SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
การสร้างเครือข่าย
และการประสานงาน
พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com
ekkachais@hotmail.com
ปัญหาในปัจจุบัน
 องค์กรต่างๆ ในสังคมล้วนเป็นองค์กรอานาจ การเมือง ราชการ การศึกษา
ธุรกิจและศาสนา
 คนถูกทาให้รู้สึกว่าไร้ศักยภาพ และไร้ศักดิ์ศรี ด้วยโครงสร้างอานาจและ
โครงสร้างเงิน ที่กดทับคนทั้งหมด
 โครงสร้างอานาจก่อให้เกิด การบีบคั้น ความไร้ศักยภาพ ความหงุดหงิด
ราคาญใจ และความรู้สึกสิ้นหวัง
 ทาลายสุขภาพจิต ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และศักยภาพแห่งความ
สร้างสรรค์
 เครือข่ายเป็นโครงสร้างที่ทาให้หลุดจากความบีบคั้นดังกล่าว ไปสู่ความสุข
และความสร้างสรรค์
สถานการณ์ปัจจุบันที่พึงรู้
 เครือข่ายมีอยู่มากมาย ก่อให้เกิดภาวะความซ้าซ้อนทั้งในเชิงประเด็น
และแกนนา
 เริ่มปรากฏร่องรอยของการขาดธรรมาภิบาลในเครือข่ายภาคประชา
สังคม
 แกนนาอ่อนล้า บ่อยครั้งที่พบว่า ได้ไม่คุ้มเสีย
 ยังไม่ปรากฏขบวนการที่เป็นรูปธรรมในการสร้างแกนนารุ่นใหม่
ขึ้นมาแทนที่
 กิจกรรมเครือข่าย กระทบต่อการทามาหาเลี้ยงชีพของสมาชิกไม่
ทางตรง ก็ทางอ้อม
ทาไมต้องมีเครือข่าย...
“เครือข่าย หรือ Network”
เป็นคาที่หลายคนได้เคยอ่านจากหนังสือต่างๆ มา
หรือได้ฟังจากสื่อวิทยุและโทรทัศน์ อย่างนับครั้งไม้ถ้วน
แต่...ที่สาคัญ...
เราทุกคนต่างก็เป็นสมาชิกเครือข่ายด้วยกันทั้งสิ้น
ท่าน...ละเป็นสมาชิกเครือข่ายอะไรบ้าง...
วันนี้...ทาไมต้องเครือข่าย...
 สมาชิกเครือข่ายทุกคน ล้วนมีศักยภาพเป็นผู้นาการ
เปลี่ยนแปลง
 เมื่อมาทางานร่วมกัน และเกิดความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกับ
ปัจจุบัน
 ย้อนอดีตลงลึกรากเหง้า และสู่การก้าวถึงอนาคตที่มั่นคง ทา
ให้ชีวิต
 มีความมั่นคงและมั่นใจว่าจะสามารถเผชิญกับสถานการณ์ใดๆ
ในอนาคตด้วย “พลังเครือข่าย”
เครือข่าย (Network) ในความหมายที่ 1
คือขบวนการทางสังคมอันเกิดจากการสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่ม องค์กร
สถาบัน โดยมีเป้าหมาย วัตถุประสงค์และ
ความต้องการบางอย่างร่วมกัน ร่วมกัน
ดาเนินกิจกรรมบางอย่างโดยที่สมาชิกยังคง
ความเป็นเอกเทศไม่ขึ้นต่อกัน
(เสรี พงศ์พิศ, 2548)
คือการเชื่อมโยงระหว่างบุคคล กลุ่ม หรือองค์กรที่สมัครใจ
แลกเปลี่ยนข่าวสารหรือทากิจกรรมร่วมกัน โดยมีการจัดรูป
หรือระเบียบโครงสร้างที่แต่ละหน่วยยังคงมีความเป็นอิสระ
เท่าเทียม ภายใต้พื้นฐานของการเคารพสิทธิ เชื่อถือ เอื้ออาทร
ซึ่งกันและกัน
เครือข่าย (Network) ในความหมายที่ 2
(สรุปจาก พระมหาสุทิตย์ อาภากโร 2547
และ นฤมล นิราทร 2543)
เป็นการเชื่อมต่อระหว่างมนุษย์แล้วขยายผลออกไปเป็นวงกว้าง
เพื่อให้สังคมพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้น และในความสัมพันธ์
ระหว่างมนุษย์นั้นจะเป็นความสัมพันธ์ย้อนกลับในเชิงบวกที่จะ
เกิดเป็นพลังทวีคูณ (Reinforcing) เกิดการขยายผลแบบก้าว
กระโดด (Quantum Leap)
เครือข่าย (Network) ในความหมายที่ 3
(ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์, 2546)
เครือข่าย (Network) ...สรุป...
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ (เชิงแลกเปลี่ยน)
เชื่อมระบบเข้าหากัน (การจัดโครงสร้าง)
ประสานความร่วมมือ (เอื้อกันและกัน)
มีวัตถุประสงค์และแนวทางร่วม (มีกิจกรรม)
เท่าเทียม (อิสระและคงสภาพ)

1. สมาชิก
เครือข่าย
2. จุดมุ่งหมาย
ร่วมกัน
4.การมีส่วนร่วมและการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
5.การมีปฏิสัมพันธ์และ
สื่อสารระหว่างกัน
8.การแบ่งปันผลประโยชน์
7. ความเท่าเทียม
ของสมาชิก
6. กระบวนการ
เสริมสร้างซึ่งกันและกัน
องค์ประกอบ
เครือข่าย
3.การทาหน้าที่ต่อกัน
อย่างมีจิตสานึก
ความสาคัญของเครือข่าย
 ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ทักษะ
ความรู้ ประสบการณ์ เครื่องมือ และสื่อ
 ช่วยลดการทางานและการใช้ทรัพยากรซ้อน
 เกิดความเข้าใจกันมากขึ้น นาไปสู่การทางาน
ร่วมกัน เพื่อประโยชน์ของทุกฝ่าย
 ให้ความต้องการของประชาชนได้รับการสนอง
จากรัฐ
 ช่วยชี้ให้เห็นปัญหาและประเด็นการพัฒนา
ที่ซับซ้อนและท่วมท้นในหมู่บ้าน
 ช่วยเชื่อมหน่วยงานวิชาการและแหล่งทุน
กับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ
 ทาให้คนและองค์กรได้รับความช่วยเหลือจาก
เพื่อนได้รับกาลังใจ การจูงใจ และการยอมรับ
การสร้างเครือข่าย
1) สร้างการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
2) ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ข้อมูล ความรู้
3) สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือด้วยความสมัครใจ
4) สานความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้น ด้วยกิจกรรมร่วม
ทฤษฎีและแนวคิดการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายในการทางานเชิงพัฒนา มีแนวโน้มที่จะเป็นการ
สร้างเครือข่ายระหว่างองค์กรที่ทางานพึ่งพิงซึ่งกันและกัน มากกว่าที่
จะแข่งขันกัน
ทฤษฎีและแนวคิดสร้างเครือข่าย
การแลกเปลี่ยน (exchange theory) แลกเปลี่ยน
ผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน
การรวมพลัง (synergy) เป็นการรวมพลังทางานที่สร้าง
ผลลัพธ์และคุณค่ามากกว่าที่แต่ละองค์กรจะทาโดยโดดเดี่ยว
ลักษณะของเครือข่าย
 มีโครงสร้างทางความคิด ใกล้เคียงกัน
 ไม่มีลาดับชั้น เป็นอิสระต่อกัน แบ่งงานกันทา
 ความเข้มแข็งของแต่ละองค์กรที่รวมกันเป็นเครือข่าย จะทาให้
เครือข่ายเข้มแข็ง
 กาหนดการให้มีการจัดการกันเอง
 ความสาเร็จของเครือข่าย ต้องอาศัยระยะเวลาในการบ่มเพาะ
ความสัมพันธ์ ศรัทธา เชื่อใจ ร่วมกันแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
เทคนิคการทางานร่วมกันเป็นเครือข่าย
 สร้างความผูกพันและรับผิดชอบต่อเครือข่าย
 เตรียมตัวเตรียมใจว่าเครือข่ายต้องใช้เวลา หากไม่มีเวลาพออย่าสร้าง
เครือข่ายกับใคร
 สิ่งสาคัญให้ความเคารพและไว้วางใจระหว่างกัน
 ระลึกเสมอว่าองค์กรที่ร่วมเครือข่ายต้องได้รับประโยชน์จากการสร้าง
เครือข่าย บางครั้งต้องเสียสละบางอย่างเพื่อความสาเร็จ
 ต้องมีการสรุปบทเรียน วิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง
เทคนิคการทางานร่วมกันเป็นเครือข่าย
 ควรตระหนักถึงการทางานร่วมกัน ต้องมีความยืดหยุ่น
 ต้องแน่ใจว่าทั้งองค์กรของท่านและองค์กรที่เป็นเครือข่ายมีความคาดหวังที่
ตรงกันในการร่วมมือกันทางานตลอดระยะเวลาที่ตกลงร่วมงานกัน
(ฝ่ายใดไม่สุข แปลว่าเตรียมล้มเหลว)
 ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรมทั้งในด้านพื้นที่และองค์กร
 ยอมรับความเป็นอิสระขององค์กรที่ร่วมเป็นเครือข่าย
 รับผิดชอบร่วมกันทั้งสาเร็ว และล้มเหลว
ประเภทของเครือข่าย
 เครือข่ายธรรมชาติ กับ เครือข่ายจัดตั้ง
 เครือข่ายพื้นที่ กับ เครือข่ายกิจกรรม
 เครือข่ายทางการ กับ เครือข่ายไม่เป็นทางการ
 เครือข่ายภาครัฐ กับ เครือข่ายภาคเอกชน
 เครือข่ายการเรียนรู้ เครือข่ายกิจกรรม เครือข่ายทรัพยากร
เครือข่ายอาชีพ เครือข่ายสตรี เครือข่ายสุขภาพ
ประเภทของเครือข่าย
1. เครือข่ายเชิงพื้นที่ การรวมตัวของกลุ่ม องค์กร เครือข่าย ที่อาศัยพื้นที่
ดาเนินการเป็นปัจจัยหลักในการทางานร่วมกัน
1.1 การแบ่งเครือข่ายตามระบบการปกครองของภาครัฐ
1.2 การแบ่งพื้นที่ตามความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
- ลักษณะกระบวนการทางานทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ โดยมีการ
รวมศูนย์กิจกรรมเข้าสู่ส่วนกลาง และมีศูนย์ประสานงานย่อยในพื้นที่
ขนาดเล็ก
ตัวอย่าง เครือข่ายการเรียนรู้เชิงพื้นที่
เครือข่าย
ต.ป่าป้อง
อ.ดอย
สะเก็ด
เครือข่าย
ต.สันผีเสื้อ
อ.เมือง
เครือข่าย
ต.หนอง
แฝก
อ.สารภี
เครือข่าย
ต.แม่แฝก
อ.สันทราย
เครือข่าย
ต.น้้าแพร่
อ.หางดง
ศูนย์
ประสานงา
นเครือข่าย
ตัวอย่างโครงสร้างความสัมพันธ์เครือข่าย
ศูนย์ประสานงานประชาคม
ในระดับจังกวัด
องค์กรพัฒนาเอกชน
เครือข่ายภาครัฐ
ภาคบริการ
เครือข่ายพระสงฆ์
เครือข่ายเกษตรกร
กลุ่มธุรกิจ
ประเภทของเครือข่าย
2. เครือข่ายเชิงประเด็นกิจกรรม เป็นเครือข่ายที่ใช้ประเด็นกิจกรรม หรือ
สถานที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยหลักในการรวมกลุ่มองค์กร โดยมองข้ามมิติ
เชิงพื้นที่
- เครือข่ายเรียนรู้การเลี้ยงสัตว์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
- เครือข่ายภูมิปัญญาท้องถิ่น
- เครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืน
- เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน
- กิจกรรมการทางานมีการประสานการในแนวราบ
- โครงสร้างความสัมพันธ์มีทั้งแนวดิ่งและแนวราบ
ความสัมพันธ์ของเครือข่ายเชิงประเด็นกิจกรรม
กลุ่มรักษ์แม่น้าปิง
กลุ่มอาชีพ
กลุ่ม
เยาวชน
กลุ่มเกษตรกร
ทานา
กลุ่มเลี้ยงสัตว์
กลุ่มปลูกผัก
ปลอดสารพิษ
กลุ่มแม่บ้าน
เกษตรกร
ศูนย์ปราชญ์
ชาวบ้าน
โครงการวิจัย มช.
กลุ่มกองทุน
หมู่บ้าน,กลุ่ม
SML
บันใด 5 ขั้น คว้าดาว
4. สนับสนุนและพัฒนาเครือข่าย
2. ส้ารวจสถานการณ์ของสมาชิกเครือข่าย
1. ส้ารวจสถานการณ์
3. สร้างเครือข่ายด้วยบทบาทหน้าที่
5. เครือข่ายเริ่มท้างาน
25Dr.Aran Sotthibandhu2008
แผนภูมิ 7 เส้นของผู้มีอิทธิพลในการขับเคลื่อน
คปต.
ผู้ใหญ่ บ้าน
ปลัด อบต. พัฒนาการอาเภอ
ปลัดจังหวัด
ผู้ว่าราชการ
จั งหวั ด
นายอาเภอ






 













• มีใครบ้างเป็นคนส้าคัญในการ
เสริม/สร้าง/พัฒนาเครือข่าย
• คนใดที่เป็นผู้ออกแรงผลักดันให้มี
การเสริม/สร้าง/พัฒนาเครือข่ายได้
• คนที่ออกแรงผลักดันเครือข่ายมี
ภาวะผู้น้าและอิทธิพลต่อการท้า
ได้จริงแค่ไหน
• สถานการณ์นั้นมีปัญหาอย่างไร
ใครจะเปลี่ยนสถานการณ์ได้
26Dr.Aran Sotthibandhu2008
แผนผังเครือข่ายการติดต่อสื่อสาร เวนน์
กลุ่ม
พัฒนา
กร
เกษตรตาบล
xxx
yyy
อบต
สหพันธ์ฯ
เครือข่ายของกลุ่มเกษตรกร
• ถ้าใครอยู่ตรงกลาง
ก็เป็นเครือข่ายของคนนั้น
• ถ้าท้าหลาย ๆ วง แล้วเอา
มารวมกัน ก็จะรู้ว่าควรจะ
เชิญใครเข้ามาร่วมทีม
ผู้สนับสนุนเครือข่ายเพิ่ม
27
ปัญหาของเครือข่าย
วัตถุประสงค์ไม่ชัดเจน
สมาชิกไม่เท่าเทียมกัน
ถูกครอบง้า
รวมศูนย์และราชการ
ขาดทรัพยากรหรือไม่มีการ
จัดการทรัพยากรที่ดีพอ
ข้อมูลผิดๆแพร่ในเครือข่าย
สมาชิกแข่งขันกันเอง
แหล่งทุนแทรกแซง
ติดตามและประเมินผลยาก
ถูกเพ่งเล็งทางการเมือง
28
การสร้างเครือข่าย
I = Individual หรือ ปัจเจกบุคคล
 แต่ละคนมีคุณค่า มีศักด์ศรี และมีศักยภาพ
 ต้องตั้งใจของเราไว้ให้ดี มีความเพียรอันบริสุทธ์
 มีความสุขจากการแสวงหา
 ความรู้และการทาความดี
 อย่าติดอยู่ในยศศักดิ์ อัครฐานหรือตาแหน่งอันเป็น “รูปแบบ” (form)
 ต้องไปสู่แก่นแท้ สัจจะ ความเป็นมนุษย์ของแต่ละคน ที่มีศักดิ์ศรี ทาดีจะมี
ผลมาก เกิดอิสรภาพ ความสุข และความสร้างสรรค์
เชื่อมโยงระหว่างบุคคล
N = Nodes หรือ กลุ่ม
คน ๔–๕ คน หรือ ๗–๘ คน ที่ถูกจริตกัน มารวมกลุ่มด้วยความสมัครใจ ข้ามสาขา
และข้ามองค์กร
พบปะกันบ่อยๆ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ชวนกันทาอะไรที่สร้างสรรค์
รวมใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ จะมีความสุขและความสร้างสรรค์เหลือหลาย
ความเป็นกลุ่ม และความหลุดพ้นจากการบีบคั้นที่ดารงอยู่ในองค์อานาจทางดิ่ง
ควรมีกลุ่มอันหลากหลายให้เต็มสังคม คนคนหนึ่งอาจเป็นสมาชิกได้หลายกลุ่ม
ตามความสมัครใจ
เชื่อมโยงบุคคลกับกลุ่ม
N = Network หรือ เครือข่าย
ปัจเจกบุคคล (I) ก็ตาม กลุ่ม (N) ก็ตาม ควรเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับบุคคล
หรือกลุ่มอื่นๆ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน แต่ละคนแต่ละกลุ่ม
อาจเป็นสมาชิกของหลายเครือข่ายตามความสมัครใจ
เชื่อมโยงกลุ่มต่อกลุ่ม
INN
 บุคคล – กลุ่ม – เครือข่าย จะเป็นโครงสร้างที่ไม่มีใครมีอานาจ
เหนือใคร
 ทุกคนและทุกกลุ่มเข้ามาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย
 มีการเรียนรู้ร่วมกัน
 โครงสร้างอย่างนี้จะมีความสุขความสร้างสรรค์
 เป็นโครงสร้างที่มีจิตวิญญาณ และมีพลังที่จะเยียวยาโลกที่
เจ็บป่วย
เทคนิคสร้างเครือข่าย สร้างสายสัมพันธ์
• สะสมนามบัตรเขา
• แจกนามบัตรเรา
• บันทึกหลังนามบัตรทุกใบ
• เข้าร่วมกิจกรรมชมรม สโมสร สมาคมสายวิชาชีพ
• เข้าร่วมเป็นกรรมการ คณะทางานพิเศษต่าง ๆ
• รักษากิจกรรมกับเพื่อนกลุ่มต่าง ๆ อย่างน้อยปีละครั้ง
• เมื่อเปลี่ยนงานควรบอกกล่าวไปให้ทั่ว ๆ
การใช้เครื่องมือสร้างเครือข่าย
1. นามบัตร
 ของผู้อื่นควรเก็บเป็นระบบ
 ควรโน้ตข้อความสาคัญเตือนความจา
 ของเราควรถูกต้องและมีช่องว่างเพียงพอต่อการบันทึก
2. อุปกรณ์เสริมช่องทางการสื่อสารเชื่อมต่อ
 โทรศัพท์ จดหมาย E-mail
3. PDA เก็บข้อมูลโดยไม่ใช้นามบัตร
4. ขยันและความใส่ใจในผู้อื่น
ธรรมชาติของการพัฒนาเครือข่าย
 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
 ความสัมพันธ์ที่ยังไม่เป็นทางการระหว่างองค์กร
 ความสัมพันธ์ในรูปแบบที่เป็นทางการ
 การจัดตั้งความสัมพันธ์ในรูปแบบของสถาบัน
ความสัมพันธ์
 เริ่มจากความสัมพันธ์ส่วนตัวก่อน แล้วจึงพัฒนาเป็น
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแบบไม่เป็นทางการ และเป็น
ทางการตามลาดับ
 รูปแบบของสถาบันถือว่าเป็นความสัมพันธ์ที่มั่นคงและยืนยาว
 เป็นรูปแบบของเครือข่ายในฝัน
 เป็นเป้าหมายของการรวมกลุ่ม
 แสดงให้เห็นถึงพันธะผูกพันที่มีต่อกันอย่างเหนียวแน่นของ
สมาชิก
การแสดงออกที่ก่อเกิดความสัมพันธ์และเครือข่าย
 ไม่หยิ่งยะโส ยกตนข่มท่าน
 แสดงความเป็นมิตร รับฟัง
 มีท่าทีเข้าใจและเห็นใจ
 มีอัธยาศัยไมตรีนุ่มนวล แต่มีหลักการ
 เชื่อถือได้ในทุกๆเรื่องทั้งพูดและการกระทา
การสร้างเครือข่าย ต้องไม่ใช่.....
 การเอาอกเอาใจ
 การประจบประแจง
 การพะเน้าพะนอ
 การตลาดหรือการขาย
เพราะสิ่งเหล่านี้ไม่ใช่ความสัมพันธ์ที่เอื้อประโยชน์ต่อกัน
ข้อควรคำนึงเมื่อทำงำนเครือข่ำย....
1. ต้องคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของส่วนรวมเป็นหลัก
2. ต้องลดอัตตาและผลประโยชน์ส่วนตน
3. ต้องเข้าใจบริบทของแต่ละฝ่าย
4. ต้องยึดหลักเสมอภาค เชื่อถือ และไว้ใจกัน
5. ต้องมุ่งมั่นต่อพันธะสัญญาที่มีต่อกัน
สร้ำงเครือข่ำยให้ยั่งยืน (ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์)
1. จัดกิจกรรมร่วมอย่างต่อเนื่อง
2. รักษาสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิก
3. สร้างระบบจูงใจ
4. สนับสนุนทรัพยากร
5. ช่วยเหลือ ช่วยแก้ปัญหา
6. สร้างผู้นารุ่นใหม่อย่างต่อเนื่อง
ปัจจัยแห่งความสาเร็จของเครือข่ายคืออะไร
 จากการสังเกตและประสบการณ์ที่ได้จาก
เครือข่ายที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยโดยการ
ริเริ่มขององค์กรความร่วมมือทางวิชาการของ
ประเทศเยอรมันนี(GTZ) และกรมส่งเสริม
อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ภายใต้ครงการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดย่อม
ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการรวมตัว
 ผู้นาแบบมีพลวัต
 สมาชิกมีความรู้สึกเป็นเจ้าของเครือข่าย
 มีค่านิยมและวิสัยทัศน์ร่วม
 มีความต้องการในการจัดตั้งเครือข่ายที่เหมือนกัน
 การตกลงอย่างเป็นทางการ
 ความสามารถในการหาแหล่งทุนสนับสนุน
 คณะทางานแบบมืออาชีพ
ผู้นาแบบมีพลวัต (Dynamic Leadership)
รูปแบบของผู้นาที่มีลักษณะกระตือรือร้น
มีศักยภาพในการโน้มน้าวและจูงใจ
ทาให้สมาชิกร่วมมือร่วมใจในการปฏิบัติงาน
สามารถให้วิสัยทัศน์ ทิศทางและทัศนคติ
สร้างแรงบันดาลใจแก่สมาชิก
กระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้และการทากิจกรรมร่วมกัน
บริหารเครือข่ายให้เกิดขอบเขตความร่วมมือและโอกาสทางการตลาดใหม่ๆ
ปลูกฝังวัฒนธรรมของการแข่งขันภายใต้ความร่วมมือกัน
สมาชิกมีความรู้สึกเป็นเจ้าของเครือข่าย (Ownership)
 การที่สมาชิกมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจอย่าง
เหมาะสมโปร่งใสเกี่ยวกับการดาเนินงานในเครือข่าย
สินทรัพย์ การจัดซื้อตลอดจนการแบ่งปันทรัพยากร ความ
รับผิดชอบและค่าใช้จ่าย มีการเสริมจุดแข็งจุดอ่อน
ซึ่งกันและกัน
การมีค่านิยมและวิสัยทัศน์ร่วม (Shared value and vision)
 มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
 มีค่านิยมร่วมกัน
 มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
 ร่วมกันผลักดันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิกเครือข่าย
มีความต้องการในการจัดตั้งเครือข่ายที่เหมือนกัน
(Common felt need to establish network)
 เป็นการมีเป้าหมายร่วมกัน
 ทาเพื่อกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน
 มีการทางานร่วมกัน
 ทาเพื่อประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน
การตกลงอย่างเป็นทางการ (Formal Binding Agreement)
 การสร้างกระบวนความสัมพันธ์ให้สมบรูณ์
 เป็นการยกระดับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
 เป็นการยกระดับความสัมพันธ์กับสถาบันเครือข่าย
 พัฒนาสถาบันเครือข่ายให้เป็นทางการ
 มีโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจน
ความสามารถในการหาแหล่งทุนสนับสนุน(Funding)
 การหาความช่วยเหลือทางการเงินจากหน่วยงานรัฐ
 การหาความช่วยเหลือทางองค์กรอื่น
 การพึ่งพาตนเองของสถาบันเครือข่าย
คณะทางานแบบมืออาชีพ (Professional Secretariate)
 คณะทางานที่มีความรู้ความสามารถ
 มีความเต็มใจในการทางาน
 บรรลุเป้าหมายของสถาบันเครือข่าย
อุปสรรคที่พบในการทางานเครือข่ายร่วมกัน
 ขาดความเชื่อใจกันและการให้ความร่วมมือกันในเครือข่าย
 การขาดความตระหนักในประโยชน์ของการเป็นสมาชิกเครือข่าย
 ขาดข้อมูล และความรู้เกี่ยวกับเครือข่ายที่เพียงพอจากหน่วยงานของรัฐ
 หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบไม่สามารถกระจายข้อมูลเกี่ยวกับเครือข่าย
 ขาดการตระหนักถึงผลประโยชน์ที่ผู้ประกอบการจะได้รับจากการเป็นสมาชิกได้
อย่างทั่วถึง
 “เครือข่าย” (Network) ถือเป็นแนวคิดค่อนข้างใหม่ในประเทศไทย
 ขาดข้อมูลที่เพียงพอสาหรับผู้ประกอบการ
 ผู้ที่รับผิดชอบในหน่วยงานของรัฐยังไม่มีความเข้าใจในแนวคิด การจัดตั้งและ
พัฒนาเครือขายอย่างจริงจัง
 ขาดเงินทุนที่เพียงพอ
ปัญหาที่พบ
 ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารเวลาของคณะทางาน การเลือกคนถูกคัดเลือกโดย
คณะกรรมการเครือข่ายที่ได้รับการผลักดันจากหน่วยงานรัฐ
 ไม่สามารถทุ่มเทเวลาให้กับกิจกรรมของเครือข่ายอย่างเต็มที่
 หลายโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสมาชิกอย่างยิ่งแต่ยังไม่ได้มีการดาเนินงาน
 การขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ ผู้ประกอบการกลัวที่จะแบ่งปันข้อมูลซึ่งอาจจะเป็น
อันตรายต่อธุรกิจของตน
 ไม่ได้ตระหนักว่าทุกคนมีช่องทางการเข้าถึงข้อมูลได้
 การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ แลกเปลี่ยนข้อมูลเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งของเครือข่าย
 การไม่สามารถร่วมมือกันเพื่อผลประโยชน์รวมที่จะพัฒนาเครือข่ายแบบยั่งยืน
เครือข่ายจะเป็นที่สนใจแก่สมาชิกได้อย่างไร ?
 ทางานร่วมกันเพื่อพลังขับเคลื่อน
 ทางานร่วมกันเพื่อผลประโยชน์เท่าเทียมกัน
 ทางานร่วมกันเพื่อกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน
– ทางานร่วมกันเพื่อหลีกเลี่ยงความซ้าซ้อน
– บรรลุถึงวิสัยทัศน์ร่วมกัน
– แบ่งปันทรัพยากร การปฏิบัติงาน และค่าใช้จ่าย
– เสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อนให้กันและกัน
การพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น
 การมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในท้องถิ่น
 สร้างแรงจูงใจและพันธะสัญญา
 การเรียนรู้ด้วยตัวเอง
 เครือข่ายถือเป็นเครื่องมือที่สาคัญ
 เครือข่ายถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการไปสู่การพัฒนาการรวมกลุ่มธุรกิจ
(cluster development)
 ความร่วมมือภายในกลุ่มอุตสาหกรรมเฉพาะด้าน
 Henry Ford เสนอ
• การมาร่วมมือกันเป็นจุดเริ่มต้น (Coming together is a beginning)
• การทางานด้วยกันเป็นความก้าวหน้า (Working together is a progress)
• การดาเนินต่อไปด้วยกันคือความสาเร็จ (Keeping together is a success)
การประสานงาน (Coordination)
55
• ภารกิจในการประสานงาน
• หลักการประสานงาน
• รูปแบบการประสานงาน
• วิธีการประสานงาน
• การประสานงานที่มีประสิทธิภาพ
• ภาวะผู้นากับการประสานงาน
• การใช้ภาวะผู้นาเพื่อการประสาน
การประสานงาน
 เป็นการจัดให้คนในองค์การทางานให้สัมพันธ์สอดคล้องกัน
โดยจะต้องตระหนักถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ วัตถุประสงค์
เป้าหมาย และมาตรฐาน
การปฏิบัติขององค์การเป็นหลัก
 วัตถุประสงค์ของการประสานงาน มีดังนี้
 เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย
 เพื่อให้งานมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดไว้
 เพื่อประหยัดเวลาและทรัพยากรในการปฏิบัติงาน
 เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีแก่ผู้เกี่ยวข้อง
ภารกิจในการประสานงานมีขอบข่ายดังต่อไปนี้
1. นโยบาย ที่ให้แต่ละหน่วยขององค์การต้องประสานนโยบายเพื่อ
บรรลุผลขององค์การ
2. ให้ใจในการทางาน สมาชิกในองค์การล้วนมีชีวิตจิตใจในการ
ปฏิบัติงานร่วมกันย่อมต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจ ตลอดจนความ
จริงใจที่มีต่อกัน การประสานใจ จึงเป็นภารกิจที่สาคัญยิ่ง
3. แผนงาน องค์การจะกาหนดแผนงานและโครงการไว้ ผู้ปฏิบัติต้อง
ประสานแผนประสานโครงการที่เกี่ยวข้องกันด้วย
4. งานที่รับผิดชอบ งานย่อย ๆ ในโครงการและนอกโครงการ ผู้
ประสานงานต้องเตรียมประสานที่เกี่ยวข้องให้ลุล่วงไปด้วยดี
5. คน ในการปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติต่อเกี่ยวข้องกับคน จึงต้องประสานคน
ทั้งในองค์การและนอกองค์การ
6. ทรัพยากร อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ อาจต้องขอยืมขอเบิก
หลักการประสานงาน
จัดให้มีระบบการติดต่อสื่อสารที่ดี ทั้งการสื่อสารระหว่างคนภายใน
องค์กร และคนนอกองค์กร
จัดให้มีระบบความร่วมมือที่ดี กระตุ้นให้สมาชิกในองค์การมีความเต็มใจ
ที่จะร่วมมือ ในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีน้าใจ ไม่วางเฉย
จัดให้มีระบบการประสานงานที่ดี ทั้งการประสานงานจากบนสู่ล่าง หรือ
ล่างสู่บน หรือระดับเดียวกัน เช่น การประชุม การเลี้ยงน้าชา การสังสรรค์
หลักการประสานงาน
 จัดให้มีการประสานนโยบายและวัตถุประสงค์ขององค์การให้สอดคล้อง
กัน บางครั้งนโยบายกับวัตถุประสงค์สอดคล้องกันยาก เพื่อเอกภาพในการ
บริหารจึงต้องประสานให้วัตถุประสงค์กับนโยบายสอดคล้องต้องกันและงาน
ต่อการปฏิบัติ
 จัดให้มีการประสานงานในรูปกระบวนการบริหารที่ครบวงจร ได้แก่
Input Process Output ขั้นตอนการปฏิบัติตามกาหนเวลาและสถานที่ของผู้
ปฏิบัติต้องชัดเจน ต้องทาให้ผู้เกี่ยวข้องทราบได้ว่า ใครทาอะไรที่ไหน อย่างไร
เมื่อใด เพื่อสะดวกแก่ทุกฝ่ายในการประสานงาน
รูปแบบการประสานงาน
การประสานงานนอกแบบ เป็นกิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบแน่นอน
อาจจัดทาได้
ในกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้การประสานงานสาเร็จด้วยดี เช่น การ
จัดเลี้ยง
การตีกอล์ฟ ฯลฯ
การประสานงานในแบบ เป็นการปฏิบัติงานตามปกติโดยวาจา
หรือลายลักษณ์อักษรหรือตรวจเยี่ยมหน่วยงานและบุคคลากรใน
สังกัด
วิธีการประสานงาน
กาหนดแผนงานหรือโครงการ สาหรับทุกคนทุกหน่วยขึ้นมาก่อน
ให้ทุกคนหรือทุกหน่วย เข้าใจแผนงานหรือโครงการทั้งหมด ให้ทราบว่า
ใครหรือหน่วยใดมีหน้าที่อะไร กาลังทาอะไรอยู่ ตลอดจนอนาคตจะทา
อะไรต่อไป โดยจัดทาแผนภูมิองค์การ Organization Chart และ Job
Description ของคนหรือหน่วยงานไว้ให้ชัดเจน
ให้ทุกคนทุกหน่วยงานเต็มใจทางานที่ได้รับมอบหมายจริง ๆ และจะ
ได้ผลจริง ๆ
วิธีการประสานงาน
การประสานงานกับแนวความคิดของผู้บริหาร คิดว่าเป็นลูกน้องหรือ
คิดว่าลูกน้องเป็นเพื่อนร่วมงาน อาศัยการปรึกษาหารือกับลูกน้องหรือ
ทาให้ลูกน้องกลัว ขึ้นอยู่กับรูปแบบของผู้นาหรือนักบริหาร
การประสานงานกับตาแหน่งต่าง ๆ ทางการบริหาร Hierarchy of
Authority จะต้องมีการประสานอยู่ในทุกระดับขั้นของการบังคับ
บัญชา
การประสานงานที่มีประสิทธิภาพ
 จัดโครงสร้างการบริหาร ให้เป็นระเบียบชัดเจนและรัดกุม
 มีแผนภูมิแสดงสายบังคับบัญชา และการติดต่อสื่อสารชัดเจนเข้าใจง่าย
 มีการเขียนนโยบาย กฎเกณฑ์และระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ เป็นลาย
ลักษณ์อักษร อ้างอิงได้ ทุกคนทราบ
 มีระบบการเสนอรายงานตามสายบังคับบัญชา เป็นหลักปฏิบัติ
 มีเครื่องมือและระบบสื่อสารเพียงพอใช้การได้ดีและรวดเร็ว
 มีบุคคลที่ท้าหน้าที่ประสานงานที่มีความรู้สูงท้าหน้าที่โดยเฉาพะ มีน้าใจ
ให้บริการ Sense of Service อดทน มนุษยสัมพันธ์ดี
การใช้ภาวะผู้นาเพื่อการประสาน
 งานที่มีคนทาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เป็นธรรมดาที่จะมีความ
ขัดแย้งในด้านความคิด
 เราควรเข้าใจธรรมชาติของคน มนุษย์มีความแตกต่างกัน
ทั้งสติปัญญา ประสบการณ์ รสนิยม ความรู้สึกนึกคิด
ความสนใจ ตลอดจนค่านิยม
 เข้าใจลักษณะของการขัดแย้ง ด้วยเหตุผล ด้วยอารมณ์
ด้วยผลประโยชน์

More Related Content

What's hot

ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามKongkrit Pimpa
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรมsukanya petin
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3oraneehussem
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
unseen พืชบ้านไร่
unseen พืชบ้านไร่unseen พืชบ้านไร่
unseen พืชบ้านไร่Bus Blue Lotus
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรม
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
unseen พืชบ้านไร่
unseen พืชบ้านไร่unseen พืชบ้านไร่
unseen พืชบ้านไร่
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 

Similar to การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน

สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุpyopyo
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนsoftganz
 
ผลกระทบเช งลบของการใช นว_ตกรรม เทคโนโลย_
ผลกระทบเช งลบของการใช นว_ตกรรม เทคโนโลย_ผลกระทบเช งลบของการใช นว_ตกรรม เทคโนโลย_
ผลกระทบเช งลบของการใช นว_ตกรรม เทคโนโลย_อาทิตย์ แสงโยจารย์
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชTaraya Srivilas
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
โครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfโครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfbodinkesorn1
 
โครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfโครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfbodinkesorn1
 
Basic conceptict4child
Basic conceptict4childBasic conceptict4child
Basic conceptict4childarchangoh
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 

Similar to การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน (20)

สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
Profit for life
Profit for lifeProfit for life
Profit for life
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 
ผลกระทบเช งลบของการใช นว_ตกรรม เทคโนโลย_
ผลกระทบเช งลบของการใช นว_ตกรรม เทคโนโลย_ผลกระทบเช งลบของการใช นว_ตกรรม เทคโนโลย_
ผลกระทบเช งลบของการใช นว_ตกรรม เทคโนโลย_
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Niwespunya
NiwespunyaNiwespunya
Niwespunya
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชช
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
โครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfโครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdf
 
โครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfโครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdf
 
Basic conceptict4child
Basic conceptict4childBasic conceptict4child
Basic conceptict4child
 
(Organization)
(Organization)(Organization)
(Organization)
 
บทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pb
บทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pbบทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pb
บทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pb
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
 
20180110104912
2018011010491220180110104912
20180110104912
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน