SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดกา
มาต
การ
พลัง
สิ่งที
ตัวชี้
กระ
ไปใ
แล
อิเล็
ารเรียนรู หนว
ตรฐาน ว 5.1
รเปลี่ยนรูปพ
งงานตอชีวิต
ที่เรียนรูและ
ชี้วัด
ม.3/2 ท
ะแสไฟฟา ค
ม.3/3 คํ
ใชประโยชน
ม.3/4 สั
ะประหยัด
ม.3/5
กทรอนิกสเ
วยที่ 3 เรื่อง พ
1 เขาใจควา
พลังงาน ปฏิ
ตและสิ่งแวด
ะนําความรูไป
ทดลองและอ
ความตานทา
านวณพลังง
น
สังเกตและอภิ
อธิบายตัว
เบื้องตนที่มีท
ลังงานไฟฟา
ามสัมพันธร
สัมพันธระห
ดลอม มีกระ
ปใชประโยช
อธิบายความ
น และนําคว
งานไฟฟาขอ
ภิปรายการต
วตานทาน ไ
ทรานซิสเตอ
ระหวางพลัง
หวางสารแล
ะบวนการสืบ
ชน
มสัมพันธระห
วามรูไปใชป
องเครื่องใชไ
ตอวงจรไฟฟ
ไดโอด ทราน
อร
งงานกับการ
ละพลังงาน
บเสาะหาคว
หวางความต
ประโยชน
ไฟฟา และน
ฟาในบานอย
นซิสเตอร แ
รดํารงชีวิต
ผลของการใ
วามรู สื่อสาร
ตางศักย
นําความรู
ยางถูกตองป
และทดลอง
หนา 1
ใช
ร
ปลอดภัย
ตอวงจร
แผนการจัดกา
เวลาเรีย
1. วงจรไฟ
4. วงจรอิเล็
เบื้อ
เวลาเรีย
ารเรียนรู หนว
ยน 6 คาบ
ฟฟาเบื้องตน
ล็กทรอนิกส
งตน
น 7 คาบ
วยที่ 3 เรื่อง พ
น
ส
ลังงานไฟฟา
หนวย
พลังงาน
ยที่ 3
นไฟฟา
2
เวลาเรียน
2. วงจรไฟฟ
3. พลังงาน
และกําลังไ
เวลาเรียน
หนา 2
4 คาบ
ฟาในบาน
นไฟฟา
ไฟฟา
น 2 คาบ
ไ
ใ
ไ
แผนการจัดกา
กลุมสาระก
ระดับชั้นมัธ
สาระที่ 5 พ
ลําดับ/
ชื่อแผน
แผนที่ 1
เรียนรู
บทเรียน
แผนที่ 2
วงจรไฟ
ไฟฟา
เบื้องตน
(การตอ
เครื่องใชไ
ฟฟาเขา
ในวงจร
ไฟฟา)
ารเรียนรู หนว
โค
การเรียนรูวิท
ธยมศึกษาป
พลังงาน มาต
มาตรฐา
ตั
1. ทําความเ
นักเรียนเรื่อ
เรียน
2. ทดสอบค
เนื้อหาเกี่ยว
ไฟฟา
มาตรฐาน ว
ม.3/2 ทดลอ
ความสัมพัน
ความตางศัก
กระแสไฟฟ
ตานทาน แ
ใชประโยช
วยที่ 3 เรื่อง พ
ครงสรางร
ทยาศาสตร ร
ปที่ 3 เวลาเรี
ตรฐาน ว 5.
านการเรียนรู
ตัวชี้วัด
เขาใจกับ
อง คะแนน เ
ความรูพื้นฐ
วกับพลังงาน
ว 5.1
องและอธิบ
นธระหวาง
กย
ฟา ความ
ละนําความร
ชน
ลังงานไฟฟา
ายวิชาหนว
รหัสวิชา ว 2
รียน 20 คาบ
1
รู/
เวลา
าน
น
ทําคว
เรียน
พื้นฐ
าย
รูไป
หลอ
เครื่อ
พลัง
เปลี่ย
และพ
ความ
กระแ
ตานท
กันต
การน
วิเครา
วยที่ 3 พลัง
23101
บ
สาระ
การเรียน
วามเขาใจกา
นรู และทดส
ฐานกอนเรีย
อดไฟเปน
องใชไฟฟาที
งานไฟฟาแ
ยนเปนพลังง
พลังงานควา
มตางศักย
แสไฟฟาแล
ทานมีความ
ตามกฎของโ
นํากฎของโอ
าะหวงจรไฟฟ
งงานไฟฟา
ชื่อรา
คะ
ะ
นรู
ารจัดการ
สอบความรู
น
ที่รับ
ลว
งานแสง
ามรอน
ละความ
สัมพันธ
โอหม
อหมไปใช
ฟาอยางงาย
ายวิชาวิทยา
ะแนนเก็บ 25
ระยะ
เวลา
1 คาบ
1 คาบ
หนา 3
ศาสตร 5
5 คะแนน
น้ําหนัก
คะแนน
-
แบบ
ทดสอบ
กอน
เรียน 50
ขอ
1
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 4
ลําดับ/
ชื่อแผน
มาตรฐานการเรียนรู/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
แผนที่ 3
วงจรไฟ
ไฟฟา
เบื้องตน
(พลังงาน
ไฟฟาใน
วงจร
ไฟฟา)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/2 ทดลองและอธิบาย
ความสัมพันธระหวาง
ความตางศักย
กระแสไฟฟา ความ
ตานทาน และนําความรูไป
ใชประโยชน
โวลตมิเตอรเปนเครื่องมือ
ที่ใชบอกคาความตาง
ศักยไฟฟา (potential
difference) มีหนวยเปน
โวลต (V) ใชตอครอมกับ
เครื่องใชไฟฟา
ความตางศักย
กระแสไฟฟาและความ
ตานทานมีความสัมพันธ
กันตามกฎของโอหม
การนํากฎของโอหมไปใช
วิเคราะหวงจรไฟฟาอยาง
งาย
1 คาบ 1
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แผนที่ 4
วงจรไฟ
ไฟฟา
เบื้องตน
(การวัด
กระแส
ไฟฟา)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/2 ทดลองและอธิบาย
ความสัมพันธระหวาง
ความตางศักย
กระแสไฟฟา ความ
ตานทาน และนําความรูไป
ใชประโยชน
แอมมิเตอรมิเตอรเปน
เครื่องมือที่ใชบอกคา
กระแสไฟฟา (electrical
current) มีหนวยเปน
แอมแปร (A) ใชตอตรงกับ
เครื่องใชไฟฟา ความตาง
ศักย กระแสไฟฟาและความ
ตานทานมีความสัมพันธกัน
ตามกฎของโอหม การนํากฎ
ของโอหมไปใชวิเคราะห
วงจรไฟฟาอยางงาย
1 คาบ 1
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 5
ลําดับ/
ชื่อแผน
มาตรฐานการเรียนรู/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
แผนที่ 5
วงจรไฟ
ไฟฟา
เบื้องตน
(ความสัม
พันธ
ระหวาง
ความตาง
ศักยกับ
กระแส
ไฟฟา)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/2 ทดลองและอธิบาย
ความสัมพันธระหวาง
ความตางศักย
กระแสไฟฟา ความ
ตานทาน และนําความรูไป
ใชประโยชน
คาความตางศักยไฟฟาจะ
แปรผันตรงกับคา
กระแสไฟฟา โดยมีคา
ความตานทานคงที่
ความตางศักย
กระแสไฟฟาและความ
ตานทานมีความสัมพันธ
กันตามกฎของโอหม การ
นํากฎของโอหมไปใช
วิเคราะหวงจรไฟฟาอยาง
งาย
2 คาบ 1+2
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แบบ
ทดสอบ
12 ขอ
แผนที่ 6
วงจรไฟ
ไฟฟาใน
บาน
(การตอ
เครื่องใช
ไฟฟาใน
บาน)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณพลังงาน
ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา
และนําความรูไปใช
ประโยชน
ม.3/4 สังเกตและอภิปราย
การตอวงจรไฟฟาในบาน
อยางถูกตองปลอดภัย และ
ประหยัด
การคํานวณพลังงานไฟฟา
ของเครื่องใชไฟฟาเปน
สวนหนึ่งของการคิดคา
ไฟฟาและเปนแนวทางใน
การประหยัดพลังงาน
ไฟฟาในบาน
1 คาบ -
แผนที่ 7
วงจรไฟ
ไฟฟาใน
บาน
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณพลังงาน
ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา
และนําความรูไปใช
การคํานวณคาความ
ตานทาน สามารถคํานวณ
ไดจากสูตร
2 คาบ 1
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 6
ลําดับ/
ชื่อแผน
มาตรฐานการเรียนรู/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
(ขนาด
ความยาว
และชนิด
ของลวด
ตัวนํากับ
ความ
ตานทาน)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณพลังงาน
ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา
และนําความรูไปใช
ประโยชน
ม.3/4 สังเกตและอภิปราย
การตอวงจรไฟฟาในบาน
อยางถูกตองปลอดภัย และ
ประหยัด
ปจจัยที่มีผลตอความ
ตานทาน คือความยาว
ชนิดและพื้นที่หนาตัดของ
เสนลวด
แผนที่ 8
วงจรไฟ
ไฟฟาใน
บาน
(ประโยชน
ของ
ฉนวนหุม
สายไฟ)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณพลังงาน
ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา
และนําความรูไปใช
ประโยชน
ม.3/4 สังเกตและอภิปราย
การตอวงจรไฟฟาในบาน
อยางถูกตองปลอดภัย และ
ประหยัด
ฉนวนหุมสายไฟฟาชวย
ปองกันไมใหไฟฟา
ลัดวงจร
1 คาบ 1+2
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แบบ
ทดสอบ
12 ขอ
แผนที่ 9
พลังงาน
ไฟไฟฟา
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณพลังงาน
ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา
การคํานวณพลังงาน
ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา
เปนสวนหนึ่งของการคิด
2 คาบ 1+2
ชิ้นงาน
และทํา
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 7
ลําดับ/
ชื่อแผน
มาตรฐานการเรียนรู/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
และ
กําลังไฟ
ฟา
(คิดคา
ไฟฟาจาก
ใบเสร็จคา
ไฟ)
และนําความรูไปใช
ประโยชน
ม.3/4 สังเกตและอภิปราย
การตอวงจรไฟฟาในบาน
อยางถูกตองปลอดภัย และ
ประหยัด
คาไฟฟาและเปนแนวทาง
ในการประหยัดพลังงาน
ไฟฟาในบาน
แบบทด
สอบ
5 ขอ
แผนที่
10
วงจร
อิเล็ก
ทรอนิกส
เบื้องตน
(หนาที่
ของตัว
ตานทาน)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน
ไดโอด ทรานซิสเตอร และ
ทดลองตอวงจร
อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี
ทรานซิสเตอร
ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส
เชน ตัวตานทาน ทําหนาที่
จํากัดกระแสไฟฟาในวงจร
1 คาบ 1
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แผนที่
11
วงจร
อิเล็ก
ทรอนิกส
เบื้องตน
(ตัว
ตานทาน
แปรคาได)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน
ไดโอด ทรานซิสเตอร และ
ทดลองตอวงจร
อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี
ทรานซิสเตอร
ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส
เชน ตัวตานทานแปรคาได
ทํ า ห น า ที่ จํ า กั ด
กระแสไฟฟาในวงจรตาม
การหมุนของผูใช
1 คาบ 1
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 8
ลําดับ/
ชื่อแผน
มาตรฐานการเรียนรู/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
แผนที่
12
วงจร
อิเล็ก
ทรอนิกส
เบื้องตน
(การนําตัว
เก็บประจุ
มาใชงาน)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน
ไดโอด ทรานซิสเตอร และ
ทดลองตอวงจร
อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี
ทรานซิสเตอร
ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส
เชน ตัวเก็บประจุ ทําหนาที่
เก็บประจุไฟฟา
1 คาบ 1
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แผนที่
13
วงจร
อิเล็ก
ทรอนิกส
เบื้องตน
(สนุกกับ
ไดโอด)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน
ไดโอด ทรานซิสเตอร และ
ทดลองตอวงจร
อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี
ทรานซิสเตอร
ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส
เชน ไดโอดมีสมบัติให
กระแสไฟฟาผานไดทิศทาง
เดียว
1 คาบ 1
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แผนที่
14
วงจร
อิเล็ก
ทรอนิกส
เบื้องตน
(ทรานซิส
เตอร)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน
ไดโอด ทรานซิสเตอร และ
ทดลองตอวงจร
อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี
ทรานซิสเตอร
ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส
เชน ทรานซิสเตอรทําหนาที่
เปนสวิตซปด-เปดวงจร
การประกอบวงจร
อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี
ทรานซิสเตอร 1ตัวทําหนาที่
เปนสวิตซ
1 คาบ 1
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 9
ลําดับ/
ชื่อแผน
มาตรฐานการเรียนรู/
ตัวชี้วัด
สาระ
การเรียนรู
ระยะ
เวลา
น้ําหนัก
คะแนน
แผนที่
15
วงจร
อิเล็ก
ทรอนิกส
เบื้องตน
(สนุกกับ
อิเล็กทรอ
นิกส)
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน
ไดโอด ทรานซิสเตอร และ
ทดลองตอวงจร
อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี
ทรานซิสเตอร
ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส ทํา
หนาที่ตางกัน สามารถ
นําไปใชในชีวิตประจําวัน
ได
2 คาบ 1+2
รายงาน
และการ
นําเสนอ
ทํา
แบบทด
สอบ
ชิ้นงาน Mind Map และสิ่งประดิษฐพลังงานไฟฟา 2
จิตพิสัย 2
รวม 20 25
สอบปลายภาค 3 20
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 10
คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว 23101 วิทยาศาสตร 5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนวยกิต
ศึกษา วิเคราะห สังเกต อธิบาย เปรียบเทียบ ทดลอง จําแนก สํารวจตรวจสอบ
สืบคน วิเคราะห อภิปราย แปลความหมาย เกี่ยวกับความเรง ผลของแรงลัพธ แรงกิริยา
และแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุและการนําความรูไปใชประโยชน แรงพยุงของของเหลวที่
กระทํากับวัตถุ แรงเสียดทานสถิต กับแรงเสียดทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน
โมเมนตของแรงและการนําหลักการของโมเมนตไปใชประโยชน งานและกําลัง
พลังงานศักดิ์โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงาน และการนําไปใชประโยชน
การตอวงจรไฟฟาอยางงาย ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา ความ
ตานทาน และนําความรูไปใชประโยชน วัสดุ อุปกรณสําหรับวงจรไฟฟาในบาน
ความสัมพันธระหวางพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟากับกําลังไฟฟา การใชพลังงาน
ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และคิดคาไฟฟา หลักการตอวงจรไฟฟาในบาน สมบัติ
เบื้องตนของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสบางชนิด วงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน
โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจ
ตรวจสอบ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ
สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรู
ไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่
เหมาะสม
รหัสตัวชี้วัด
ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ว 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ว 8.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9
รวม 20 ตัวชี้วัด
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 11
หนวยการเรียนรู พลังงานไฟฟา
รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556
มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1
เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
ตัวชี้วัด
ม.3/2 ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา ความ
ตานทาน และนําความรูไปใชประโยชน
ม.3/3 คํานวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และนําความรูไปใชประโยชน
ม.3/4 สังเกตและอภิปรายการตอวงจรไฟฟาในบานอยางถูกตองปลอดภัย
และประหยัด
ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และทดลองตอวงจร
อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มีทรานซิสเตอร
สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
เมื่อตอหลอดไฟกับแบตเตอรี่ทําใหหลอดไฟสวาง แสดงวาหลอดไฟไดรับ
พลังงานจากแบตเตอรี่ และถาไดรับพลังงานมากขึ้นก็จะสวางมากขึ้น ขณะที่หลอดไฟ
สวางมากขึ้นคาที่อานไดจากโวลตมิเตอรก็เพิ่มมากขึ้นดวย คาที่อานไดจากโวลตมิเตอร
เปนคาความแตกตางระหวางพลังงานไฟฟาที่ปลายขั้วทั้งสองของหลอดไฟ ซึ่งเรียกวา
ความตางศักยไฟฟา ความสวางของหลอดไฟมีความสัมพันธกับคาที่อานไดจาก
แอมมิเตอร โดยเมื่อหลอดไฟสวางมากขึ้น คาที่อานจากแอมมิเตอรก็มากขึ้นดวย คาที่อาน
ไดจากแอมมิเตอรเปนคากระแสไฟฟาที่ผานหลอดไฟและผานแอมมิเตอร อัตราสวน
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 12
ระหวางความตางศักยไฟฟาตอคากระแสไฟฟาที่ผานตัวนําที่มีอุณหภูมิคงตัวจะมีคา
เทากับความตานทานไฟฟา ซึ่งเปนไปตามกฎของโอหม ลวดตัวนําชนิดเดียวกันที่ยาว
เทากันแตมีพื้นที่หนาตัดตางกันจะใหกระแสไฟฟาผานไดไมเทากันเพราะคาความ
ตานทานไฟฟาไมเทากัน โดยพื้นที่หนาตัดมากความตานทานไฟฟาจะนอย พื้นที่หนาตัด
นอยความตานทานไฟฟาจะมาก และลวดตัวนําตางชนิดกันที่ยาวเทากันและมี
พื้นที่หนาตัดเทากันจะใหกระแสไฟฟาผานไดไมเทากัน
ตัวตานทานเปนชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาที่จํากัดปริมาณกระแสไฟฟาใน
วงจรหรือสวนของวงจร ไดโอดจะทําหนาที่กําหนดทิศทางการไหลของกระแสไฟฟาใน
วงจรหรือสวนของวงจรเชนเดียวกับไดโอดเปลงแสง แตไดโอดเปลงแสงสามารถเปลี่ยน
พลังงานไฟฟาที่ผานตัวนําเปนพลังงานแสงออกมาดวย สวนตัวเก็บประจุทําหนาที่เก็บ
ประจุไฟฟาและคายประจุไฟฟาได สําหรับทรานซิสเตอรที่นํามาประกอบวงจร
อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนจะถูกกําหนดใหทําหนาที่คลายสวิตซ คือควบคุมการทํางานของ
วงจรไฟฟา
สาระการเรียนรู
สาระการเรียนรูแกนกลาง
1. ความตางศักย กระแสไฟฟาและความตานทานมีความสัมพันธกันตามกฎของ
โอหม
2. การนํากฎของโอหมไปใชวิเคราะหวงจรไฟฟาอยางงาย
3. การคํานวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาเปนสวนหนึ่งของการคิดคาไฟฟา
และเปนแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟาในบาน
4. การตอวงจรไฟฟาในบานตองออกแบบวงจร ติดตั้งเครื่องใชไฟฟา อุปกรณ
ไฟฟาอยางถูกตอง โดยการตอสวิตชแบบอนุกรม ตอเตารับแบบขนาน และเพื่อความ
ปลอดภัยตองตอสายดินและฟวส รวมทั้งตองคํานึงถึงการใชไฟฟาอยางประหยัด
5. ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เชน ตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร มีสมบัติทาง
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 13
ไฟฟาแตกตางกัน ตัวตานทานทําหนาที่จํากัดกระแสไฟฟาในวงจร ไดโอดมีสมบัติให
กระแสไฟฟาผานไดทิศทางเดียวและทรานซิสเตอรทําหนาที่เปนสวิตซปด-เปดวงจร
6. การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มีทรานซิสเตอร ๑ ตัวทําหนาที่
เปนสวิตซ
สาระการเรียนรูทองถิ่น -
สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
ใชคอมพิวเตอรนําเสนอ Power Point สมาชิกในกลุม ใชอินเตอรเน็ตสื่อสาร
ผานสังคมเครือขายการเรียนรู www.edmono.coom สื่อสารกันภายในกลุม ม.3 กับเพื่อน
รวมระดับชั้นเดียวกัน และครูผูสอน นําเสนอผลการทํากิจกรรม และสรุปผล หนาชั้น
เรียน รวมอภิปรายซักถามในชั้นเรียน
2. ความสามารถในการคิด
คิดวิเคราะห สังเคราะห สรางสรรค มีวิจารณญาณ และคิดเปนระบบตาม
วิธีการทางวิทยาศาสตร เพื่อนําไปสูการสรางองคความรู
3. ความสามารถในการแกปญหา
แกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญขณะปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง สํารวจ
ตรวจสอบ การปฏิบัติงานกลุม ไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล
คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ
ตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา
และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอตนเอง สังคมและ
สิ่งแวดลอม
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
นํากระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง
การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันขณะทํากิจกรรม ดวยการสราง
เสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยาง
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 14
เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการ
รูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
มีทักษะกระบวนการในการคอมพิวเตอรในการสื่อสาร ดวยโปรแกรม Power
Point Word และ www.edmono.coom สังคมเครือขายการเรียนรู สืบคนขอมูลทาง
อินเตอรเน็ต นําเสนอทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู
การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตองเหมาะสมและมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่พลเมืองดีของชาติ
มีความสามัคคี ปรองดอง ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่ของนักเรียน และใหความ
รวมมือในการทํากิจกรรม
2. ซื่อสัตยสุจริตกับขอมูลที่วัดไดจากการทํากิจกรรมการทดลอง สํารวจ
ตรวจสอบ ใหขอมูลที่ถูกตองและเปนจริง ไมถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผูอื่นมาเปน
ของตน ไมลอกการบาน ปฏิบัติตามคํามั่นสัญญา ปฏิบัติตนตอผูอื่นดวยความซื่อตรง ไม
หาประโยชนในทางที่ไมถูกตอง
3. มีวินัยในตนเอง เคารพกติกาการใชหองเรียน กติกากลุม รับผิดชอบงานที่
ไดรับมอบหมาย ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบขอบังคับของครอบครัว
โรงเรียนและสังคมตรงตอเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตางๆในชีวิตประจําวันและ
รับผิดชอบในการทํางาน
4. ใฝเรียนรู ตั้งใจเรียน เอาใจใสและมีความเพียรพยายามในการเรียนรู สนใจเขา
รวมกิจกรรมการเรียนรูตางๆ ศึกษาคนควาหาความรูจากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ สื่อ
เทคโนโลยีตางๆ แหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนและเลือกใชสื่อไดอยาง
เหมาะสม บันทึกความรู วิเคราะหตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียนรู สรุปเปนองคความรู
แลกเปลี่ยนความรู ดวยวิธีการตางๆและนําไปใชในชีวิตประจําวัน
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 15
5. อยูอยางพอเพียง ใชทรัพยสินของตนเอง เชน เงิน สิ่งของ เครื่องใช ฯลฯ อยาง
ประหยัด คุมคาและเก็บรักษาดูแลอยางดี รวมทั้งการใชเวลาอยางเหมาะสม ใชทรัพยากร
ของสวนรวมอยางประหยัด คุมคาและเก็บรักษาดูแลอยางดี ปฏิบัติตนและตัดสินใจดวย
ความรอบคอบ มีเหตุผลไมเอาเปรียบผูอื่นและไมทําใหผูอื่นเดือดรอน พรอมใหอภัยเมื่อ
ผูอื่นกระทําผิดพลาด วางแผนการเรียน การทํางานและการใชชีวิตประจําวันบนพื้นฐาน
ของความรู ขอมูล ขาวสาร
รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม ยอมรับและปรับตัวเพื่ออยูรวมกับ
ผูอื่นไดอยางมีความสุข
6. มุงมั่นในการทํางาน เอาใจใสตอการปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ตั้งใจและ
รับผิดชอบในการทํางานใหสําเร็จ ปรับปรุงและพัฒนาการทํางานดวยตนเอง ทุมเท
ทํางาน อดทน ไมยอทอตอปญหาและอุปสรรคในการทํางาน พยายามแกปญหาและ
อุปสรรคในทํางานใหสําเร็จ
ชื่นชมผลงานดวยความภาคภูมิใจ
7. รักความเปนไทย เห็นคุณคาและใชภาษาไทยในการสื่อสารไดอยางถูกตอง
เหมาะสม
8. มีจิตสาธารณะ ชวยเหลือพอแม ผูปกครอง ครูทํางานดวยความเต็มใจ อาสา
ทํางานใหผูอื่นดวยกําลังกาย กําลังใจและสติปญญาโดยไมหวังผลตอบแทน แบงปน
สิ่งของทรัพยสินและอื่นๆและชวยแกปญหาหรือสรางความสุขใหกับผูอื่น ดูแลรักษา
สาธารณะสมบัติและสิ่งแวดลอมดวยความเต็มใจ เขารวมกิจกรรมที่เปนประโยชนตอ
โรงเรียน ชุมชนและสังคม เขารวมกิจกรรมเพื่อแกปญหาหรือรวมสรางสิ่งที่ดีงามของ
สวนรวม ตามสถานการณที่เกิดขึ้นดวยความกระตือรือรน
ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. วงจรไฟฟาเบื้องตน
1.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 1-4
1.2 แบบฝกหัดทบทวน
1.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 16
1.4 ผลการรวมอภิปรายกลุม และการปฏิบัติกิจกรรม
1.5 ทดสอบหลังเรียน
2. วงจรไฟฟาในบาน
2.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 5-7
2.2 แบบฝกหัดทบทวน
2.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
2.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
2.5 ทดสอบหลังเรียน
3. พลังงานไฟฟาและกําลังไฟฟา
3.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 8
3.2 แบบฝกหัดทบทวน
3.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
3.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
3.5 ทดสอบหลังเรียน
4. วงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน
4.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 9-14
4.2 แบบฝกหัดทบทวน
4.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
4.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
4.5 แบบฝกหัดทายบท
4.6 ทดสอบหลังเรียน
การวัดผลและประเมินผลแตละหนวยยอย
1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู การรวมอภิปราย การปฏิบัติกิจกรรม และการ
นําเสนองานกลุม
2. ตรวจชิ้นงาน แบบฝกหัดทบทวน รายงานสรุปผลการทํากิจกรรม แผนที่
ความคิดสรุปองคความรู
แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 17
3. ทดสอบหลังเรียน
กิจกรรมการเรียนรูแตละหนวยยอย
1. รวมอภิปรายตามแนวคําถามทักษะชีวิต R-C-A
2. สํารวจ ตรวจสอบ ปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
กิจกรรมที่ 1 การตอเครื่องใชไฟฟาเขากับวงจรไฟฟา
กิจกรรมที่ 2 พลังงานไฟฟาในวงจรไฟฟา
กิจกรรมที่ 3 การวัดกระแสไฟฟา
กิจกรรมที่ 4 ความสัมพันธระหวางความตางศักยกับกระแสไฟฟา
กิจกรรมที่ 5 การตอเครื่องใชไฟฟาในบาน
กิจกรรมที่ 6 ขนาด ความยาว และชนิดของลวดตัวนํากับความตานทาน
กิจกรรมที่ 7 ประโยชนของฉนวนหุมสายไฟ
กิจกรรมที่ 8 คิดคาไฟฟาเอง
กิจกรรมที่ 9 หนาที่ของตัวตานทาน
กิจกรรมที่ 10 ตัวตานทานแปรคาได
กิจกรรมที่ 11 การนําตัวเก็บประจุมาใชงาน
กิจกรรมที่ 12 สนุกกับไดโอด
กิจกรรมที่ 13 ทรานซิสเตอรทําหนาที่เปนสวิตซ
กิจกรรมที่ 14 สนุกกับอิเล็กทรอนิกส
3. นําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
4. สรุปองคความรูเปนแผนที่ความคิด
5. ตกแตงชิ้นงานกลุม
6. ทําแบบฝกหัดทบทวน
7. ทําแบบฝกหัดทายบท
8. ทดสอบหลังเรียน
เวลาเรียน/จํานวนชั่วโมง
20 ชั่วโมง

More Related Content

What's hot

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
ssuserd40879
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
Niwat Yod
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
enksodsoon
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
พจีกานต์ หว่านพืช
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
sarawut saoklieo
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
jellyjel
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
Paew Tongpanya
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
Phanuwat Somvongs
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 

What's hot (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 

Viewers also liked

Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7krupornpana55
 
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียนkrupornpana55
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายkrupornpana55
 
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5krupornpana55
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6krupornpana55
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้าSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้าkrupornpana55
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (16)

Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
 
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
 
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
 
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
 
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
 
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
 
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้าSlปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 

Similar to Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56

ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docxตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ssuser7ea064
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56krupornpana55
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
Prachoom Rangkasikorn
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
Niwat Yod
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55krupornpana55
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
Weerachat Martluplao
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
Oommie Banthita
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำkrupornpana55
 
การ์ดปริศนา
การ์ดปริศนาการ์ดปริศนา
การ์ดปริศนา
kroofon fon
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
ทับทิม เจริญตา
 

Similar to Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56 (20)

ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docxตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
 
ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1
 
ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1ไฟฟ้า1
ไฟฟ้า1
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำ
 
การ์ดปริศนา
การ์ดปริศนาการ์ดปริศนา
การ์ดปริศนา
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงานไฟฟ้า 11 เม.ย.56

  • 1. แผนการจัดกา มาต การ พลัง สิ่งที ตัวชี้ กระ ไปใ แล อิเล็ ารเรียนรู หนว ตรฐาน ว 5.1 รเปลี่ยนรูปพ งงานตอชีวิต ที่เรียนรูและ ชี้วัด ม.3/2 ท ะแสไฟฟา ค ม.3/3 คํ ใชประโยชน ม.3/4 สั ะประหยัด ม.3/5 กทรอนิกสเ วยที่ 3 เรื่อง พ 1 เขาใจควา พลังงาน ปฏิ ตและสิ่งแวด ะนําความรูไป ทดลองและอ ความตานทา านวณพลังง น สังเกตและอภิ อธิบายตัว เบื้องตนที่มีท ลังงานไฟฟา ามสัมพันธร สัมพันธระห ดลอม มีกระ ปใชประโยช อธิบายความ น และนําคว งานไฟฟาขอ ภิปรายการต วตานทาน ไ ทรานซิสเตอ ระหวางพลัง หวางสารแล ะบวนการสืบ ชน มสัมพันธระห วามรูไปใชป องเครื่องใชไ ตอวงจรไฟฟ ไดโอด ทราน อร งงานกับการ ละพลังงาน บเสาะหาคว หวางความต ประโยชน ไฟฟา และน ฟาในบานอย นซิสเตอร แ รดํารงชีวิต ผลของการใ วามรู สื่อสาร ตางศักย นําความรู ยางถูกตองป และทดลอง หนา 1 ใช ร ปลอดภัย ตอวงจร
  • 2. แผนการจัดกา เวลาเรีย 1. วงจรไฟ 4. วงจรอิเล็ เบื้อ เวลาเรีย ารเรียนรู หนว ยน 6 คาบ ฟฟาเบื้องตน ล็กทรอนิกส งตน น 7 คาบ วยที่ 3 เรื่อง พ น ส ลังงานไฟฟา หนวย พลังงาน ยที่ 3 นไฟฟา 2 เวลาเรียน 2. วงจรไฟฟ 3. พลังงาน และกําลังไ เวลาเรียน หนา 2 4 คาบ ฟาในบาน นไฟฟา ไฟฟา น 2 คาบ
  • 3. ไ ใ ไ แผนการจัดกา กลุมสาระก ระดับชั้นมัธ สาระที่ 5 พ ลําดับ/ ชื่อแผน แผนที่ 1 เรียนรู บทเรียน แผนที่ 2 วงจรไฟ ไฟฟา เบื้องตน (การตอ เครื่องใชไ ฟฟาเขา ในวงจร ไฟฟา) ารเรียนรู หนว โค การเรียนรูวิท ธยมศึกษาป พลังงาน มาต มาตรฐา ตั 1. ทําความเ นักเรียนเรื่อ เรียน 2. ทดสอบค เนื้อหาเกี่ยว ไฟฟา มาตรฐาน ว ม.3/2 ทดลอ ความสัมพัน ความตางศัก กระแสไฟฟ ตานทาน แ ใชประโยช วยที่ 3 เรื่อง พ ครงสรางร ทยาศาสตร ร ปที่ 3 เวลาเรี ตรฐาน ว 5. านการเรียนรู ตัวชี้วัด เขาใจกับ อง คะแนน เ ความรูพื้นฐ วกับพลังงาน ว 5.1 องและอธิบ นธระหวาง กย ฟา ความ ละนําความร ชน ลังงานไฟฟา ายวิชาหนว รหัสวิชา ว 2 รียน 20 คาบ 1 รู/ เวลา าน น ทําคว เรียน พื้นฐ าย รูไป หลอ เครื่อ พลัง เปลี่ย และพ ความ กระแ ตานท กันต การน วิเครา วยที่ 3 พลัง 23101 บ สาระ การเรียน วามเขาใจกา นรู และทดส ฐานกอนเรีย อดไฟเปน องใชไฟฟาที งานไฟฟาแ ยนเปนพลังง พลังงานควา มตางศักย แสไฟฟาแล ทานมีความ ตามกฎของโ นํากฎของโอ าะหวงจรไฟฟ งงานไฟฟา ชื่อรา คะ ะ นรู ารจัดการ สอบความรู น ที่รับ ลว งานแสง ามรอน ละความ สัมพันธ โอหม อหมไปใช ฟาอยางงาย ายวิชาวิทยา ะแนนเก็บ 25 ระยะ เวลา 1 คาบ 1 คาบ หนา 3 ศาสตร 5 5 คะแนน น้ําหนัก คะแนน - แบบ ทดสอบ กอน เรียน 50 ขอ 1 รายงาน และการ นําเสนอ
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 4 ลําดับ/ ชื่อแผน มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน แผนที่ 3 วงจรไฟ ไฟฟา เบื้องตน (พลังงาน ไฟฟาใน วงจร ไฟฟา) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบาย ความสัมพันธระหวาง ความตางศักย กระแสไฟฟา ความ ตานทาน และนําความรูไป ใชประโยชน โวลตมิเตอรเปนเครื่องมือ ที่ใชบอกคาความตาง ศักยไฟฟา (potential difference) มีหนวยเปน โวลต (V) ใชตอครอมกับ เครื่องใชไฟฟา ความตางศักย กระแสไฟฟาและความ ตานทานมีความสัมพันธ กันตามกฎของโอหม การนํากฎของโอหมไปใช วิเคราะหวงจรไฟฟาอยาง งาย 1 คาบ 1 รายงาน และการ นําเสนอ แผนที่ 4 วงจรไฟ ไฟฟา เบื้องตน (การวัด กระแส ไฟฟา) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบาย ความสัมพันธระหวาง ความตางศักย กระแสไฟฟา ความ ตานทาน และนําความรูไป ใชประโยชน แอมมิเตอรมิเตอรเปน เครื่องมือที่ใชบอกคา กระแสไฟฟา (electrical current) มีหนวยเปน แอมแปร (A) ใชตอตรงกับ เครื่องใชไฟฟา ความตาง ศักย กระแสไฟฟาและความ ตานทานมีความสัมพันธกัน ตามกฎของโอหม การนํากฎ ของโอหมไปใชวิเคราะห วงจรไฟฟาอยางงาย 1 คาบ 1 รายงาน และการ นําเสนอ
  • 5. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 5 ลําดับ/ ชื่อแผน มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน แผนที่ 5 วงจรไฟ ไฟฟา เบื้องตน (ความสัม พันธ ระหวาง ความตาง ศักยกับ กระแส ไฟฟา) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบาย ความสัมพันธระหวาง ความตางศักย กระแสไฟฟา ความ ตานทาน และนําความรูไป ใชประโยชน คาความตางศักยไฟฟาจะ แปรผันตรงกับคา กระแสไฟฟา โดยมีคา ความตานทานคงที่ ความตางศักย กระแสไฟฟาและความ ตานทานมีความสัมพันธ กันตามกฎของโอหม การ นํากฎของโอหมไปใช วิเคราะหวงจรไฟฟาอยาง งาย 2 คาบ 1+2 รายงาน และการ นําเสนอ แบบ ทดสอบ 12 ขอ แผนที่ 6 วงจรไฟ ไฟฟาใน บาน (การตอ เครื่องใช ไฟฟาใน บาน) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณพลังงาน ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และนําความรูไปใช ประโยชน ม.3/4 สังเกตและอภิปราย การตอวงจรไฟฟาในบาน อยางถูกตองปลอดภัย และ ประหยัด การคํานวณพลังงานไฟฟา ของเครื่องใชไฟฟาเปน สวนหนึ่งของการคิดคา ไฟฟาและเปนแนวทางใน การประหยัดพลังงาน ไฟฟาในบาน 1 คาบ - แผนที่ 7 วงจรไฟ ไฟฟาใน บาน มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณพลังงาน ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และนําความรูไปใช การคํานวณคาความ ตานทาน สามารถคํานวณ ไดจากสูตร 2 คาบ 1 รายงาน และการ นําเสนอ
  • 6. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 6 ลําดับ/ ชื่อแผน มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน (ขนาด ความยาว และชนิด ของลวด ตัวนํากับ ความ ตานทาน) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณพลังงาน ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และนําความรูไปใช ประโยชน ม.3/4 สังเกตและอภิปราย การตอวงจรไฟฟาในบาน อยางถูกตองปลอดภัย และ ประหยัด ปจจัยที่มีผลตอความ ตานทาน คือความยาว ชนิดและพื้นที่หนาตัดของ เสนลวด แผนที่ 8 วงจรไฟ ไฟฟาใน บาน (ประโยชน ของ ฉนวนหุม สายไฟ) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณพลังงาน ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และนําความรูไปใช ประโยชน ม.3/4 สังเกตและอภิปราย การตอวงจรไฟฟาในบาน อยางถูกตองปลอดภัย และ ประหยัด ฉนวนหุมสายไฟฟาชวย ปองกันไมใหไฟฟา ลัดวงจร 1 คาบ 1+2 รายงาน และการ นําเสนอ แบบ ทดสอบ 12 ขอ แผนที่ 9 พลังงาน ไฟไฟฟา มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณพลังงาน ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา การคํานวณพลังงาน ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา เปนสวนหนึ่งของการคิด 2 คาบ 1+2 ชิ้นงาน และทํา
  • 7. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 7 ลําดับ/ ชื่อแผน มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน และ กําลังไฟ ฟา (คิดคา ไฟฟาจาก ใบเสร็จคา ไฟ) และนําความรูไปใช ประโยชน ม.3/4 สังเกตและอภิปราย การตอวงจรไฟฟาในบาน อยางถูกตองปลอดภัย และ ประหยัด คาไฟฟาและเปนแนวทาง ในการประหยัดพลังงาน ไฟฟาในบาน แบบทด สอบ 5 ขอ แผนที่ 10 วงจร อิเล็ก ทรอนิกส เบื้องตน (หนาที่ ของตัว ตานทาน) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และ ทดลองตอวงจร อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี ทรานซิสเตอร ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เชน ตัวตานทาน ทําหนาที่ จํากัดกระแสไฟฟาในวงจร 1 คาบ 1 รายงาน และการ นําเสนอ แผนที่ 11 วงจร อิเล็ก ทรอนิกส เบื้องตน (ตัว ตานทาน แปรคาได) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และ ทดลองตอวงจร อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี ทรานซิสเตอร ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เชน ตัวตานทานแปรคาได ทํ า ห น า ที่ จํ า กั ด กระแสไฟฟาในวงจรตาม การหมุนของผูใช 1 คาบ 1 รายงาน และการ นําเสนอ
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 8 ลําดับ/ ชื่อแผน มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน แผนที่ 12 วงจร อิเล็ก ทรอนิกส เบื้องตน (การนําตัว เก็บประจุ มาใชงาน) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และ ทดลองตอวงจร อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี ทรานซิสเตอร ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เชน ตัวเก็บประจุ ทําหนาที่ เก็บประจุไฟฟา 1 คาบ 1 รายงาน และการ นําเสนอ แผนที่ 13 วงจร อิเล็ก ทรอนิกส เบื้องตน (สนุกกับ ไดโอด) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และ ทดลองตอวงจร อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี ทรานซิสเตอร ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เชน ไดโอดมีสมบัติให กระแสไฟฟาผานไดทิศทาง เดียว 1 คาบ 1 รายงาน และการ นําเสนอ แผนที่ 14 วงจร อิเล็ก ทรอนิกส เบื้องตน (ทรานซิส เตอร) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และ ทดลองตอวงจร อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี ทรานซิสเตอร ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เชน ทรานซิสเตอรทําหนาที่ เปนสวิตซปด-เปดวงจร การประกอบวงจร อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี ทรานซิสเตอร 1ตัวทําหนาที่ เปนสวิตซ 1 คาบ 1 รายงาน และการ นําเสนอ
  • 9. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 9 ลําดับ/ ชื่อแผน มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด สาระ การเรียนรู ระยะ เวลา น้ําหนัก คะแนน แผนที่ 15 วงจร อิเล็ก ทรอนิกส เบื้องตน (สนุกกับ อิเล็กทรอ นิกส) มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และ ทดลองตอวงจร อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มี ทรานซิสเตอร ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส ทํา หนาที่ตางกัน สามารถ นําไปใชในชีวิตประจําวัน ได 2 คาบ 1+2 รายงาน และการ นําเสนอ ทํา แบบทด สอบ ชิ้นงาน Mind Map และสิ่งประดิษฐพลังงานไฟฟา 2 จิตพิสัย 2 รวม 20 25 สอบปลายภาค 3 20
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 10 คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 23101 วิทยาศาสตร 5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนวยกิต ศึกษา วิเคราะห สังเกต อธิบาย เปรียบเทียบ ทดลอง จําแนก สํารวจตรวจสอบ สืบคน วิเคราะห อภิปราย แปลความหมาย เกี่ยวกับความเรง ผลของแรงลัพธ แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุและการนําความรูไปใชประโยชน แรงพยุงของของเหลวที่ กระทํากับวัตถุ แรงเสียดทานสถิต กับแรงเสียดทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน โมเมนตของแรงและการนําหลักการของโมเมนตไปใชประโยชน งานและกําลัง พลังงานศักดิ์โนมถวง พลังงานจลน กฎการอนุรักษพลังงาน และการนําไปใชประโยชน การตอวงจรไฟฟาอยางงาย ความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา ความ ตานทาน และนําความรูไปใชประโยชน วัสดุ อุปกรณสําหรับวงจรไฟฟาในบาน ความสัมพันธระหวางพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟากับกําลังไฟฟา การใชพลังงาน ไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และคิดคาไฟฟา หลักการตอวงจรไฟฟาในบาน สมบัติ เบื้องตนของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสบางชนิด วงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจ ตรวจสอบ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรู ไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ว 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ว 8.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 รวม 20 ตัวชี้วัด
  • 11. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 11 หนวยการเรียนรู พลังงานไฟฟา รายวิชาวิทยาศาสตร ว 23101 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556 มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ตัวชี้วัด ม.3/2 ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางความตางศักย กระแสไฟฟา ความ ตานทาน และนําความรูไปใชประโยชน ม.3/3 คํานวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา และนําความรูไปใชประโยชน ม.3/4 สังเกตและอภิปรายการตอวงจรไฟฟาในบานอยางถูกตองปลอดภัย และประหยัด ม.3/5 อธิบายตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร และทดลองตอวงจร อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มีทรานซิสเตอร สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด เมื่อตอหลอดไฟกับแบตเตอรี่ทําใหหลอดไฟสวาง แสดงวาหลอดไฟไดรับ พลังงานจากแบตเตอรี่ และถาไดรับพลังงานมากขึ้นก็จะสวางมากขึ้น ขณะที่หลอดไฟ สวางมากขึ้นคาที่อานไดจากโวลตมิเตอรก็เพิ่มมากขึ้นดวย คาที่อานไดจากโวลตมิเตอร เปนคาความแตกตางระหวางพลังงานไฟฟาที่ปลายขั้วทั้งสองของหลอดไฟ ซึ่งเรียกวา ความตางศักยไฟฟา ความสวางของหลอดไฟมีความสัมพันธกับคาที่อานไดจาก แอมมิเตอร โดยเมื่อหลอดไฟสวางมากขึ้น คาที่อานจากแอมมิเตอรก็มากขึ้นดวย คาที่อาน ไดจากแอมมิเตอรเปนคากระแสไฟฟาที่ผานหลอดไฟและผานแอมมิเตอร อัตราสวน
  • 12. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 12 ระหวางความตางศักยไฟฟาตอคากระแสไฟฟาที่ผานตัวนําที่มีอุณหภูมิคงตัวจะมีคา เทากับความตานทานไฟฟา ซึ่งเปนไปตามกฎของโอหม ลวดตัวนําชนิดเดียวกันที่ยาว เทากันแตมีพื้นที่หนาตัดตางกันจะใหกระแสไฟฟาผานไดไมเทากันเพราะคาความ ตานทานไฟฟาไมเทากัน โดยพื้นที่หนาตัดมากความตานทานไฟฟาจะนอย พื้นที่หนาตัด นอยความตานทานไฟฟาจะมาก และลวดตัวนําตางชนิดกันที่ยาวเทากันและมี พื้นที่หนาตัดเทากันจะใหกระแสไฟฟาผานไดไมเทากัน ตัวตานทานเปนชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสที่ทําหนาที่จํากัดปริมาณกระแสไฟฟาใน วงจรหรือสวนของวงจร ไดโอดจะทําหนาที่กําหนดทิศทางการไหลของกระแสไฟฟาใน วงจรหรือสวนของวงจรเชนเดียวกับไดโอดเปลงแสง แตไดโอดเปลงแสงสามารถเปลี่ยน พลังงานไฟฟาที่ผานตัวนําเปนพลังงานแสงออกมาดวย สวนตัวเก็บประจุทําหนาที่เก็บ ประจุไฟฟาและคายประจุไฟฟาได สําหรับทรานซิสเตอรที่นํามาประกอบวงจร อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนจะถูกกําหนดใหทําหนาที่คลายสวิตซ คือควบคุมการทํางานของ วงจรไฟฟา สาระการเรียนรู สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. ความตางศักย กระแสไฟฟาและความตานทานมีความสัมพันธกันตามกฎของ โอหม 2. การนํากฎของโอหมไปใชวิเคราะหวงจรไฟฟาอยางงาย 3. การคํานวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาเปนสวนหนึ่งของการคิดคาไฟฟา และเปนแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟาในบาน 4. การตอวงจรไฟฟาในบานตองออกแบบวงจร ติดตั้งเครื่องใชไฟฟา อุปกรณ ไฟฟาอยางถูกตอง โดยการตอสวิตชแบบอนุกรม ตอเตารับแบบขนาน และเพื่อความ ปลอดภัยตองตอสายดินและฟวส รวมทั้งตองคํานึงถึงการใชไฟฟาอยางประหยัด 5. ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เชน ตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร มีสมบัติทาง
  • 13. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 13 ไฟฟาแตกตางกัน ตัวตานทานทําหนาที่จํากัดกระแสไฟฟาในวงจร ไดโอดมีสมบัติให กระแสไฟฟาผานไดทิศทางเดียวและทรานซิสเตอรทําหนาที่เปนสวิตซปด-เปดวงจร 6. การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มีทรานซิสเตอร ๑ ตัวทําหนาที่ เปนสวิตซ สาระการเรียนรูทองถิ่น - สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร ใชคอมพิวเตอรนําเสนอ Power Point สมาชิกในกลุม ใชอินเตอรเน็ตสื่อสาร ผานสังคมเครือขายการเรียนรู www.edmono.coom สื่อสารกันภายในกลุม ม.3 กับเพื่อน รวมระดับชั้นเดียวกัน และครูผูสอน นําเสนอผลการทํากิจกรรม และสรุปผล หนาชั้น เรียน รวมอภิปรายซักถามในชั้นเรียน 2. ความสามารถในการคิด คิดวิเคราะห สังเคราะห สรางสรรค มีวิจารณญาณ และคิดเปนระบบตาม วิธีการทางวิทยาศาสตร เพื่อนําไปสูการสรางองคความรู 3. ความสามารถในการแกปญหา แกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญขณะปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง สํารวจ ตรวจสอบ การปฏิบัติงานกลุม ไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ ตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอตนเอง สังคมและ สิ่งแวดลอม 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต นํากระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันขณะทํากิจกรรม ดวยการสราง เสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยาง
  • 14. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 14 เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการ รูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี มีทักษะกระบวนการในการคอมพิวเตอรในการสื่อสาร ดวยโปรแกรม Power Point Word และ www.edmono.coom สังคมเครือขายการเรียนรู สืบคนขอมูลทาง อินเตอรเน็ต นําเสนอทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตองเหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่พลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี ปรองดอง ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่ของนักเรียน และใหความ รวมมือในการทํากิจกรรม 2. ซื่อสัตยสุจริตกับขอมูลที่วัดไดจากการทํากิจกรรมการทดลอง สํารวจ ตรวจสอบ ใหขอมูลที่ถูกตองและเปนจริง ไมถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผูอื่นมาเปน ของตน ไมลอกการบาน ปฏิบัติตามคํามั่นสัญญา ปฏิบัติตนตอผูอื่นดวยความซื่อตรง ไม หาประโยชนในทางที่ไมถูกตอง 3. มีวินัยในตนเอง เคารพกติกาการใชหองเรียน กติกากลุม รับผิดชอบงานที่ ไดรับมอบหมาย ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบขอบังคับของครอบครัว โรงเรียนและสังคมตรงตอเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตางๆในชีวิตประจําวันและ รับผิดชอบในการทํางาน 4. ใฝเรียนรู ตั้งใจเรียน เอาใจใสและมีความเพียรพยายามในการเรียนรู สนใจเขา รวมกิจกรรมการเรียนรูตางๆ ศึกษาคนควาหาความรูจากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ สื่อ เทคโนโลยีตางๆ แหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนและเลือกใชสื่อไดอยาง เหมาะสม บันทึกความรู วิเคราะหตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียนรู สรุปเปนองคความรู แลกเปลี่ยนความรู ดวยวิธีการตางๆและนําไปใชในชีวิตประจําวัน
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 15 5. อยูอยางพอเพียง ใชทรัพยสินของตนเอง เชน เงิน สิ่งของ เครื่องใช ฯลฯ อยาง ประหยัด คุมคาและเก็บรักษาดูแลอยางดี รวมทั้งการใชเวลาอยางเหมาะสม ใชทรัพยากร ของสวนรวมอยางประหยัด คุมคาและเก็บรักษาดูแลอยางดี ปฏิบัติตนและตัดสินใจดวย ความรอบคอบ มีเหตุผลไมเอาเปรียบผูอื่นและไมทําใหผูอื่นเดือดรอน พรอมใหอภัยเมื่อ ผูอื่นกระทําผิดพลาด วางแผนการเรียน การทํางานและการใชชีวิตประจําวันบนพื้นฐาน ของความรู ขอมูล ขาวสาร รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม ยอมรับและปรับตัวเพื่ออยูรวมกับ ผูอื่นไดอยางมีความสุข 6. มุงมั่นในการทํางาน เอาใจใสตอการปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ตั้งใจและ รับผิดชอบในการทํางานใหสําเร็จ ปรับปรุงและพัฒนาการทํางานดวยตนเอง ทุมเท ทํางาน อดทน ไมยอทอตอปญหาและอุปสรรคในการทํางาน พยายามแกปญหาและ อุปสรรคในทํางานใหสําเร็จ ชื่นชมผลงานดวยความภาคภูมิใจ 7. รักความเปนไทย เห็นคุณคาและใชภาษาไทยในการสื่อสารไดอยางถูกตอง เหมาะสม 8. มีจิตสาธารณะ ชวยเหลือพอแม ผูปกครอง ครูทํางานดวยความเต็มใจ อาสา ทํางานใหผูอื่นดวยกําลังกาย กําลังใจและสติปญญาโดยไมหวังผลตอบแทน แบงปน สิ่งของทรัพยสินและอื่นๆและชวยแกปญหาหรือสรางความสุขใหกับผูอื่น ดูแลรักษา สาธารณะสมบัติและสิ่งแวดลอมดวยความเต็มใจ เขารวมกิจกรรมที่เปนประโยชนตอ โรงเรียน ชุมชนและสังคม เขารวมกิจกรรมเพื่อแกปญหาหรือรวมสรางสิ่งที่ดีงามของ สวนรวม ตามสถานการณที่เกิดขึ้นดวยความกระตือรือรน ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. วงจรไฟฟาเบื้องตน 1.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 1-4 1.2 แบบฝกหัดทบทวน 1.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู
  • 16. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 16 1.4 ผลการรวมอภิปรายกลุม และการปฏิบัติกิจกรรม 1.5 ทดสอบหลังเรียน 2. วงจรไฟฟาในบาน 2.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 5-7 2.2 แบบฝกหัดทบทวน 2.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู 2.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 2.5 ทดสอบหลังเรียน 3. พลังงานไฟฟาและกําลังไฟฟา 3.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 8 3.2 แบบฝกหัดทบทวน 3.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู 3.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 3.5 ทดสอบหลังเรียน 4. วงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 4.1 รายงานสรุปผลการทํากิจกรรมที่ 9-14 4.2 แบบฝกหัดทบทวน 4.3 แผนที่ความคิดสรุปองคความรู 4.4 ผลการรวมอภิปราย และการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.5 แบบฝกหัดทายบท 4.6 ทดสอบหลังเรียน การวัดผลและประเมินผลแตละหนวยยอย 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู การรวมอภิปราย การปฏิบัติกิจกรรม และการ นําเสนองานกลุม 2. ตรวจชิ้นงาน แบบฝกหัดทบทวน รายงานสรุปผลการทํากิจกรรม แผนที่ ความคิดสรุปองคความรู
  • 17. แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟา หนา 17 3. ทดสอบหลังเรียน กิจกรรมการเรียนรูแตละหนวยยอย 1. รวมอภิปรายตามแนวคําถามทักษะชีวิต R-C-A 2. สํารวจ ตรวจสอบ ปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง กิจกรรมที่ 1 การตอเครื่องใชไฟฟาเขากับวงจรไฟฟา กิจกรรมที่ 2 พลังงานไฟฟาในวงจรไฟฟา กิจกรรมที่ 3 การวัดกระแสไฟฟา กิจกรรมที่ 4 ความสัมพันธระหวางความตางศักยกับกระแสไฟฟา กิจกรรมที่ 5 การตอเครื่องใชไฟฟาในบาน กิจกรรมที่ 6 ขนาด ความยาว และชนิดของลวดตัวนํากับความตานทาน กิจกรรมที่ 7 ประโยชนของฉนวนหุมสายไฟ กิจกรรมที่ 8 คิดคาไฟฟาเอง กิจกรรมที่ 9 หนาที่ของตัวตานทาน กิจกรรมที่ 10 ตัวตานทานแปรคาได กิจกรรมที่ 11 การนําตัวเก็บประจุมาใชงาน กิจกรรมที่ 12 สนุกกับไดโอด กิจกรรมที่ 13 ทรานซิสเตอรทําหนาที่เปนสวิตซ กิจกรรมที่ 14 สนุกกับอิเล็กทรอนิกส 3. นําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน 4. สรุปองคความรูเปนแผนที่ความคิด 5. ตกแตงชิ้นงานกลุม 6. ทําแบบฝกหัดทบทวน 7. ทําแบบฝกหัดทายบท 8. ทดสอบหลังเรียน เวลาเรียน/จํานวนชั่วโมง 20 ชั่วโมง