SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 
3 กันยายน 2557
Joseph H. Bragdon, 
Society for Organizational Learning, 2006 
ขอขอบคุณ พันเอกหญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล ที่กรุณาแนะนาหนังสือเล่มนี้มาศึกษา
มีผู้คนมากขึ้น ตระหนักถึงระบบทุนนิยมว่า ประสบความสาเร็จ ในด้านความมั่งคั่งทางการเงิน โดยไม่คานึงถึงการทาอันตรายต่อ ระบบที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ Joseph H. Bragdon อธิบายรูปแบบใหม่ของ การดูแลสินทรัพย์ที่ มีชีวิต (Living Asset Stewardship: LAS) และเสนอทางเลือกที่ ดีกว่าระบบทุนนิยม ที่คุกคามโลกของเราอยู่ในทุกวันนี้ การดูแลสินทรัพย์ที่มีชีวิต (LAS) คือ การดูแลเกี่ยวกับผู้คนและ สิ่งที่พวกเขาเอาใจใส่ (คน, สังคม, การตลาด และชีวมณฑล Society, Markets, and the Biosphere)
สินทรัพย์ที่มีชีวิต (Living Asset) หมายถึง ผู้คนและธรรมชาติ สินทรัพย์ที่ไม่มีชีวิต (Nonliving Asset) หมายถึง เงินทุน 
สินทรัพย์ที่มีชีวิตมีความสาคัญกว่าสินทรัพย์ที่ไม่มีชีวิต และเป็น สิ่งที่ทาให้องค์กรเกิดความยั่งยืน เพราะสินทรัพย์ที่ไม่มีชีวิต ต้อง อาศัยสินทรัพย์ที่มีชีวิต เป็นแหล่งในการทาให้เกิดขึ้นมาได้ การดูแลสินทรัพย์ที่มีชีวิต (Living Asset Stewardship: LAS) คือ การดูแลเอาใจใส่ สิ่งที่เราให้คุณค่ามากที่สุด (ผู้คนและ ธรรมชาติ)
การดูแลเอาใจใส่ หมายถึง การมีวินัย อย่างเป็นระบบในการ ดูแลสุขภาวะของโลกที่เราอาศัยอยู่ ด้วยมุมมองที่กว้างขึ้น (ทาง สังคม, การตลาด และชีวมณฑล) LAS คือกระบวนการการบริหารจัดการอย่างมีคุณธรรม ในการ ดูแลเอาใจใส่บุคลากร ทั้งด้านสุขภาพ สวัสดิการ เคารพใน ศักดิ์ศรี และสร้างเสริมความสามารถด้านอาชีพการงาน 
การดูแลเอาใจใส่บุคลากรให้ดี ผลตอบแทนจะกลับมาเป็นหลาย เท่าของการลงทุน
ผู้ประพันธ์รวบรวม 60 บริษัทชั้นนาที่มีผลประกอบการดีเป็น ระยะเวลายาวนาน และมีการจัดทาตัวชี้วัดกระบวนการ LAS เรียกว่า Global Living Asset Management Performance (LAMP Index) 
เพื่อใช้ประโยชน์ในรายงานป้อนกลับ ของการประเมินบริษัท โดยเป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการเปรียบเทียบ เพื่อให้นักลงทุนใช้ ตัดสินใจในการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์
พันธกิจ วิสัยทัศน์ และค่านิยม ที่สะท้อนถึงชีวิตและอุดมการณ์ที่ยั่งยืน 
หลักการปฏิบัติการ ที่เคารพสิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 
องค์กรมีการกระจายอานาจและเครือข่าย ที่ให้อานาจในการตัดสินใจ 
สถานที่ทางาน ที่พนักงานได้รับความเชื่อถือ เสริมสร้างพลังอานาจ และมี ความรับผิดชอบ 
ผู้นา ที่ให้คาปรึกษาและช่วยเหลือ การเจริญเติบโตเป็นมืออาชีพของพนักงาน 
วัฒนธรรม ที่สนับสนุนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางานร่วมกัน และ แบ่งปันความคิดร่วมกัน 
นโยบายการเงิน ที่ออกแบบมาเพื่อรักษาความมั่นคงสาหรับชนรุ่นต่อไป และ สร้างประโยชน์สาหรับผู้มีส่วนได้เสีย 
ระบบการจัดการเรื่องผลกาไร ที่หมายถึงการให้บริการที่มีคุณภาพที่สูงขึ้น มากกว่าที่จะเป็นจุดสิ้นสุด
ผู้บริหารสูงสุดและผู้บริหารระดับอาวุโส สนับสนุน LAS อย่างต่อเนื่องทั้ง คาพูดและการกระทา 
ผู้บริหารและพนักงาน มีการประเมิน โดยใช้ความเข้าใจของพวกเขาใน หลักการ LAS และความก้าวหน้าของการปฏิบัติ 
การพัฒนาอย่างยั่งยืนและความเคารพสาหรับชีวิต ที่ฝังตัวอยู่ในทุกการคิด เชิงกลยุทธ์ และการวางแผน 
โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนเครือข่ายที่แพร่หลาย ระหว่างพนักงาน ลูกค้า คู่ค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สาคัญ 
ระบบการรายงาน มีการเปิดเผย โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ 
ผลการตรวจสอบและประเมินผล เพื่อการเรียนรู้ เพื่อความก้าวหน้าอย่าง ต่อเนื่อง 
การลงทุน มองไปที่ผลระยะยาว มากกว่าผลตอบแทนที่รวดเร็ว 
การกู้ยืมมีจากัด แม้จะอยู่ในสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุด
การยกระดับ (leverage) ขององค์กร เกิดจากการประสานงาน ร่วมมือกัน ไม่ได้พึ่งพาการเงินเพียงอย่างเดียว 
ผู้นายกระดับองค์กร ด้วยการทาให้บุคลากรเกิดแรงบันดาลใจ ร่วมมือกัน และเกื้อหนุนให้พวกเขาได้ก้าวหน้าด้านวิชาชีพ 
ผู้นาทาให้องค์กรมีรายได้อย่างยั่งยืนหลายทศวรรษ ไม่มีการเลิก จ้างงาน โดยอาศัยวัฒนธรรมองค์กรคือ ความมีน้าใจ ความเป็น มืออาชีพ การมีมนุษยธรรม และการดูแลเอาใจใส่บุคลากร
ความคงทนขององค์กร เกิดจากวัฒนธรรม LAS ที่มีการปรับตัว ได้ดีกว่า เพราะบุคลากรมีความผูกพัน ทางานเป็นเครือข่าย ไม่ได้ทางานแบบลาดับชั้นการบังคับบัญชาที่ซับซ้อน องค์กร LAS สามารถมีการตอบสนองที่รวดเร็ว และมีการสร้าง นวัตกรรมที่ดีกว่า 
การทางานเป็นระบบเครือข่าย ไม่ได้ขึ้นกับขนาดขององค์กร เป็น เพราะมีวัฒธรรมแบบชุมชน มีการดูแลเอาใจใส่กันและกัน และ รับผิดชอบร่วมกัน ผู้นาปฏิบัติตนเป็น ผู้นาแบบผู้รับใช้ (Servant Leadership)
ความทนทาน เกิดจาก บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของ ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ 
มีการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน ทาให้บุคลากรที่ทางานร่วมกัน เป็นทีมมีความหลากหลาย (diversity) บุคลากรได้รับการส่งเสริมให้จัดตั้ง ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice: CoP) คือผู้ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ได้พบปะ กันแบบตัวจริงเสียงจริง และในระบบเสมือนจริง 
บุคลากรผู้ที่สร้างผลงานดี ได้รับการยกย่องและให้รางวัล โดยไม่ จากัดสถานภาพ
สาหรับสถาบันนักลงทุน LAS เป็นแนวทางการสร้างคุณค่าในการ ลงทุน มากกว่าธุรกิจธรรมดา ถ้านักลงทุนมีความเข้าใจ LAS ว่ามีส่วนทาให้เกิดผลกาไรที่คุ้มค่า ก็จะเลือกลงทุนในบริษัทที่มี LAS อยู่ในรายงานผลการดาเนินการ ผู้ลงทุนเมื่อเลือกที่จะลงทุนในบริษัทที่มี LAS จะเป็นตัวเร่งให้ บริษัทต่าง ๆ หันมาทา LAS เพื่อให้เกิดความแพร่หลายมากขึ้น
เมื่อเปลี่ยนความคิด โลกก็เปลี่ยนไป เช่น การคิดว่าโลกกลมแทน ความคิดดั้งเดิมว่าโลกแบน ทาให้เกิดมีการสารวจโดยทางเรือ เพื่อค้นหาดินแดนใหม่ ๆ โดยไม่ต้องกลัวว่าจะตกโลก LAS เกิดจากการมีมุมมอง เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรของโลกที่มี อยู่อย่างจากัด ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อชนรุ่นต่อไป 
เครือข่ายบริษัทที่ตระหนักในเรื่องของชีวิตและสิ่งแวดล้อม จึงมี ความมุ่งมั่นในการส่งเสริม การดูแลทุนสิ่งที่มีชีวิต (Living Asset Stewardship: LAS)
How Capitalism Excels: 
Case Studies in Living Asset Stewardship
คุณค่าของสินทรัพย์ที่มีชีวิต LAS เคารพในสิ่งมีชีวิตในทุกขั้นตอน มีสัมพันธภาพกับบุคลากร ลูกค้า ชุมชน ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และสิ่งแวดล้อม LAS อยู่อย่างสอดคล้องกันกับผู้คนและธรรมชาติ ไม่ใช่พยายาม ควบคุมผู้คนและธรรมชาติ 
องค์กรทาตนเสมือนกับสิ่งมีชีวิต ที่มีการติดต่อกับสิ่งแวดล้อม รอบตัวที่กว้างขวาง ของการตลาดที่เสรี สังคม และชีวมณฑล (ดู Table 1-1)
รูปแบบของ LAS 
มี 3 คาถามหลักที่ตอบคุณลักษณะองค์กร LAS คือ 1.ทาไมจึงมีเราอยู่ (การมีอยู่ของตัวตน (Existential) คือการเป็น องค์กรที่มีชีวิต ดู Table 2-1 ) 2.เราปฏิบัติตนอย่างไร (หน้าที่ (Function) มีการกระจายอานาจ จากส่วนกลาง) 3.เรายึดถืออะไร (ค่านิยม (Values) คือเหตุผลของการเป็นอยู่ และเป็นพลังบันดาลใจ )
หัวใจขององค์กร 
ทาไมต้องเป็นหัวใจ เพราะหัวใจมีความรู้สึก มีอารมณ์ มีความ ซาบซึ้ง รู้จักการดูแลเอาใจใส่ และมีแรงบันดาลใจ 
องค์กรที่มีหัวใจมีลักษณะดังนี้ 1.พันธกิจ วิสัยทัศน์ และค่านิยม ที่มีความซาบซึ้งใจ 
2.การทางาน เป็นเครือข่ายที่มีความรับผิดชอบ 
3.มีวัฒนธรรม ระบบผู้นาแบบผู้รับใช้ 4.มุ่งมั่นเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และการสร้างนวัตกรรม 
5.บริหารการเงิน เพื่อความยั่งยืนของชนรุ่นต่อไป
การเพิ่มประสิทธิภาพความร่วมมือ 
การร่วมมือกันในองค์กร ไม่ได้เกิดจากการสั่งการ แต่เกิดจากใจ 
ดูแลเอาใจใส่ความเป็นมนุษย์ เป็นหลักการในการบริหารจัดการ ขององค์กร (Table 4-2) มีความเป็นอยู่ร่วมกัน แบบมีผลประโยชน์ร่วมกัน ของบุคคล 3 กลุ่มคือ บุคลากร ลูกค้า และผู้ถือหุ้น
ตัวชี้วัด LAMP Index เป็นตัววัดความสาเร็จขององค์กร หลักในการคัดเลือกบริษัทเข้ากลุ่มมี 8 ตัวชี้วัดคือ 1.มีความมุ่งมั่นอย่างเป็นระบบ หรือเป็นองค์รวม 2.มุ่งมั่นใน สิทธิมนุษยชน 3.มีความรู้สึกตนว่า เหตุใดจึงมีตนเองอยู่ 4. เคารพในบุคลากร 5.เคารพธรรมชาติ 6.เคารพลูกค้า 7.เคารพ ในพันธมิตรทางกลยุทธ์ และ 8.เคารพในชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่ รวมมีทั้งหมด 60 บริษัทที่มีความเคารพในชีวิต (Respect for Life) ใช้ในการอ้างอิง
ทฤษฎีใหม่ของธุรกิจ 
ไอน์สไตน์กล่าวว่า เราไม่อาจแก้ปัญหา โดยใช้ความคิดในระดับ เดียวกันกับปัญหาที่เกิดขึ้น (We can’t solve problems by using the same kind of thinking we used when we created them.) ดังนั้น แนวคิด LAS ที่เน้นมนุษย์และธรรมชาติ เป็นแนวคิดใหม่ ที่ต่างไปจากการบริหารธุรกิจแบบเดิม ๆ เพื่อความยั่งยืนของ องค์กร (ดู Table 6-1)
การเพิ่มผลผลิตในสถานที่ทางานที่เปิดกว้าง LAS คือรูปแบบความคิด (Mental Model) ที่คานึงถึงมนุษย์และ ธรรมชาติ ที่ทางานทาไมต้องเปิดกว้าง? เพราะระบบเครือข่าย (network) ต้องการการเปิดรับสิ่งใหม่ ๆ เพื่อเกิดความหลากหลาย และการ ปรับตัวอย่างต่อเนื่อง มีการเปรียบเทียบที่ทางานแบบเปิดกว้างและแบบทั่วๆ ไป (ดู Table 7-1) ว่ามีการทางานต่างกันอย่างไร
วิธีการดูแลบุคลากร 1.ด้านสุขภาพและความปลอดภัย เป็นตัวชี้วัดสาคัญ 2.วิธีการนาองค์กร ผู้นาแบบผู้รับใช้ (Servant Leadership) 
3.ความสมดุล ของการงานและครอบครัว 
4.ร่วมทุกข์ร่วมสุขด้วยกัน เป็นหุ้นส่วนกัน 
5.ให้ความสาคัญ ดึงเข้ามามีส่วนร่วมในกลยุทธ์ 
6.ชื่นชมยินดี ที่มีส่วนช่วยในความสาเร็จ
ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐนิเวศน์ โดยเป็นหุ้นส่วนกับธรรมชาติ 
ความท้าทายทางธุรกิจ 
การแข่งขันด้านราคา 
ขวัญและกาลังใจของบุคลากร 
ความเชื่อมั่นและความจงรักภักดีของลูกค้า 
การเป็นพลเมืองที่ดี 
การอยู่รอดขององค์กร
ความสนิทสนมของลูกค้า LAS เน้นความสัมพันธ์กับลูกค้า มากกว่าขายสินค้าหรือบริการ (ดู Table 9-1) 
 เป็นการทาให้ลูกค้ารู้สึกมีคุณค่า โดยการเอาใจใส่ ให้สิ่งที่ตรง กับความต้องการของเขา มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (ธรรมชาติไม่มีวันหยุด) 
การดูแลบุคลากรให้ดี จะส่งผลให้บุคลากรดูแลลูกค้าได้ดี
การจัดการเครือข่ายผู้ส่งมอบ อย่างมีแรงบันดาลใจ เครือข่ายผู้ส่งมอบ (Supply Network) มีความสอดคล้องกับ องค์กรมากกว่าเป็นเพียงห่วงโซ่อุปทาน (ดู Table 10-1) 
แนวทางการจัดการเครือข่ายผู้ส่งมอบคือ การจัดซื้อจัดจ้างแบบ พิทักษ์ธรรมชาติ (Green Procurement) คือมีคุณภาพได้มาตรฐาน ใช้วัสดุอย่างประหยัด และเป็นสินค้าอนุรักษ์ธรรมชาติ 
เครือข่ายผู้ส่งมอบ เปรียบเสมือนกับพันธมิตรขององค์กร คือมี จรรยาบรรณ และมีคุณสมบัติที่เอื้อต่อสิ่งแวดล้อม
การดูแลทางการเงิน LAS มีแนวทางด้านการเงินในระยะยาว มากกว่าการเน้นระยะสั้น LAS มองแบบองค์รวม (Holistic View) ต่อความเสี่ยงด้านการเงิน 
มีการปรับตัวโดยใช้ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และการสร้าง นวัตกรรม 
มีการประกาศพันธะสัญญาต่อบุคลากร ลูกค้า และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียว่า องค์กรมุ่งเน้นจะอยู่กับพวกเขาตลอดไปในอนาคต
การใช้ความคิดอย่างเป็นระบบ LAS มีกระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) ในการคิดอย่างเป็น ระบบ (ดู Table 12-1) 
มีความคิดว่าองค์กรเป็นสิ่งมีชีวิต ต้องอาศัยทุกองคพายพ ไม่ใช่ ส่วนใดส่วนหนึ่ง มีการเจริญเติบโต มีความสามารถในการเรียนรู้ และมีการปรับตัว
สาเหตุที่ทาให้การดูแลล้มเหลว 
เกิดจากวัฒนธรรมแบบการบังคับบัญชาตามลาดับชั้น ทาให้ เครือข่ายบุคลากรถูกยับยั้ง หรือไม่เกิดขึ้น การบริหารโดยใช้วัตถุประสงค์เป็นที่ตั้ง (Management by Objectives: MBO) เน้นที่ผลกาไรและผลลัพธ์ที่เป็นตัวเลข (Ends) มากกว่าความสามารถในการทาให้บรรลุผล (Means)
การปรับเปลี่ยนคานิยามของ คุณค่า โดยดูจาก ค่านิยม (Values) ขององค์กร ว่าทาให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้ และสร้างนวัตกรรมหรือไม่ พันธกิจและวิสัยทัศน์ (Mission & Vision) ขององค์กรสอดคล้อง กับค่านิยมขององค์กรหรือไม่ 
เครือข่ายในองค์กรมีประสิทธิผลหรือไม่ 
ประสิทธิภาพขององค์กร ในการส่งเสริมการเรียนรู้เป็นเช่นไร 
ความโปร่งใสขององค์กร ในการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นอย่างไร
คุณค่าของการดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในที่นี้หมายถึงผู้ที่เป็นเจ้าของบริษัทตามกฏหมาย (ผู้ถือหุ้น หรือ ผู้ลงทุน) LAS มีแนวทางที่ต่างจากบริษัททั่วไปในตลาดหลักทรัพย์ Wall Street (ดู Table 15-1) 
เพราะมีความคาดหวังในจรรยาบรรณที่สูงกว่า มีกลยุทธ์ที่น่ายก ย่อง ร่วมมือกับพันธมิตรในการยกระดับองค์กร และบุคลกรที่มี จิตสานึกในการเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
บริษัทที่อยู่เกินศตวรรษ บริษัทที่อยู่เกิน 100 ปีได้ ต้องเป็นองค์กรที่มีชีวิต มีเครือข่าย เช่นเดียวกับระบบของสิ่งมีชีวิต เน้นผู้คนและธรรมชาติมากกว่า เงินทอง บุคลากรมีความรับผิดชอบ และมีการคิดแบบองค์รวม 
การมีแนวคิดที่ถูกต้อง เป็นการสร้างการเปลี่ยนแปลง นั่นคือ การดูแลผู้คน และให้ความเคารพในชีวิต (Caring about People and Respecting Life)
บทส่งท้าย Living Asset Stewardship (LAS) มี 2 หลักการคือ 1.กาไรเกิดขึ้น ได้เพราะสิ่งมีชีวิตเท่านั้น (Profit can arise only from life) และ 2. เพื่อโลกที่ดี กาไรต้องดูแลรับใช้สิ่งที่มีชีวิต (In a healthy world, profit must serve life) 
การดูแลสิ่งมีชีวิตอย่างจริงจัง เป็นความหวังใหม่ เพื่ออนาคตที่ ดีกว่า และเป็นเพียงการเดินทางที่เพิ่งจะเริ่มต้นเท่านั้น
Publius Terence

More Related Content

Viewers also liked

The 21st century workspace
The 21st century workspaceThe 21st century workspace
The 21st century workspacemaruay songtanin
 
How to write application report (part 3 of 4)
How to write application report (part 3 of 4)How to write application report (part 3 of 4)
How to write application report (part 3 of 4)maruay songtanin
 
Evolution of design thinking
Evolution of design thinkingEvolution of design thinking
Evolution of design thinkingmaruay songtanin
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายmaruay songtanin
 
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันmaruay songtanin
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมmaruay songtanin
 
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 20162016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016maruay songtanin
 
Fast track project management
Fast track project managementFast track project management
Fast track project managementmaruay songtanin
 
How the best leaders lead tracy
How the best leaders lead tracyHow the best leaders lead tracy
How the best leaders lead tracymaruay songtanin
 
Blazey's scoring guidlines
Blazey's scoring guidlinesBlazey's scoring guidlines
Blazey's scoring guidlinesmaruay songtanin
 
Human centered productivity
Human centered productivityHuman centered productivity
Human centered productivitymaruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

The 21st century workspace
The 21st century workspaceThe 21st century workspace
The 21st century workspace
 
How to write application report (part 3 of 4)
How to write application report (part 3 of 4)How to write application report (part 3 of 4)
How to write application report (part 3 of 4)
 
Evolution of design thinking
Evolution of design thinkingEvolution of design thinking
Evolution of design thinking
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
 
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขันHealth care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
Health care needs real competition ทำไมโรงพยาบาลต้องมีการแข่งขัน
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
 
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 20162016 baldrige award recipients รางวัล  baldrige 2016
2016 baldrige award recipients รางวัล baldrige 2016
 
Wise leader
Wise leaderWise leader
Wise leader
 
Execution premium
Execution premiumExecution premium
Execution premium
 
Fast track project management
Fast track project managementFast track project management
Fast track project management
 
Pmk chronicle 2014
Pmk chronicle 2014Pmk chronicle 2014
Pmk chronicle 2014
 
How the best leaders lead tracy
How the best leaders lead tracyHow the best leaders lead tracy
How the best leaders lead tracy
 
Blazey's scoring guidlines
Blazey's scoring guidlinesBlazey's scoring guidlines
Blazey's scoring guidlines
 
Art of engagement
Art of engagementArt of engagement
Art of engagement
 
Five keys to building hpo
Five keys to building hpoFive keys to building hpo
Five keys to building hpo
 
Generation y
Generation yGeneration y
Generation y
 
Chinese business leaders
Chinese business leadersChinese business leaders
Chinese business leaders
 
Human centered productivity
Human centered productivityHuman centered productivity
Human centered productivity
 
Pmk internal assessor 9
Pmk internal assessor 9Pmk internal assessor 9
Pmk internal assessor 9
 
Bcm
BcmBcm
Bcm
 

Similar to Profit for life

บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหาfreelance
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานTaraya Srivilas
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบSakda Hwankaew
 
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยsomsak kathong
 

Similar to Profit for life (20)

บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
Adult learning and HRD
Adult learning and HRDAdult learning and HRD
Adult learning and HRD
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
ทฤษฎีองค์การ
 ทฤษฎีองค์การ  ทฤษฎีองค์การ
ทฤษฎีองค์การ
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
20180110104912
2018011010491220180110104912
20180110104912
 
บทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pb
บทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pbบทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pb
บทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pb
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
 
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

Profit for life

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 3 กันยายน 2557
  • 2. Joseph H. Bragdon, Society for Organizational Learning, 2006 ขอขอบคุณ พันเอกหญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล ที่กรุณาแนะนาหนังสือเล่มนี้มาศึกษา
  • 3. มีผู้คนมากขึ้น ตระหนักถึงระบบทุนนิยมว่า ประสบความสาเร็จ ในด้านความมั่งคั่งทางการเงิน โดยไม่คานึงถึงการทาอันตรายต่อ ระบบที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ Joseph H. Bragdon อธิบายรูปแบบใหม่ของ การดูแลสินทรัพย์ที่ มีชีวิต (Living Asset Stewardship: LAS) และเสนอทางเลือกที่ ดีกว่าระบบทุนนิยม ที่คุกคามโลกของเราอยู่ในทุกวันนี้ การดูแลสินทรัพย์ที่มีชีวิต (LAS) คือ การดูแลเกี่ยวกับผู้คนและ สิ่งที่พวกเขาเอาใจใส่ (คน, สังคม, การตลาด และชีวมณฑล Society, Markets, and the Biosphere)
  • 4. สินทรัพย์ที่มีชีวิต (Living Asset) หมายถึง ผู้คนและธรรมชาติ สินทรัพย์ที่ไม่มีชีวิต (Nonliving Asset) หมายถึง เงินทุน สินทรัพย์ที่มีชีวิตมีความสาคัญกว่าสินทรัพย์ที่ไม่มีชีวิต และเป็น สิ่งที่ทาให้องค์กรเกิดความยั่งยืน เพราะสินทรัพย์ที่ไม่มีชีวิต ต้อง อาศัยสินทรัพย์ที่มีชีวิต เป็นแหล่งในการทาให้เกิดขึ้นมาได้ การดูแลสินทรัพย์ที่มีชีวิต (Living Asset Stewardship: LAS) คือ การดูแลเอาใจใส่ สิ่งที่เราให้คุณค่ามากที่สุด (ผู้คนและ ธรรมชาติ)
  • 5. การดูแลเอาใจใส่ หมายถึง การมีวินัย อย่างเป็นระบบในการ ดูแลสุขภาวะของโลกที่เราอาศัยอยู่ ด้วยมุมมองที่กว้างขึ้น (ทาง สังคม, การตลาด และชีวมณฑล) LAS คือกระบวนการการบริหารจัดการอย่างมีคุณธรรม ในการ ดูแลเอาใจใส่บุคลากร ทั้งด้านสุขภาพ สวัสดิการ เคารพใน ศักดิ์ศรี และสร้างเสริมความสามารถด้านอาชีพการงาน การดูแลเอาใจใส่บุคลากรให้ดี ผลตอบแทนจะกลับมาเป็นหลาย เท่าของการลงทุน
  • 6. ผู้ประพันธ์รวบรวม 60 บริษัทชั้นนาที่มีผลประกอบการดีเป็น ระยะเวลายาวนาน และมีการจัดทาตัวชี้วัดกระบวนการ LAS เรียกว่า Global Living Asset Management Performance (LAMP Index) เพื่อใช้ประโยชน์ในรายงานป้อนกลับ ของการประเมินบริษัท โดยเป็นตัวชี้วัดที่ใช้ในการเปรียบเทียบ เพื่อให้นักลงทุนใช้ ตัดสินใจในการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์
  • 7. พันธกิจ วิสัยทัศน์ และค่านิยม ที่สะท้อนถึงชีวิตและอุดมการณ์ที่ยั่งยืน หลักการปฏิบัติการ ที่เคารพสิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ องค์กรมีการกระจายอานาจและเครือข่าย ที่ให้อานาจในการตัดสินใจ สถานที่ทางาน ที่พนักงานได้รับความเชื่อถือ เสริมสร้างพลังอานาจ และมี ความรับผิดชอบ ผู้นา ที่ให้คาปรึกษาและช่วยเหลือ การเจริญเติบโตเป็นมืออาชีพของพนักงาน วัฒนธรรม ที่สนับสนุนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางานร่วมกัน และ แบ่งปันความคิดร่วมกัน นโยบายการเงิน ที่ออกแบบมาเพื่อรักษาความมั่นคงสาหรับชนรุ่นต่อไป และ สร้างประโยชน์สาหรับผู้มีส่วนได้เสีย ระบบการจัดการเรื่องผลกาไร ที่หมายถึงการให้บริการที่มีคุณภาพที่สูงขึ้น มากกว่าที่จะเป็นจุดสิ้นสุด
  • 8. ผู้บริหารสูงสุดและผู้บริหารระดับอาวุโส สนับสนุน LAS อย่างต่อเนื่องทั้ง คาพูดและการกระทา ผู้บริหารและพนักงาน มีการประเมิน โดยใช้ความเข้าใจของพวกเขาใน หลักการ LAS และความก้าวหน้าของการปฏิบัติ การพัฒนาอย่างยั่งยืนและความเคารพสาหรับชีวิต ที่ฝังตัวอยู่ในทุกการคิด เชิงกลยุทธ์ และการวางแผน โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนเครือข่ายที่แพร่หลาย ระหว่างพนักงาน ลูกค้า คู่ค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สาคัญ ระบบการรายงาน มีการเปิดเผย โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ ผลการตรวจสอบและประเมินผล เพื่อการเรียนรู้ เพื่อความก้าวหน้าอย่าง ต่อเนื่อง การลงทุน มองไปที่ผลระยะยาว มากกว่าผลตอบแทนที่รวดเร็ว การกู้ยืมมีจากัด แม้จะอยู่ในสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุด
  • 9. การยกระดับ (leverage) ขององค์กร เกิดจากการประสานงาน ร่วมมือกัน ไม่ได้พึ่งพาการเงินเพียงอย่างเดียว ผู้นายกระดับองค์กร ด้วยการทาให้บุคลากรเกิดแรงบันดาลใจ ร่วมมือกัน และเกื้อหนุนให้พวกเขาได้ก้าวหน้าด้านวิชาชีพ ผู้นาทาให้องค์กรมีรายได้อย่างยั่งยืนหลายทศวรรษ ไม่มีการเลิก จ้างงาน โดยอาศัยวัฒนธรรมองค์กรคือ ความมีน้าใจ ความเป็น มืออาชีพ การมีมนุษยธรรม และการดูแลเอาใจใส่บุคลากร
  • 10. ความคงทนขององค์กร เกิดจากวัฒนธรรม LAS ที่มีการปรับตัว ได้ดีกว่า เพราะบุคลากรมีความผูกพัน ทางานเป็นเครือข่าย ไม่ได้ทางานแบบลาดับชั้นการบังคับบัญชาที่ซับซ้อน องค์กร LAS สามารถมีการตอบสนองที่รวดเร็ว และมีการสร้าง นวัตกรรมที่ดีกว่า การทางานเป็นระบบเครือข่าย ไม่ได้ขึ้นกับขนาดขององค์กร เป็น เพราะมีวัฒธรรมแบบชุมชน มีการดูแลเอาใจใส่กันและกัน และ รับผิดชอบร่วมกัน ผู้นาปฏิบัติตนเป็น ผู้นาแบบผู้รับใช้ (Servant Leadership)
  • 11. ความทนทาน เกิดจาก บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของ ข้อมูลข่าวสาร และความรู้ มีการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน ทาให้บุคลากรที่ทางานร่วมกัน เป็นทีมมีความหลากหลาย (diversity) บุคลากรได้รับการส่งเสริมให้จัดตั้ง ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice: CoP) คือผู้ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ได้พบปะ กันแบบตัวจริงเสียงจริง และในระบบเสมือนจริง บุคลากรผู้ที่สร้างผลงานดี ได้รับการยกย่องและให้รางวัล โดยไม่ จากัดสถานภาพ
  • 12. สาหรับสถาบันนักลงทุน LAS เป็นแนวทางการสร้างคุณค่าในการ ลงทุน มากกว่าธุรกิจธรรมดา ถ้านักลงทุนมีความเข้าใจ LAS ว่ามีส่วนทาให้เกิดผลกาไรที่คุ้มค่า ก็จะเลือกลงทุนในบริษัทที่มี LAS อยู่ในรายงานผลการดาเนินการ ผู้ลงทุนเมื่อเลือกที่จะลงทุนในบริษัทที่มี LAS จะเป็นตัวเร่งให้ บริษัทต่าง ๆ หันมาทา LAS เพื่อให้เกิดความแพร่หลายมากขึ้น
  • 13. เมื่อเปลี่ยนความคิด โลกก็เปลี่ยนไป เช่น การคิดว่าโลกกลมแทน ความคิดดั้งเดิมว่าโลกแบน ทาให้เกิดมีการสารวจโดยทางเรือ เพื่อค้นหาดินแดนใหม่ ๆ โดยไม่ต้องกลัวว่าจะตกโลก LAS เกิดจากการมีมุมมอง เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรของโลกที่มี อยู่อย่างจากัด ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อชนรุ่นต่อไป เครือข่ายบริษัทที่ตระหนักในเรื่องของชีวิตและสิ่งแวดล้อม จึงมี ความมุ่งมั่นในการส่งเสริม การดูแลทุนสิ่งที่มีชีวิต (Living Asset Stewardship: LAS)
  • 14. How Capitalism Excels: Case Studies in Living Asset Stewardship
  • 15. คุณค่าของสินทรัพย์ที่มีชีวิต LAS เคารพในสิ่งมีชีวิตในทุกขั้นตอน มีสัมพันธภาพกับบุคลากร ลูกค้า ชุมชน ผู้ส่งมอบ พันธมิตร และสิ่งแวดล้อม LAS อยู่อย่างสอดคล้องกันกับผู้คนและธรรมชาติ ไม่ใช่พยายาม ควบคุมผู้คนและธรรมชาติ องค์กรทาตนเสมือนกับสิ่งมีชีวิต ที่มีการติดต่อกับสิ่งแวดล้อม รอบตัวที่กว้างขวาง ของการตลาดที่เสรี สังคม และชีวมณฑล (ดู Table 1-1)
  • 16.
  • 17. รูปแบบของ LAS มี 3 คาถามหลักที่ตอบคุณลักษณะองค์กร LAS คือ 1.ทาไมจึงมีเราอยู่ (การมีอยู่ของตัวตน (Existential) คือการเป็น องค์กรที่มีชีวิต ดู Table 2-1 ) 2.เราปฏิบัติตนอย่างไร (หน้าที่ (Function) มีการกระจายอานาจ จากส่วนกลาง) 3.เรายึดถืออะไร (ค่านิยม (Values) คือเหตุผลของการเป็นอยู่ และเป็นพลังบันดาลใจ )
  • 18.
  • 19. หัวใจขององค์กร ทาไมต้องเป็นหัวใจ เพราะหัวใจมีความรู้สึก มีอารมณ์ มีความ ซาบซึ้ง รู้จักการดูแลเอาใจใส่ และมีแรงบันดาลใจ องค์กรที่มีหัวใจมีลักษณะดังนี้ 1.พันธกิจ วิสัยทัศน์ และค่านิยม ที่มีความซาบซึ้งใจ 2.การทางาน เป็นเครือข่ายที่มีความรับผิดชอบ 3.มีวัฒนธรรม ระบบผู้นาแบบผู้รับใช้ 4.มุ่งมั่นเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และการสร้างนวัตกรรม 5.บริหารการเงิน เพื่อความยั่งยืนของชนรุ่นต่อไป
  • 20. การเพิ่มประสิทธิภาพความร่วมมือ การร่วมมือกันในองค์กร ไม่ได้เกิดจากการสั่งการ แต่เกิดจากใจ ดูแลเอาใจใส่ความเป็นมนุษย์ เป็นหลักการในการบริหารจัดการ ขององค์กร (Table 4-2) มีความเป็นอยู่ร่วมกัน แบบมีผลประโยชน์ร่วมกัน ของบุคคล 3 กลุ่มคือ บุคลากร ลูกค้า และผู้ถือหุ้น
  • 21.
  • 22. ตัวชี้วัด LAMP Index เป็นตัววัดความสาเร็จขององค์กร หลักในการคัดเลือกบริษัทเข้ากลุ่มมี 8 ตัวชี้วัดคือ 1.มีความมุ่งมั่นอย่างเป็นระบบ หรือเป็นองค์รวม 2.มุ่งมั่นใน สิทธิมนุษยชน 3.มีความรู้สึกตนว่า เหตุใดจึงมีตนเองอยู่ 4. เคารพในบุคลากร 5.เคารพธรรมชาติ 6.เคารพลูกค้า 7.เคารพ ในพันธมิตรทางกลยุทธ์ และ 8.เคารพในชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่ รวมมีทั้งหมด 60 บริษัทที่มีความเคารพในชีวิต (Respect for Life) ใช้ในการอ้างอิง
  • 23. ทฤษฎีใหม่ของธุรกิจ ไอน์สไตน์กล่าวว่า เราไม่อาจแก้ปัญหา โดยใช้ความคิดในระดับ เดียวกันกับปัญหาที่เกิดขึ้น (We can’t solve problems by using the same kind of thinking we used when we created them.) ดังนั้น แนวคิด LAS ที่เน้นมนุษย์และธรรมชาติ เป็นแนวคิดใหม่ ที่ต่างไปจากการบริหารธุรกิจแบบเดิม ๆ เพื่อความยั่งยืนของ องค์กร (ดู Table 6-1)
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27. การเพิ่มผลผลิตในสถานที่ทางานที่เปิดกว้าง LAS คือรูปแบบความคิด (Mental Model) ที่คานึงถึงมนุษย์และ ธรรมชาติ ที่ทางานทาไมต้องเปิดกว้าง? เพราะระบบเครือข่าย (network) ต้องการการเปิดรับสิ่งใหม่ ๆ เพื่อเกิดความหลากหลาย และการ ปรับตัวอย่างต่อเนื่อง มีการเปรียบเทียบที่ทางานแบบเปิดกว้างและแบบทั่วๆ ไป (ดู Table 7-1) ว่ามีการทางานต่างกันอย่างไร
  • 28.
  • 29. วิธีการดูแลบุคลากร 1.ด้านสุขภาพและความปลอดภัย เป็นตัวชี้วัดสาคัญ 2.วิธีการนาองค์กร ผู้นาแบบผู้รับใช้ (Servant Leadership) 3.ความสมดุล ของการงานและครอบครัว 4.ร่วมทุกข์ร่วมสุขด้วยกัน เป็นหุ้นส่วนกัน 5.ให้ความสาคัญ ดึงเข้ามามีส่วนร่วมในกลยุทธ์ 6.ชื่นชมยินดี ที่มีส่วนช่วยในความสาเร็จ
  • 30. ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐนิเวศน์ โดยเป็นหุ้นส่วนกับธรรมชาติ ความท้าทายทางธุรกิจ การแข่งขันด้านราคา ขวัญและกาลังใจของบุคลากร ความเชื่อมั่นและความจงรักภักดีของลูกค้า การเป็นพลเมืองที่ดี การอยู่รอดขององค์กร
  • 31. ความสนิทสนมของลูกค้า LAS เน้นความสัมพันธ์กับลูกค้า มากกว่าขายสินค้าหรือบริการ (ดู Table 9-1)  เป็นการทาให้ลูกค้ารู้สึกมีคุณค่า โดยการเอาใจใส่ ให้สิ่งที่ตรง กับความต้องการของเขา มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (ธรรมชาติไม่มีวันหยุด) การดูแลบุคลากรให้ดี จะส่งผลให้บุคลากรดูแลลูกค้าได้ดี
  • 32.
  • 33. การจัดการเครือข่ายผู้ส่งมอบ อย่างมีแรงบันดาลใจ เครือข่ายผู้ส่งมอบ (Supply Network) มีความสอดคล้องกับ องค์กรมากกว่าเป็นเพียงห่วงโซ่อุปทาน (ดู Table 10-1) แนวทางการจัดการเครือข่ายผู้ส่งมอบคือ การจัดซื้อจัดจ้างแบบ พิทักษ์ธรรมชาติ (Green Procurement) คือมีคุณภาพได้มาตรฐาน ใช้วัสดุอย่างประหยัด และเป็นสินค้าอนุรักษ์ธรรมชาติ เครือข่ายผู้ส่งมอบ เปรียบเสมือนกับพันธมิตรขององค์กร คือมี จรรยาบรรณ และมีคุณสมบัติที่เอื้อต่อสิ่งแวดล้อม
  • 34.
  • 35. การดูแลทางการเงิน LAS มีแนวทางด้านการเงินในระยะยาว มากกว่าการเน้นระยะสั้น LAS มองแบบองค์รวม (Holistic View) ต่อความเสี่ยงด้านการเงิน มีการปรับตัวโดยใช้ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และการสร้าง นวัตกรรม มีการประกาศพันธะสัญญาต่อบุคลากร ลูกค้า และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียว่า องค์กรมุ่งเน้นจะอยู่กับพวกเขาตลอดไปในอนาคต
  • 36. การใช้ความคิดอย่างเป็นระบบ LAS มีกระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) ในการคิดอย่างเป็น ระบบ (ดู Table 12-1) มีความคิดว่าองค์กรเป็นสิ่งมีชีวิต ต้องอาศัยทุกองคพายพ ไม่ใช่ ส่วนใดส่วนหนึ่ง มีการเจริญเติบโต มีความสามารถในการเรียนรู้ และมีการปรับตัว
  • 37.
  • 38. สาเหตุที่ทาให้การดูแลล้มเหลว เกิดจากวัฒนธรรมแบบการบังคับบัญชาตามลาดับชั้น ทาให้ เครือข่ายบุคลากรถูกยับยั้ง หรือไม่เกิดขึ้น การบริหารโดยใช้วัตถุประสงค์เป็นที่ตั้ง (Management by Objectives: MBO) เน้นที่ผลกาไรและผลลัพธ์ที่เป็นตัวเลข (Ends) มากกว่าความสามารถในการทาให้บรรลุผล (Means)
  • 39. การปรับเปลี่ยนคานิยามของ คุณค่า โดยดูจาก ค่านิยม (Values) ขององค์กร ว่าทาให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้ และสร้างนวัตกรรมหรือไม่ พันธกิจและวิสัยทัศน์ (Mission & Vision) ขององค์กรสอดคล้อง กับค่านิยมขององค์กรหรือไม่ เครือข่ายในองค์กรมีประสิทธิผลหรือไม่ ประสิทธิภาพขององค์กร ในการส่งเสริมการเรียนรู้เป็นเช่นไร ความโปร่งใสขององค์กร ในการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นอย่างไร
  • 40. คุณค่าของการดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในที่นี้หมายถึงผู้ที่เป็นเจ้าของบริษัทตามกฏหมาย (ผู้ถือหุ้น หรือ ผู้ลงทุน) LAS มีแนวทางที่ต่างจากบริษัททั่วไปในตลาดหลักทรัพย์ Wall Street (ดู Table 15-1) เพราะมีความคาดหวังในจรรยาบรรณที่สูงกว่า มีกลยุทธ์ที่น่ายก ย่อง ร่วมมือกับพันธมิตรในการยกระดับองค์กร และบุคลกรที่มี จิตสานึกในการเรียนรู้และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
  • 41.
  • 42. บริษัทที่อยู่เกินศตวรรษ บริษัทที่อยู่เกิน 100 ปีได้ ต้องเป็นองค์กรที่มีชีวิต มีเครือข่าย เช่นเดียวกับระบบของสิ่งมีชีวิต เน้นผู้คนและธรรมชาติมากกว่า เงินทอง บุคลากรมีความรับผิดชอบ และมีการคิดแบบองค์รวม การมีแนวคิดที่ถูกต้อง เป็นการสร้างการเปลี่ยนแปลง นั่นคือ การดูแลผู้คน และให้ความเคารพในชีวิต (Caring about People and Respecting Life)
  • 43. บทส่งท้าย Living Asset Stewardship (LAS) มี 2 หลักการคือ 1.กาไรเกิดขึ้น ได้เพราะสิ่งมีชีวิตเท่านั้น (Profit can arise only from life) และ 2. เพื่อโลกที่ดี กาไรต้องดูแลรับใช้สิ่งที่มีชีวิต (In a healthy world, profit must serve life) การดูแลสิ่งมีชีวิตอย่างจริงจัง เป็นความหวังใหม่ เพื่ออนาคตที่ ดีกว่า และเป็นเพียงการเดินทางที่เพิ่งจะเริ่มต้นเท่านั้น