SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
พ.ร.บ. การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.
2551
(รายงานความคืบหน้า)
นพ.สมชาย กาญจนสุต
กรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน
ประธานอนุกรรมการยุทธศาสตร์
เหตุผลในการออก พ.ร.บ.
 ขาดระบบบริหารจัดการด้านบุคลากร
  อุปกรณ์ และเครื่องมือช่วยเหลือผู้ป่วย
  ฉุกเฉิน
 รวมทั้งยังขาดหน่วยงานรับผิดชอบ
  ประสานการปฏิบัติการ
 ทำาให้มีผู้ปวยฉุกเฉินต้องสูญเสียชีวิต
              ่
  อวัยวะ หรือเกิดความบกพร่องในการ
  ทำางานของอวัยวะสำาคัญ รวมทั้งทำาให้การ
  บาดเจ็บหรืออาการป่วยรุนแรงขึ้นโดยไม่
  สมควร
จัดให้มี
 คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินขึ้น เพื่อ
  กำาหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธปฏิบัติ
                                   ี
  เกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน
 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติขึ้นเป็น
  หน่วยรับผิดชอบการบริหารจัดการ การ
  ประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  ทั้งภาครัฐและเอกชน และการส่งเสริม
  ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี
  บทบาทในการบริหารจัดการ เพือให้เกิด
                                 ่
  ความร่วมมือในการปฏิบัติงานด้านการ
ผลที่ควรได้รับ
   การคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงระบบการ
    แพทย์ฉุกเฉินอย่าง
    ◦ ทั่วถึง
    ◦ เท่าเทียม
    ◦ มีคณภาพมาตรฐาน
          ุ
   โดยได้รับการช่วยเหลือและรักษาพยาบาล
    ◦ ที่มีประสิทธิภาพ
    ◦ และทันต่อเหตุการณ์มากขึ้น
โครงสร้าง
              ครม.
        คณะกรรมการการ
         แพทย์ฉุกเฉิน
สถาบันการแพทย์         กองทุนการแพทย์
 ฉุกเฉินแห่งชาติ           ฉุกเฉิน
          องค์กรปกครองส่วน
               ท้องถิน
                     ่
        หน่วยงานรัฐและเอกชน
อำานาจที่กำาหนดให้
 อำานาจนิติบญญัติ
             ั
 อำานาจบริหาร
 อำานาจตุลาการ
ให้ทำาอะไรบ้าง?
 (๑) กำาหนดมาตรฐานและหลัก
  เกณฑ์เกี่ยวกับระบบการแพทย์
  ฉุกเฉิน
 (๒) เสนอแนะหรือให้คำาปรึกษาต่อ
  คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายด้าน
  การแพทย์ฉุกเฉิน
ให้ทำาอะไรบ้าง?
 (๓) เสนอแนะแนวทางการแก้ไข
  ปัญหาหรืออุปสรรคอันเกิดจากการ
  ดำาเนินงานเกียวกับการแพทย์
               ่
  ฉุกเฉินต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อ
  พิจารณา
 (๔) กำาหนดนโยบายการบริหาร
  งาน ให้ความเห็นชอบแผนการ
  ดำาเนินงานและอนุมัติแผนการเงิน
ให้ทำาอะไรบ้าง?
 (๕) ควบคุมดูแลการดำาเนินงานและการบริหาร
  งานทั่วไป การจัดตังและยกเลิกสำานักงาน
                    ้
  สาขา ตลอดจนออกข้อบังคับ ระเบียบ หรือ
  ประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานทั่วไป การ
  บริหารงานบุคคล การงบประมาณ การเงินและ
  ทรัพย์สิน การติดตามประเมินผลและการ
  ดำาเนินการอื่นของสถาบัน
 (๖) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการรับรององค์กร
  และหลักสูตรการศึกษาหรือฝึกอบรมผู้ปฏิบติ ั
  การ และการให้ประกาศนียบัตรหรือ
  เครืองหมายวิทยฐานะแก่ผผ่านการศึกษาหรือ
      ่                     ู้
ให้ทำาอะไรบ้าง?
 (๗) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการให้
  เข็มเชิดชูเกียรติเพื่อมอบให้แก่
  บุคคลผูสนับสนุนกิจการด้านการ
          ้
  แพทย์ฉุกเฉิน
 (๘) ดำาเนินการให้มีระบบสือสาร
                            ่
  และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
  ประโยชน์ในการประสานงานและ
  การปฏิบัติงานด้านการแพทย์
ให้ทำาอะไรบ้าง?
 (๙)  ดำาเนินการให้มีการประสาน
  ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่
  เกียวข้องในการเข้าถึงข้อมูล
     ่
  ข่าวสารเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติ
  การฉุกเฉิน
 (๑๐) ออกระเบียบเกียวกับการรับ
                       ่
  เงิน การจ่ายเงิน และการรักษาเงิน
  กองทุน รวมทังการจัดหาผล
                ้
ให้ทำาอะไรบ้าง?
 (๑๑)   ให้ความเห็นชอบการกำาหนดค่า
  บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินและการ
  ดำาเนินกิจการของสถาบัน
 (๑๒) สรรหา แต่งตั้ง ประเมินผลการ
  ปฏิบติงานและถอดถอนเลขาธิการ
       ั
 (๑๓) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กำาหนดไว้
  ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น
  หรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายก
  รัฐมนตรีมอบหมาย
ให้ทำาอะไรบ้าง?
 มาตรา ๓๐ ให้ กพฉ. กำากับดูแลให้ผู้ปฏิบติ ั
  การ หน่วยปฏิบติการ และสถานพยาบาล
                  ั
  ปฏิบัติการฉุกเฉินให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
  เงือนไข และมาตรฐานที่กำาหนด
     ่
 เว้นแต่การปฏิบัติการฉุกเฉินของผู้ปฏิบัติ
  การที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์
  และการสาธารณสุขก็ให้เป็นไปตาม
  กฎหมายว่าด้วยการนัน  ้
สถาบันทำาอะไรบ้าง?
 มาตรา ๑๕ ให้สถาบันมีอำานาจหน้าที่ ดังต่อ
  ไปนี้
 (๑) จัดทำาแผนหลักเกี่ยวกับการแพทย์
  ฉุกเฉินเสนอต่อ กพฉ.
 (๒) จัดทำามาตรฐานและหลักเกณฑ์เกี่ยว
  กับระบบการแพทย์ฉุกเฉินเสนอต่อ กพฉ.
  รวมทั้งกำาหนดเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติการ
  ฉุกเฉินตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่
  กพฉ. กำาหนด
 (๓) จัดให้มีระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมถึง
  การบริหารจัดการและการพัฒนาระบบ
สถาบันทำาอะไรบ้าง?
 (๕) จัดให้มีการศึกษาและฝึกอบรมการ
  ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน
 (๖) ประสานงาน ติดตาม และประเมินผล
  การปฏิบติการฉุกเฉิน
           ั
 (๗) เป็นศูนย์กลางประสานกับหน่วยงาน
  ภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศและต่าง
  ประเทศที่ดำาเนินงานเกี่ยวกับการแพทย์
  ฉุกเฉิน
 (๘) เรียกเก็บค่าบริการทางการแพทย์
  ฉุกเฉินและการดำาเนินกิจการของสถาบัน
 (๙) รับผิดชอบงานธุรการของ กพฉ. หรือ
ปฏิบติการฉุกเฉิน คืออะไร?
    ั
   “ปฏิบัติการฉุกเฉิน” หมายความว่า การปฏิบัติการ
    ด้านการแพทย์ฉุกเฉินนับแต่การรับรู้ถึง ภาวะการ
    เจ็บป่วยฉุกเฉินจนถึงการดำาเนินการให้ผู้ป่วย
    ฉุกเฉินได้รับการบำาบัด รักษาให้พ้น
    ภาวะฉุกเฉิน ซึ่งรวมถึง
    ◦   การประเมิน
    ◦   การจัดการ
    ◦   การประสานงาน
    ◦   การควบคุม ดูแล
    ◦   การติดต่อสื่อสาร
    ◦   การลำาเลียงหรือขนส่ง
    ◦   การตรวจวินจฉัย
                    ิ
    ◦   และการบำาบัดรักษาพยาบาลผูป่วยฉุกเฉินทั้งนอกสถาน
                                 ้
หลักของปฏิบัตการฉุกเฉิน
             ิ
 (๑) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัด
  ให้ผู้ปวยฉุกเฉินได้รับการปฏิบติการฉุกเฉิน
         ่                     ั
  ตามลำาดับความเร่งด่วนทางการแพทย์ฉุกเฉิน
 (๒) ผู้ปวยฉุกเฉินต้องได้รับการปฏิบัติการ
             ่
  ฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของหน่วย
  ปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลนั้นก่อนการ
  ส่งต่อ เว้นแต่มีแพทย์ให้การรับรองว่าการส่ง
  ต่อผู้ปวยฉุกเฉินจะเป็นประโยชน์ต่อการ
           ่
  ป้องกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการ
  เจ็บป่วยของผูป่วยฉุกเฉินนั้น
                 ้
 (๓) การปฏิบติการฉุกเฉินต่อผู้ปวยฉุกเฉินต้อง
               ั                 ่
  เป็นไปตามความจำา เป็นและข้อบ่งชี้
  ทางการแพทย์ฉกเฉิน โดยมิให้นำาสิทธิการ
                    ุ
  ประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือ
มาตรา 29 (กฎหมายลูก)
 (๑) ประเภท ระดับ อำานาจหน้าที่ ขอบเขต
  ความรับผิดชอบ หรือข้อจำากัดของผู้ปฏิบัติ
  การหน่วยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล
 (๒) หลักเกณฑ์และเงือนไขเกี่ยวกับการ
                         ่
  ปฏิบัติหน้าที่ของผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติ
  การและสถานพยาบาล
 (๓) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน
 (๔) หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการ
  ประสานงานและการรายงานของหน่วย
  ปฏิบัติการและสถานพยาบาลในการปฏิบติ       ั
  การฉุกเฉิน รวมทั้งความพร้อมเกี่ยวกับ
มาตรา 29 (กฎหมายลูก)
 หน่วยปฏิบัตการซึ่งปฏิบัตการฉุกเฉินตามหลัก
              ิ           ิ
  เกณฑ์ เงื่อนไข และมาตรฐานที่ กพฉ. กำาหนดตาม
  วรรคหนึ่ง อาจได้รับการรับรองมาตรฐานการ
  ปฏิบัติการฉุกเฉินหรือมีสิทธิได้รับการสนับสนุน
  ด้านการเงินจากกองทุน
 ในกรณีที่หน่วยปฏิบัติการใดไม่ปฏิบัตตามหลัก
                                      ิ
  เกณฑ์ เงื่อนไข และมาตรฐานที่ กพฉ.กำาหนดตาม
  วรรคหนึ่ง กพฉ. อาจสั่งไม่รับรองมาตรฐานการ
  ปฏิบัติการฉุกเฉินหรือสั่งจำากัดสิทธิหรือ
  ขอบเขตความรับผิดชอบในการปฏิบัติการ
  ฉุกเฉินตาม (๑) หรือจะสั่งงดการสนับสนุนด้าน
  การเงินด้วยก็ได้
 ในกรณีที่สถานพยาบาลใดไม่ปฏิบัตตามหลักเกณฑ์
                                    ิ
  เงื่อนไข หรือมาตรฐานที่ กพฉ. กำาหนดตามวรรค
  หนึ่ง ให้ กพฉ. แจ้งให้หน่วยงานที่ควบคุมหรือ
อำานาจในการสอบสวน
 มาตรา  ๓๑ ในกรณีที่ปรากฏว่าผู้ปฏิบัติ
 การ หน่วยปฏิบัติการ หรือสถาน
 พยาบาลใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
 เงื่อนไข และมาตรฐานการปฏิบัติการ
 ฉุกเฉิน ให้ กพฉ. ดำาเนินการสอบสวน
 เพื่อพิจารณากำาหนดมาตรการตาม
 มาตรา ๓๒
อำานาจในการตักเตือน /ดำาเนิน
การ
   มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา
    ๓๑ ปรากฏว่า ผูปฏิบัติการหน่วยปฏิบัติการ หรือ
                   ้
    สถานพยาบาลใดไม่ปฏิบัตตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข
                             ิ
    และมาตรฐานที่กำาหนดและการกระทำาดังกล่าวเป็น
    ความผิดตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือระเบียบที่
    เกียวข้อง ให้ กพฉ.ดำาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด
       ่
    ดังต่อไปนี้
    ◦ (๑) ตักเตือนเป็นหนังสือให้ผปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัตการ
                                    ู้                 ิ
      หรือสถานพยาบาลนั้นปฏิบัติให้ถูกต้อง
    ◦ (๒) แจ้งเรื่องไปยังผูมีอำานาจตามกฎหมายที่มีอำานาจ
                           ้
      ควบคุมการดำาเนินการของหน่วยปฏิบัติการ เพื่อ
      พิจารณาดำาเนินการตามอำานาจหน้าที่
    ◦ (๓) แจ้งเรื่องไปยังผูมีอำานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณา
                             ้
      ดำาเนินการทางวินัยแก่ผดำาเนินการสถานพยาบาลของ
                                 ู้
      รัฐหรือหน่วยงานของรัฐ
    ◦ (๔) แจ้งเรื่องไปยังผูมีอำานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณา
                               ้
โทษทางปกครอง
 มาตรา ๓๗ ผู้ใดฝ่าฝืนประกาศที่ กพฉ.
  กำาหนดตามมาตรา ๒๙ (๑) ต้องระวางโทษ
  ปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท
 มาตรา ๓๘ ผู้ใดใช้ระบบสือสารและ
                           ่
  เทคโนโลยีสารสนเทศที่จัดไว้สำาหรับการ
  ปฏิบัติการฉุกเฉินโดยประการที่จะทำาให้เกิด
  ความเสียหายแก่การปฏิบติการฉุกเฉิน ต้อง
                         ั
  ระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินห้าพัน
  บาท
โทษทางปกครอง
 มาตรา ๓๙ การกำาหนดโทษปรับทาง
  ปกครองตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘
  ให้ กพฉ.คำานึงถึงความร้ายแรงของ
  พฤติการณ์แห่งการกระทำา ความเสีย
  หายที่เกิดจากการกระทำานั้น ทั้งนี้ตาม
  หลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราที่ กพฉ.
  กำาหนด
 มาตรา ๔๐ ผู้ใดใช้เข็มเชิดชูเกียรติ โดย
  ไม่มีสทธิหรือแสดงด้วยประการใด ๆ ว่าตน
        ิ
  มีประกาศนียบัตรหรือเครื่องหมายวิทยฐานะ
คำาถาม?

More Related Content

What's hot

118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์Utai Sukviwatsirikul
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉtaem
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมpoomarin
 
3.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 2 2
3.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 2 23.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 2 2
3.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 2 2Bangkok, Thailand
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมwebsite22556
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 

What's hot (20)

118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉ
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
Public Health Emergency Management
Public Health Emergency ManagementPublic Health Emergency Management
Public Health Emergency Management
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
 
3.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 2 2
3.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 2 23.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 2 2
3.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 2 2
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 

Similar to TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)

Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 
ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...
ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย  ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย  ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...
ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...Prasit Kongsup
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓Utai Sukviwatsirikul
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERtaem
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551taem
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 

Similar to TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า) (20)

Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...
ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย  ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย  ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...
ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
 
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
8 ร่างพรบ.ฉบับหมอต้านพรบ.
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ER
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกันระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
ระบบสุขภาพกับสังคมไทยไม่ทิ้งกัน
 

More from taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDtaem
 

More from taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
 

TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)

  • 1. พ.ร.บ. การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 (รายงานความคืบหน้า) นพ.สมชาย กาญจนสุต กรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน ประธานอนุกรรมการยุทธศาสตร์
  • 2. เหตุผลในการออก พ.ร.บ.  ขาดระบบบริหารจัดการด้านบุคลากร อุปกรณ์ และเครื่องมือช่วยเหลือผู้ป่วย ฉุกเฉิน  รวมทั้งยังขาดหน่วยงานรับผิดชอบ ประสานการปฏิบัติการ  ทำาให้มีผู้ปวยฉุกเฉินต้องสูญเสียชีวิต ่ อวัยวะ หรือเกิดความบกพร่องในการ ทำางานของอวัยวะสำาคัญ รวมทั้งทำาให้การ บาดเจ็บหรืออาการป่วยรุนแรงขึ้นโดยไม่ สมควร
  • 3. จัดให้มี  คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินขึ้น เพื่อ กำาหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธปฏิบัติ ี เกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน  สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติขึ้นเป็น หน่วยรับผิดชอบการบริหารจัดการ การ ประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน และการส่งเสริม ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการบริหารจัดการ เพือให้เกิด ่ ความร่วมมือในการปฏิบัติงานด้านการ
  • 4. ผลที่ควรได้รับ  การคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงระบบการ แพทย์ฉุกเฉินอย่าง ◦ ทั่วถึง ◦ เท่าเทียม ◦ มีคณภาพมาตรฐาน ุ  โดยได้รับการช่วยเหลือและรักษาพยาบาล ◦ ที่มีประสิทธิภาพ ◦ และทันต่อเหตุการณ์มากขึ้น
  • 5. โครงสร้าง ครม. คณะกรรมการการ แพทย์ฉุกเฉิน สถาบันการแพทย์ กองทุนการแพทย์ ฉุกเฉินแห่งชาติ ฉุกเฉิน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน ่ หน่วยงานรัฐและเอกชน
  • 6. อำานาจที่กำาหนดให้  อำานาจนิติบญญัติ ั  อำานาจบริหาร  อำานาจตุลาการ
  • 7. ให้ทำาอะไรบ้าง?  (๑) กำาหนดมาตรฐานและหลัก เกณฑ์เกี่ยวกับระบบการแพทย์ ฉุกเฉิน  (๒) เสนอแนะหรือให้คำาปรึกษาต่อ คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายด้าน การแพทย์ฉุกเฉิน
  • 8. ให้ทำาอะไรบ้าง?  (๓) เสนอแนะแนวทางการแก้ไข ปัญหาหรืออุปสรรคอันเกิดจากการ ดำาเนินงานเกียวกับการแพทย์ ่ ฉุกเฉินต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อ พิจารณา  (๔) กำาหนดนโยบายการบริหาร งาน ให้ความเห็นชอบแผนการ ดำาเนินงานและอนุมัติแผนการเงิน
  • 9. ให้ทำาอะไรบ้าง?  (๕) ควบคุมดูแลการดำาเนินงานและการบริหาร งานทั่วไป การจัดตังและยกเลิกสำานักงาน ้ สาขา ตลอดจนออกข้อบังคับ ระเบียบ หรือ ประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานทั่วไป การ บริหารงานบุคคล การงบประมาณ การเงินและ ทรัพย์สิน การติดตามประเมินผลและการ ดำาเนินการอื่นของสถาบัน  (๖) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการรับรององค์กร และหลักสูตรการศึกษาหรือฝึกอบรมผู้ปฏิบติ ั การ และการให้ประกาศนียบัตรหรือ เครืองหมายวิทยฐานะแก่ผผ่านการศึกษาหรือ ่ ู้
  • 10. ให้ทำาอะไรบ้าง?  (๗) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการให้ เข็มเชิดชูเกียรติเพื่อมอบให้แก่ บุคคลผูสนับสนุนกิจการด้านการ ้ แพทย์ฉุกเฉิน  (๘) ดำาเนินการให้มีระบบสือสาร ่ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ ประโยชน์ในการประสานงานและ การปฏิบัติงานด้านการแพทย์
  • 11. ให้ทำาอะไรบ้าง?  (๙) ดำาเนินการให้มีการประสาน ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่ เกียวข้องในการเข้าถึงข้อมูล ่ ข่าวสารเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติ การฉุกเฉิน  (๑๐) ออกระเบียบเกียวกับการรับ ่ เงิน การจ่ายเงิน และการรักษาเงิน กองทุน รวมทังการจัดหาผล ้
  • 12. ให้ทำาอะไรบ้าง?  (๑๑) ให้ความเห็นชอบการกำาหนดค่า บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินและการ ดำาเนินกิจการของสถาบัน  (๑๒) สรรหา แต่งตั้ง ประเมินผลการ ปฏิบติงานและถอดถอนเลขาธิการ ั  (๑๓) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กำาหนดไว้ ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น หรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายก รัฐมนตรีมอบหมาย
  • 13. ให้ทำาอะไรบ้าง?  มาตรา ๓๐ ให้ กพฉ. กำากับดูแลให้ผู้ปฏิบติ ั การ หน่วยปฏิบติการ และสถานพยาบาล ั ปฏิบัติการฉุกเฉินให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงือนไข และมาตรฐานที่กำาหนด ่  เว้นแต่การปฏิบัติการฉุกเฉินของผู้ปฏิบัติ การที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์ และการสาธารณสุขก็ให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยการนัน ้
  • 14. สถาบันทำาอะไรบ้าง?  มาตรา ๑๕ ให้สถาบันมีอำานาจหน้าที่ ดังต่อ ไปนี้  (๑) จัดทำาแผนหลักเกี่ยวกับการแพทย์ ฉุกเฉินเสนอต่อ กพฉ.  (๒) จัดทำามาตรฐานและหลักเกณฑ์เกี่ยว กับระบบการแพทย์ฉุกเฉินเสนอต่อ กพฉ. รวมทั้งกำาหนดเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติการ ฉุกเฉินตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่ กพฉ. กำาหนด  (๓) จัดให้มีระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน รวมถึง การบริหารจัดการและการพัฒนาระบบ
  • 15. สถาบันทำาอะไรบ้าง?  (๕) จัดให้มีการศึกษาและฝึกอบรมการ ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน  (๖) ประสานงาน ติดตาม และประเมินผล การปฏิบติการฉุกเฉิน ั  (๗) เป็นศูนย์กลางประสานกับหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศและต่าง ประเทศที่ดำาเนินงานเกี่ยวกับการแพทย์ ฉุกเฉิน  (๘) เรียกเก็บค่าบริการทางการแพทย์ ฉุกเฉินและการดำาเนินกิจการของสถาบัน  (๙) รับผิดชอบงานธุรการของ กพฉ. หรือ
  • 16. ปฏิบติการฉุกเฉิน คืออะไร? ั  “ปฏิบัติการฉุกเฉิน” หมายความว่า การปฏิบัติการ ด้านการแพทย์ฉุกเฉินนับแต่การรับรู้ถึง ภาวะการ เจ็บป่วยฉุกเฉินจนถึงการดำาเนินการให้ผู้ป่วย ฉุกเฉินได้รับการบำาบัด รักษาให้พ้น ภาวะฉุกเฉิน ซึ่งรวมถึง ◦ การประเมิน ◦ การจัดการ ◦ การประสานงาน ◦ การควบคุม ดูแล ◦ การติดต่อสื่อสาร ◦ การลำาเลียงหรือขนส่ง ◦ การตรวจวินจฉัย ิ ◦ และการบำาบัดรักษาพยาบาลผูป่วยฉุกเฉินทั้งนอกสถาน ้
  • 17. หลักของปฏิบัตการฉุกเฉิน ิ  (๑) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉินและจัด ให้ผู้ปวยฉุกเฉินได้รับการปฏิบติการฉุกเฉิน ่ ั ตามลำาดับความเร่งด่วนทางการแพทย์ฉุกเฉิน  (๒) ผู้ปวยฉุกเฉินต้องได้รับการปฏิบัติการ ่ ฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของหน่วย ปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลนั้นก่อนการ ส่งต่อ เว้นแต่มีแพทย์ให้การรับรองว่าการส่ง ต่อผู้ปวยฉุกเฉินจะเป็นประโยชน์ต่อการ ่ ป้องกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการ เจ็บป่วยของผูป่วยฉุกเฉินนั้น ้  (๓) การปฏิบติการฉุกเฉินต่อผู้ปวยฉุกเฉินต้อง ั ่ เป็นไปตามความจำา เป็นและข้อบ่งชี้ ทางการแพทย์ฉกเฉิน โดยมิให้นำาสิทธิการ ุ ประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือ
  • 18. มาตรา 29 (กฎหมายลูก)  (๑) ประเภท ระดับ อำานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจำากัดของผู้ปฏิบัติ การหน่วยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล  (๒) หลักเกณฑ์และเงือนไขเกี่ยวกับการ ่ ปฏิบัติหน้าที่ของผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติ การและสถานพยาบาล  (๓) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน  (๔) หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการ ประสานงานและการรายงานของหน่วย ปฏิบัติการและสถานพยาบาลในการปฏิบติ ั การฉุกเฉิน รวมทั้งความพร้อมเกี่ยวกับ
  • 19. มาตรา 29 (กฎหมายลูก)  หน่วยปฏิบัตการซึ่งปฏิบัตการฉุกเฉินตามหลัก ิ ิ เกณฑ์ เงื่อนไข และมาตรฐานที่ กพฉ. กำาหนดตาม วรรคหนึ่ง อาจได้รับการรับรองมาตรฐานการ ปฏิบัติการฉุกเฉินหรือมีสิทธิได้รับการสนับสนุน ด้านการเงินจากกองทุน  ในกรณีที่หน่วยปฏิบัติการใดไม่ปฏิบัตตามหลัก ิ เกณฑ์ เงื่อนไข และมาตรฐานที่ กพฉ.กำาหนดตาม วรรคหนึ่ง กพฉ. อาจสั่งไม่รับรองมาตรฐานการ ปฏิบัติการฉุกเฉินหรือสั่งจำากัดสิทธิหรือ ขอบเขตความรับผิดชอบในการปฏิบัติการ ฉุกเฉินตาม (๑) หรือจะสั่งงดการสนับสนุนด้าน การเงินด้วยก็ได้  ในกรณีที่สถานพยาบาลใดไม่ปฏิบัตตามหลักเกณฑ์ ิ เงื่อนไข หรือมาตรฐานที่ กพฉ. กำาหนดตามวรรค หนึ่ง ให้ กพฉ. แจ้งให้หน่วยงานที่ควบคุมหรือ
  • 20. อำานาจในการสอบสวน  มาตรา ๓๑ ในกรณีที่ปรากฏว่าผู้ปฏิบัติ การ หน่วยปฏิบัติการ หรือสถาน พยาบาลใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และมาตรฐานการปฏิบัติการ ฉุกเฉิน ให้ กพฉ. ดำาเนินการสอบสวน เพื่อพิจารณากำาหนดมาตรการตาม มาตรา ๓๒
  • 21. อำานาจในการตักเตือน /ดำาเนิน การ  มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๓๑ ปรากฏว่า ผูปฏิบัติการหน่วยปฏิบัติการ หรือ ้ สถานพยาบาลใดไม่ปฏิบัตตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ิ และมาตรฐานที่กำาหนดและการกระทำาดังกล่าวเป็น ความผิดตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือระเบียบที่ เกียวข้อง ให้ กพฉ.ดำาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด ่ ดังต่อไปนี้ ◦ (๑) ตักเตือนเป็นหนังสือให้ผปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัตการ ู้ ิ หรือสถานพยาบาลนั้นปฏิบัติให้ถูกต้อง ◦ (๒) แจ้งเรื่องไปยังผูมีอำานาจตามกฎหมายที่มีอำานาจ ้ ควบคุมการดำาเนินการของหน่วยปฏิบัติการ เพื่อ พิจารณาดำาเนินการตามอำานาจหน้าที่ ◦ (๓) แจ้งเรื่องไปยังผูมีอำานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณา ้ ดำาเนินการทางวินัยแก่ผดำาเนินการสถานพยาบาลของ ู้ รัฐหรือหน่วยงานของรัฐ ◦ (๔) แจ้งเรื่องไปยังผูมีอำานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณา ้
  • 22. โทษทางปกครอง  มาตรา ๓๗ ผู้ใดฝ่าฝืนประกาศที่ กพฉ. กำาหนดตามมาตรา ๒๙ (๑) ต้องระวางโทษ ปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท  มาตรา ๓๘ ผู้ใดใช้ระบบสือสารและ ่ เทคโนโลยีสารสนเทศที่จัดไว้สำาหรับการ ปฏิบัติการฉุกเฉินโดยประการที่จะทำาให้เกิด ความเสียหายแก่การปฏิบติการฉุกเฉิน ต้อง ั ระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินห้าพัน บาท
  • 23. โทษทางปกครอง  มาตรา ๓๙ การกำาหนดโทษปรับทาง ปกครองตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ ให้ กพฉ.คำานึงถึงความร้ายแรงของ พฤติการณ์แห่งการกระทำา ความเสีย หายที่เกิดจากการกระทำานั้น ทั้งนี้ตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราที่ กพฉ. กำาหนด  มาตรา ๔๐ ผู้ใดใช้เข็มเชิดชูเกียรติ โดย ไม่มีสทธิหรือแสดงด้วยประการใด ๆ ว่าตน ิ มีประกาศนียบัตรหรือเครื่องหมายวิทยฐานะ