำ้า ใช้เวลาในการลงเกาะพื้นวัสดุ
ภายใน 12 ชั่วโมง – 30 วัน แตกต่างกันไป
ในแต่ละชนิด
• Planular ของ Pocillopora damicornis
Basal plate septa
Young polyp
มีการแตกหน่อมากที่ขอบแผ่นของโคโลนี
การเติบโตของปะการังโขด (Porites
การเติบโตของปะการังเขากวาง (Acropora
Immortal organism ????? –
Clonal organism
• ปะการังแข็งในโลก > 400 ชนิด ใน
ประเทศไทยประมาณ > 280 ชนิด
แต่ละชนิดจะมีรูปทรงแตกต่างกันไป
ตามแต่ปัจจัยสภาพแวดล้อม
• ใช้ในการจำาแนกปะการังเบื้องต้นและ
โครงสร้างทางสังคมของแนวปะการัง
รูปทรงปะการัง - Colony
formation
ก้อน (Massive)
CoeloserisPorites lutea
ก้อน (Massive)
Platygyra dadaelea
กึ่งก้อน (Submassive)
หรือ ColumnarSynaraea rus
แผ่นโต๊ะ (Tabulate)
งโต๊ะ Table coral (Acrpora cytherea)
แผ่นแบน (Foliose)
Merulina ampliata
แผ่นแบน (Foliose)
Montipora aquituberculata
เคลือบ (Encrust)
Australom
การังเห็ด Mushroom coral
(Fungia echinata)
ตัวเดียว
(Solitary & not fix on f
Fungia
repanda
Acropora - group
กิ่งก้าน (Branch) หรือ
Staghorn
Acropora
Corymbose
Bottlebrush
Bottlebrush
Table and plate
นำ้าเงิน Blue coral (Heliopora coerulea)
Subclass Octocoralia
ไฟแบบกิ่ง Fire coral (Millepora sp.)
lass Hydrozoa
CoralLec01

More Related Content

Similar to CoralLec01

อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
ข อสอบว ชาช_วว_ทยา
ข อสอบว ชาช_วว_ทยาข อสอบว ชาช_วว_ทยา
ข อสอบว ชาช_วว_ทยาPorna Saow
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdfระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdfssuser2feafc1
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdomIssara Mo
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 

Similar to CoralLec01 (20)

อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
ข อสอบว ชาช_วว_ทยา
ข อสอบว ชาช_วว_ทยาข อสอบว ชาช_วว_ทยา
ข อสอบว ชาช_วว_ทยา
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdfระบบการย่อยอาหาร5.pdf
ระบบการย่อยอาหาร5.pdf
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
Animal kingdom
Animal kingdomAnimal kingdom
Animal kingdom
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
Body
BodyBody
Body
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
หู
หูหู
หู
 

More from krabi Primary Educational Service Area Office (14)

Part6 140 final[2]
Part6 140 final[2]Part6 140 final[2]
Part6 140 final[2]
 
Part4 140 final[1]
Part4 140 final[1]Part4 140 final[1]
Part4 140 final[1]
 
Part2 140 final[2]
Part2 140 final[2]Part2 140 final[2]
Part2 140 final[2]
 
Part1 140final[1]
Part1 140final[1]Part1 140final[1]
Part1 140final[1]
 
Cove r[1] 140Yrs Krabi
Cove r[1] 140Yrs KrabiCove r[1] 140Yrs Krabi
Cove r[1] 140Yrs Krabi
 
ตามรอยหอยชักตีน เล่ม2
ตามรอยหอยชักตีน เล่ม2ตามรอยหอยชักตีน เล่ม2
ตามรอยหอยชักตีน เล่ม2
 
Coral lec02
Coral lec02Coral lec02
Coral lec02
 
Moon@night
Moon@nightMoon@night
Moon@night
 
หินบ่อม่วง
หินบ่อม่วงหินบ่อม่วง
หินบ่อม่วง
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
ดอกตอนที่ 3
ดอกตอนที่ 3ดอกตอนที่ 3
ดอกตอนที่ 3
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 

CoralLec01