SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
191                  การใช้ยาต้านจุลชีพ



                   การใช้ยาต้านจุลชีพ
       ยาต้านจุลชีพ(Antimicrobial drugs) หมายถึงสารประกอบ
เคมีที่ได้จากธรรมชาติ เช่น จากเชื้อรา หรือจากการสังเคราะห์ขึ้น
มา ซึ่งยานี้จะมีผลไปทำาลายหรือต่อต้านเชื้อจุลชีพชนิดอื่น ๆ
       ยาปฏิชีวนะ(Antibiotic) หมายถึง สารประกอบเคมีที่ได้จาก
เชื้อจุลชีพบางชนิดและมีผลยับยังหรือทำาลายเชื้อจุลชีพอื่น เมื่อใช้
                                   ้
ในขนาดความเข้มข้นตำ่า
       ยาต้านจุลชีพกึ่งสังเคราะห์ (Semi-synthetic antimicrobial
agents) หมายถึง ยาต้านจุลชีพ ที่มบางส่วนของโมเลกุลแยกได้
                                     ี
จากเชื้อจุลชีพชนิดใดชนิดหนึ่ง และส่วนที่เหลือของโมเลกุล ได้
จากการสังเคราะห์ทางเคมี
       จากคำาจัดกัดความข้างต้น สรุปได้วา ยาที่ใช้ทำาลายเชื้อ
                                          ่
จุลชีพนั้นหากเป็นยาปฏิชีวนะ(Antibiotic) จะต้องได้มาจากเชื้อ
จุลชีพ แต่หากเป็นยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial agents) อาจได้
จากการสังเคราะห์ขึ้นมาบางส่วน หรือทั้งหมดก็ได้ ยาต้านจุลชีพ
เป็นชื่อที่ใช้เรียกรวม ๆ ซึ่งรวมถึงยาปฏิชีวนะด้วย ยาต้านจุลชีพ
ภาษาชาวบ้านเรียกว่า ยาแก้อักเสบ




                   ภาพ ยาปฏิชีวนะชนิดต่าง ๆ

การแบ่งประเภทของยาต้านจุลชีพ(Classification of
antimicrobial drugs)
       ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) สามารถจัดแบ่งเป็นก
ลุ่ม ๆ ได้ ٤ แบบ คือ
       ١.แบ่งตามฤทธิ์ของยาต่อเชื้อจุลชีพ(Classification on
antimicrobial action)
192                  การใช้ยาต้านจุลชีพ



     ٢.แบ่งตามขอบเขตการออฤทธิ์ของยา(Classification on
antimicrobial spectrum)
     ٣.แบ่งตามกลไกการออกฤทธิ์ของยา(Classification on
mechanism of action)
     ٤.แบ่งตามสูตรโครงสร้างทางเคมีของยา(Classification on
chemical structure)


١.แบ่งตามฤทธิ์ของยาต่อเชื้อจุลชีพ(Classification on
antimicrobial action)
       หากแบ่งยาต้านจุลชีพ(Antimicrobial agents) ตามฤทธิ์ต่อ
เชื้อจุลชีพ จะสามารถแบ่งย่อยได้เป็น ٢ กลุม คือ ่
       ١.١ ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆาแบคทีเรีย
                                         ่
โดยตรง(Bactericidals)
       ١.٢ ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยบยั้งการเจริญเติบโตของ
                                       ั
แบคทีเรีย(Bacteriostatics)
       ١.١ ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรีย
โดยตรง(Bactericidals)
       ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง(Bactericidals)
ยากลุ่มนี้ มักออกฤทธิ์ คือ
       -ขัดขวางการสร้างผนังเซล (Cell wall) ของเชื้อแบคทีเรีย
       -ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เยื่อหุ้มเซล (Cytoplasmic
membrane, Cell membrane) ของแบคทีเรีย
       -ขัดขวางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย
       ยากลุ่มนี้ จะมีผลต่อเชื้อแบคทีเรียที่กำาลังเจริญเติบโตหรือ
กำาลังแบ่งตัว ยากลุ่มนี้ ได้แก่ กลุ่มเพนนิซิลลิน (Penicillin) กลุม
                                                                 ่
เซฟาโลสปอริน (Cephalosporin) แวนโคมัยซิน (Vancomycin)
กลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์ (Aminoglycoside) โพลีมิกซิน
(Polymyxin)
       ١.٢ ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย(Bacteriostatics)
       ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยับยังการเจริญเติบโตของ
                                     ้
แบคทีเรีย(Bacteriostatics) ยากลุ่มนี้ มักออกฤทธิ์ขัดขวางการ
สร้างโปรตีนของแบคทีเรีย ยากลุ่มนี้ ได้แก่ คลอแรมเฟนิคอล
193                  การใช้ยาต้านจุลชีพ



(Cholramphenical) กลุมเตตร้าซัยคลิน (Tetracyclines) กลุ่มซัล
                           ่
โฟนาไมด์ (Sulfonamide) คลินดามัยซิน (Clindamycin) อีรีโทร
มัยซิน (Erythromycin) สไปรามัยซิน (Spiramycin)
      การแบ่งยาต้านจุลชีพตามคุณสมบัติของยานี้ อาจไม่ถูกต้อง
นัก เนื่องจากยาบางตัว เช่น อีรีโธมัยซิน และ โนโวไบโอซิน หาก
ใช้ความเข้มข้นตำ่า จะมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย แต่
หากใช้ความเข้มข้นสูง จะออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง จึงทำาให้
ยาดังกล่าว จัดอยู่ได้ทั้ง ٢ กลุ่ม แต่การแบ่งยาต้านจุลชีพวิธีนี้ ให้
ประโยชน์ในกรณีใช้ยาต้านจุลชีพร่วมกัน ٢ ชนิด คือ
      หากใช้ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง ٢ ชนิด
ร่วมกัน เช่น ให้เพนนิซิลลิน และ แวนโคมัยซิน ยาจะเสริมฤทธิ์กัน
      หากใช้ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยับยังการเจริญเติบโตของ
                                          ้
แบคทีเรีย ٢ ชนิดร่วมกัน เช่น เต ตร้าซัยคลิน และ ซัลโฟนาไมด์
จะไม่ทำาให้ฤทธิ์ของยาเพิ่มขึ้นหรือลดลงแต่อย่างใด
      แต่หากใช้ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรงร่วม
กับยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยับยังการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
                                  ้
เช่น เพนนิซิลลิน ร่วมกับ เตตร้าซัยคลิน จะทำาให้ฤทธิ์ของยาลดลง
คือต้านฤทธิ์กัน
٢.แบ่งตามขอบเขตการออฤทธิ์ของยา(Classification on
antimicrobial spectrum)
      หากแบ่งยาต้านจุลชีพ(Antimicrobial agents) ตามขอบเขต
การออฤทธิ์ (Classification on antimicrobial spectrum) จะ
สามารถแบ่งย่อยได้เป็น ٣ กลุ่ม คือ
      ٢.١ กลุมที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ(Narrow spectrum)
               ่
      ٢.٢ กลุมที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์ปานกลาง(Intermediate
                 ่
spectrum)
      ٢.٣ กลุมที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง(Broad spectrum)
                   ่
      ٢.١ กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ(Narrow
spectrum)
      กลุ่มที่มีของเขตการออกฤทธิ์แคบ(Narrow spectrum)
ได้แก่ ยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรีย แกรมบวก ทังที่เป็นรูปกลมและ
                                               ้
รูปแท่ง เช่น กลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillin) ลินโคมัย
ซิน(Lincomycin) แวนโคมัยซิน(Vancomycin) เบซิเตร
194                การใช้ยาต้านจุลชีพ



ซิน(Bacitracin) กลุ่มมาโคไลด์(Macrolide) กลุ่มอะมิโนกลัยโค
ไซด์(Aminogylcoside) โพลีมิกซิน(Polymyxin)
      ٢.٢ กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์ปาน
กลาง(Intermediate spectrum)
      กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์ปานกลาง(Intermediate
spectrum) ได้แก่ ยาที่ออกฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแก
รมลบบางชนิด เช่น กลุ่มเซฟาโลสปอริน(Cepharosporin) บางตัว
       ٢.٣ กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง(Broad
spectrum)
      กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง(Broad spectrum) ได้แก่
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกรูปกลมและแกรมลบรูป
แท่ง เช่น แอมพิซิลลิน(Ampicillin) คาร์เบนิซลลิน(Cabanicliiln)
                                            ิ
กลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) กลุ่มเตตร้าซัยค
ลิน(Tetracyclines) คลอแรมเฟนิคอล(Chloramphaniclo) ยาใน
กลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamide)
٣.แบ่งตามกลไกการออฤทธิ์ของยา(Classification on
mechanism of action)
      หากแบ่งยาต้านจุลชีพ(Antimicrobial agents) ตามกลไก
การออกฤทธิ์ (Classification on mechanism of action) จะ
สามารถแบ่งย่อยได้เป็น ٦ กลุ่ม คือ
      ٣.١ กลุมที่มฤทธิ์ขัดขวางการสร้างผนังเซล(Cell wall) ของ
               ่           ี
แบคทีเรีย
      ٣.٢ กลุมที่มีผลต่อเยื่อหุ้มเซล(Cell membrane) ของ
                 ่
แบคทีเรีย
      ٣.٣ กลุมที่มีผลขัดขวางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย
                   ่
      ٣.٤ กลุมที่มีผลทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียผิด
                     ่
ปกติ
      ٣.٥ กลุมที่มีผลยับยังการสร้างกรดนิวคลีอิค(Nucleic acid)
                       ่     ้
ของแบคทีเรีย
      ٣.٦ กลุมที่มีผลขัดขวางขบวนการเมตาโบริซึม
                         ่
(Metabolism) ของแบคทีเรีย
195                 การใช้ยาต้านจุลชีพ



     ٣.١ กลุ่มที่มีฤทธิ์ขัดขวางการสร้างผนังเซล(Cell wall)
ของแบคทีเรีย
     ผนังเซลของแบคทีเรีย จะเป็นส่วนที่อยู่ชั้นนอกสุดของเซล มี
ลักษณะแข็งและเป็นรู ใช้ป้องกันอันตรายจากภายนอก รวมทั้ง
ป้องกันเซลเมมเบรน(Cell membrane) ของบวมแตก ส่วนประกอบ
ของผนังเซลระหว่างแบคทีเรียแกรมบวกและลบจะต่างกัน
แบคทีเรียแกรมลบจะมีผนังเซลซับซ้อนกว่าของแบคทีเรียแกรม
บวก ผนังเซลของแบคทีเรียแกรมลบจึงแข็งแรงกว่าและถูกทำาลาย
ด้วยยาต้านจุลชีพยากกว่า




                ภาพ ผนังเซลของแบคทีเรียแกรมบวก




                 ภาพ ผนังเซลของแบคทีเรียแกรมลบ

      ยากลุ่มที่มฤทธิ์ขัดขวางการสร้างผนังเซล(Cell wall) ของ
                  ี
แบคทีเรีย ยากลุ่มนี้จะทำาลายผนังเซลของแบคทีเรีย ทำาให้ผนัง
เซลแตกและแบคทีเรียจะตายทันที ยากลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้าน
จุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals) ยากลุ่มนีมี
                                                              ้
ความปลอดภัยสูงเนื่องจากเซลของสัตว์ชั้นสูงทั่วไปไม่มีผนังเซล
ยากลุ่มนี้ ได้แก่ กลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillin) กลุ่มเซฟฟาโลสปอ
ริน(Cephalosporin) แวนโคมัยซิน(Vancomycin) เบซิเตร
ซิน(Bacitracin)
196                  การใช้ยาต้านจุลชีพ



       ٣.٢ กลุ่มที่มีผลต่อเยื่อหุ้มเซล(Cell membrane) ของ
แบคทีเรีย
       เยื่อหุ้มเซล(Cell membrane, Cytoplasmic membrane)
ของแบคทีเรีย เป็นชั้นที่อยูถัดเข้าไปจากผนังเซล เป็นชั้นที่
                             ่
ประกอบไปด้วยโปรตีนและไขมัน หน้าที่หลักของเยื่อหุ้มเซลของ
แบคทีเรีย คือ ควบคุมส่วนประกอบภายในเซล เป็นตัวขวางกันการ
ซึมออกของสารที่มนำ้าหนักโมเลกุลตำ่า เช่น กรดอะมิโน และไอออ
                      ี
นอนินทรีย์ (Inorganic ion)
       ยากลุ่มที่มีผลต่อเยื่อหุ้มเซล(Cell membrane) ของ
แบคทีเรีย ยากลุ่มนี้ จะทำาให้โปรตีนและไอออน รวมถึงของเหลว
ภายในเซลของแบคทีเรีย ไหลออกมานอกเซล ทำาให้แบคทีเรีย
ตายในที่สุด ยากลุ่มนี้ มีพิษมากที่สุด เนื่องจากเซลของสัตว์ก็มีเยื่อ
หุ้มเซล (Cell membrane) เช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากคุณสมบัติ
ของเยื่อหุ้มเซลของสัตว์และของแบคทีเรียแตกต่างกัน ยาจึงมีผล
ทำาลายเยื่อหุ้มเซลของแบคทีเรียมากกว่าทำาลายเยื่อหุ้มเซลของ
สัตว์ ยากลุมนี้ ได้แก่ โพลีมิกซิน(Polymyxin) โค ลิสติ
             ่
น(Colistin) แอมโฟเทอริซิน บี(Amphotericin B)
       ٣.٣ กลุ่มที่มีผลขัดขวางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย
       กลุ่มที่มีผลขัดขวางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย ยาจะไป
ยับยั้งการทำางานของไรโบโซม(Ribosomes) ทีอยู่ในเซลของ
                                                ่
แบคทีเรีย ไรโบโซม จะทำาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน เมื่อไรโบโซม
ถูกขัดขวางการทำางาน จึงไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนได้ ยากลุ่มนี้
จึงไม่มีผลในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เพียงแต่ยบยั้งการเจริญเติบโต
                                             ั
ของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) เท่านั้น จำาเป็นต้องใช้ภูมิ
ต้านทานของร่างกายในการทำาลายแบคทีเรียที่เหลืออยู่ ยากลุ่มนี้
แบ่งย่อยได้อีกเป็น ٢ กลุ่ม คือ
       ٣.٣.١ กลุมที่ขัดขวางการทำางานของไรโบโซมชนิด ٥٠เอส
                  ่
(50S) ได้แก่ คลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenical) คลินดามัย
ซิน(Clindamycin) อีรีโธมัยซิน(Erythromycin)
       ٣.٣.٢ กลุมที่ขัดขวางการทำางานของไรโบโซมชนิด ٣٠เอส
                    ่
(30S) ได้แก่ กลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracycline)
197                การใช้ยาต้านจุลชีพ




                     ภาพ การสร้างโปรตีน


     ٣.٤ กลุ่มที่มีผลทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของ
แบคทีเรียผิดปกติ
     กลุ่มที่มีผลทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียผิดปกติ
โดยยาจะจับกับไรโบโซมชนิด ٣٠เอส(٣٠S) ในเซลของแบคทีเรีย
ทำาให้แบคทีเรียเกิดการสร้างโปรตีนที่ผิดปกติ ทำาให้แบคทีเรียตาย
ยากลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง
(Bactericidals) ยากลุ่มนี้ ได้แก่ สเปคติโนมัย
ซิน(Spectinomycin) สเตรปโตมัยซิน(Streptomycin) กาน่ามัย
ซิน(Kanamycin) นีโอมัยซิน(Neomycin) เจนตามัย
ซิน(Gentamycin)
     ٣.٥ กลุ่มที่มีผลยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิค(Nucleic
acid) ของแบคทีเรีย
     กลุ่มที่มีผลยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิค(Nucleic acid) ของ
แบคทีเรีย ยากลุ่มนี้ ทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถสร้างดีเอ็นเอ
(DNA) ซึ่งจำาเป็นต่อการเจริญเติบโตและแบ่งตัวของแบคทีเรีย
ยากลุ่มนี้จึงมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
(Bacteriostatics) ยากลุ่มนี้ ได้แก่ ไรแฟมปิน(Rifampin) เมโทรนิ
ดาโซล กลุมควิโนโลน(Quinolone)
             ่
     ٣.٦ กลุ่มที่มีผลขัดขวางขบวนการเมตาโบริซึม
(Metabolism) ของแบคทีเรีย
198                 การใช้ยาต้านจุลชีพ



        กลุ่มที่มีผลขัดขวางขบวนการเมตาโบริซึม (Metabolism)
ของแบคทีเรีย ยาจะไปยับยั้งขบวนการเมตาโบริซึม (Metabolism)
ของกรดโฟลิกของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถเจริญ
เติบโตหรือแบ่งตัวได้ ยากลุ่มนี้จึงมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย (Bacteriostatics) ยากลุ่มนี้ ได้แก่ กลุ่มซัลโฟนาไมด์(S
ulfonamide) ไตรเมโทพริม(Trimetroprim)
٤.แบ่งตามสูตรโครงสร้างทางเคมีของยา(Classification on
chemical structure)
        หากแบ่งยาต้านจุลชีพตามสูตรโครงสร้างทางเคมีของ
ยา(Classification on chemical structure) สามารถแบ่งย่อยได้
เป็น ١٣ กลุ่ม คือ
        4.1 ยากลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillins)
        4.2 ยากลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin)
        4.3 ยากลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์(Aminoglycosides)
        4.4 ยากลุ่มอะมิโนไซคริทอล(Aminocyclitol)
        ٤.٥ ยากลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines)
        ٤.٦ ยากลุ่มคลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenicol)
        ٤.٧ ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides)
        ٤.٨ ยากลุ่มมาโคไลด์(Macrolides)
        ٤.٩ ยากลุ่มควิโนโลน(Quinolones)
        4.10 ยากลุ่มโพลีเปปไทด์(Polypeptide)
        4.11 ยากลุ่มลินโคซาไมด์(Lincosamides)
        4.12 ยากลุ่มอนุพันธ์ของไนโตรฟูแรน(Nitrofuran)
        4.13 ยาต้านจุลชีพอื่น ๆ
        4.1 ยากลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillins)
        ยากลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillins) เป็นยาปฏิชีวนะ(Antibiotic)
ทีใช้กันมากว่า ٥٠ ปี สกัดได้จากเชื้อราเพนนิซิล
   ่
เลียม(Penicillium) ยากลุ่มเพนนิซิลลิน มีฤทธิ์ขัดขวางการสร้าง
ผนังเซล(Cell wall) ของแบคทีเรีย ยากลุ่มนี้จะทำาลายผนังเซล
ของแบคทีเรีย ทำาให้ผนังเซลแตกและแบคทีเรียจะตายทันที ยาก
ลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง
(Bactericidals) ยากลุ่มนี้ จะมีผลต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก
มากกว่าแกรมลบ เนื่องจากองค์ประกอบของผนังเซลของเชื้อ
แบคทีเรียแกรมบวกอ่อนแอกว่าแบคทีเรียแกรมลบ เชื้อแบคทีเรีย
199                 การใช้ยาต้านจุลชีพ



สามารถดื้อต่อยากลุ่มเพนนิซิลลินได้โดยเชื้อจะสร้างเอ็นไซม์
เพนนิซิลลินเนส(Penicillinase) ขึ้นมาทำาลายยา
       ยากลุ่มเพนนิซิลลิน สามารถแบ่งย่อยอีกเป็น ٥ กลุม ตาม
                                                        ่
ความสามารถในการทำาลายเชื้อแบคทีเรีย คือ
       ٤.١.١ เพนนิซิลลินที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ สามารถ
ทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก และตัวยาเองก็ถูกทำาลายด้วยเอ็น
ไซม์เพนนิซิลลินเนส ได้แก่ เพนนิซิลลิน จี และเพนนิซิลลิน วี
            -เพนนิซิลลิน จี(Penicillin G, Benzyl penicillin) แยก
ย่อยได้อีกเป็น ٣ ชนิด คือ เพนนิซิลลินชนิดละลายนำ้า(Aqueous
penicillin G) ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเข้าเส้นเลือด ,โปรเคน
เพนนิซิลลิน(Procaine penicillin G) ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อเท่านั้น ,
เบนซาธีนเพนนิซิลลิน(Benzathine penicillin) ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
เท่านั้น
            -เพนนิซิลลิน วี(Penicillin V, Phenoxy methyl
penicillin) เป็นเพนนิซิลลินที่ทนต่อกรดในกระเพาะอาหาร จึงถูก
ผลิตออกมาใช้ในรูปของการรับประทานในโคจึงไม่นยมใช้ มีชื่อ
                                                     ิ
ทางการค้าเช่น เพนวี (Pen-V ) แอตแลนติก(Atlantic®) เป็นต้น
                              ®




         ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของเพนนิซิลลิน จี




          ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของเพนนิซิลลิน วี
      ٤.١.٢ เพนนิซิลลินที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ สามารถ
ทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก แต่ตัวยาไม่ถูกทำาลายด้วยเอ็นไซม์
เพนนิซิลลินเนส ได้แก่ เมธิซิลลิน (Methicillin) เนพซิล
ลิน(Nafcillin) ออกซาซิลลิน(Oxacillin) คล็อกซาซิลลิน
(Cloxacillin) ไดคล็อกซาซิลลิน(Dicloxacillin) ฟล็อกซาซิล
ลิน(Floxacillin)
200                 การใช้ยาต้านจุลชีพ




     ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของเมธิซิลลิน (Methicillin)




      ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของเนพซิลลิน(Nafcillin)




    ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของออกซาซิลลิน(Oxacillin)

       ٤.١.٣ เพนนิซิลลินที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง สามารถ
ทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ แต่ตัวยาถูกทำาลาย
ด้วยเอ็นไซม์เพนนิซิลลินเนส ได้แก่
       -แอมพิซิลลิน(Ampicillin) มีชื่อทางการค้า เช่น แอมเพน
ซิน(Ampexin®) อะมิลิน(Amilin®) แอมแพท(Ampat®) เป็นต้น (
บางบริษทผลิตยาแอมพิซิลลิน ผสมกับคล็อกซาซิลลิน มีชื่อ
          ั
ทางการค้า เช่น แอมปิคล็อก(Ampiclox®) โพลีคล็อก(Polyclox®)
       -อะม็อกซี่ซิลลิล(Amoxicillin) มีชื่อทางการค้า เช่น แอมม็อก
ซี่อินเจค(AMOXI-INJECT®) อะม็อกซี่ (Amoxy®) ไบโอม็
อก(Biomox®) แอมม็อกซิลลิน(Amoxcillin®)
       -เบแคมพิซิลลิน(Bacampicillin)
       -ซัยคลาซิลลิน(Cyclacillin)
201                การใช้ยาต้านจุลชีพ




    ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของ แอมพิซลลิน(Ampicillin)
                                      ิ




  ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของ อะม็อกซี่ซิลลิล(Amoxicillin)
    ٤.١.٤ เพนนิซิลลินที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง ทำาลายเชื้อ
แบคทีเรียแกรมบวกและลบ รวมถึงสามารถทำาลายเชื้อสูโดโม
นาด(Pseudomonas) ได้ด้วย ได้แก่ คาร์เบนิซิล(Carbanicillin)
ไทคาร์ซิลลิน(Ticacillin)




    ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของ ไทคาร์ซลลิน(Ticacillin)
                                       ิ

      ٤.١.٥ เพนนิซิลลินกลุ่มใหม่ ทีมีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง
                                   ่
มาก สามารถทำาลายเชื้อสูโดโมนาด(Pseudomonas) และยัง
สามารถทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ รวมถึงเชื้อเครปซิลลา
(Klebsiella) ได้ด้วย ได้แก่ อะโซซิลลิน(Azlocillin) เมทโคซิล
ลิน(Mezlocillin) พิเปอราซิลลิน(Piperacillin)
      4.2 ยากลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin)
      ยากลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) เป็นยาปฏิชีวนะกึ่ง
สังเคราะห์ สูตรโครงสร้างทางเคมีและการออกฤทธิ์คล้ายกับ
เพนนิซิลลิน สามารถทนต่อเอ็นไซม์เพนนิซิลลินเนสได้ดี มักใช้
รักษาโรคในระบบทางเดินหายใจและทางเดินปัสสาวะ รวมถึงใช้
รักษาเต้านมอักเสบ ยากลุมเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) มี
                         ่
ฤทธิ์ขัดขวางการสร้างผนังเซล(Cell wall) ของแบคทีเรีย ยากลุ่มนี้
จะทำาลายผนังเซลของแบคทีเรีย ทำาให้ผนังเซลแตกและแบคทีเรีย
202                การใช้ยาต้านจุลชีพ



จะตายทันที ยากลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่า
แบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals)
        ยากลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) สามารถแยกย่อยได้
อีกเป็น ٣ กลุ่ม ตามลำาดับการพัฒนาหรือขอบเขตการออกฤทธิ์ที่
เพิ่มขึ้น คือ
        -เจนเนอร์เรชั่นที่ ١(First generation)
        เป็นเซฟาโรสปอรินกลุ่มแรกทีถูกพัฒนาขึ้นมีขอบเขตการออก
                                      ่
ฤทธิ์แคบ สามารถทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกได้ดี ได้แก่ เซฟ
ฟาโรธิน(Cephalothin) เซฟฟาไพลิน(Cephapirin) เซฟฟาโซ
ลิน(Cefazolin) เซฟฟาดีน(Cephradine) เซฟฟาแลก
ซิน(Cephalexin) เซฟฟาดร็อกซิล(Cefadroxil)
        -เจนเนอร์เรชั่นที่ ٢(Second generation)
        เป็นเซฟาโรสปอรินกลุ่มที่ ٢ ทีถูกพัฒนาขึ้น สามารถทำาลาย
                                        ่
เชื้อแบคทีเรียแกรมบวก ได้น้อยกว่าเจนเนอร์เรชั่นที่ ١ แต่ทำาลาย
เชื้อแบคทีเรียแกรมลบได้ดีกว่า ได้แก่ เซฟฟาแมน
โดล(Cefamandole) ซีโฟซิธิน(Cefoxitin) ซีฟโร    ู
ไซม์(Cefuroxime) ซีแฟคเลอร์(Cefaclor)
        -เจนเนอร์เรชั่นที่ ٣(Third generation)
        เป็นเซฟาโรสปอรินกลุ่มที่ ٣ ทีถูกพัฒนาขึ้น มีขอบเขตการ
                                          ่
ออกฤทธิ์กว้างกว่า ٢ กลุมแรก และยังสามารถทำาลายเชื้อสูโดโม
                            ่
นาส(Pseudomonas) ได้ด้วย ได้แก่ ซีโฟแทกไซม์(Cefotaxime)
ม็อกซาแลคแตม(Moxalactam) ซีโฟเพอราโซน(Cefoperazone)
เซฟติซ็อกไซม์(Ceftizoxime) เซฟไทอะโซล(Ceftriaxone) เซฟ
ตาซิดีม(Ceftazidime) เซฟซูโลดีน(Cefsulodine) เซฟเมโน
ไซม์(Cefmenoxime)
        ยากลุ่มเซฟฟาโรสปอริน สูตรโครงสร้างทางเคมีหลักสำาหรับ
ยาแต่ละตัวจะเหมือนกัน ต่างกันเพียงอนุพันธ์ที่มาเกาะด้านข้าง
ของสูตรโครงสร้าง บริเวณ R1 และ R2 เท่านั้น ดังภาพ
203                การใช้ยาต้านจุลชีพ



  ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีหลักของยากลุ่มแซฟฟาโรสปอริน




  ภาพ อนุพันธ์ที่ต่อบริเวณ R1 และ R2 เพื่อเป็นยาชนิดต่าง ๆ

        4.3 ยากลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์(Aminoglycosides)
        ยากลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์(Aminoglycosides) แยกได้จาก
เชื้อสเตรปโตมัยเซส กริสซิอุส(Streptomyces griseus) เป็นกลุ่ม
ทีใช้ได้ผลดีกับเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรูปแท่ง ทำาลายเชื้อ
   ่
แบคทีเรียแกรมบวกได้บ้าง ยากลุมนี้มีพิษสูงต่อไตและเส้นประสาท
                                  ่
ที่เกี่ยวกับการได้ยิน ยากลุ่มอะมิโนกลัยโค
ไซด์(Aminoglycosides) มีผลทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของ
204                การใช้ยาต้านจุลชีพ



แบคทีเรียผิดปกติ โดยยาจะจับกับไรโบโซมชนิด ٣٠เอส(٣٠S) ใน
เซลของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรียเกิดการสร้างโปรตีนที่ผิดปกติ
ทำาให้แบคทีเรียตาย ยากลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์
ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals) ยากลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์
ประกอบด้วยยาหลายตัว ได้แก่ สเตรปโตมัยซิน(Streptomycin)
ไดไฮโดรสเตรปโตมัยซิน(Dihydrostreptomycin) นีโอมัย
ซิน(Neomycin) เจนต้ามัยซิน(Gentamicin) บางบริษท นำาเจนต้า
                                                    ั
มัยซิน ผสมกับแอมม็อซี่ซิลลิน มีชื่อทางการค้า เช่น เจนต้าม็
อก(Gentamox®) กานามัยซิน(Kanamycin) มีชื่อทางการค้า เช่น
กาน่ามัยซิน ซัลเฟต(Kanamycin Sulphate®) อะมิกา
ซิน(Amikacin) โทรบรามัยซิน(Trobramycin) เนทิลมัย
ซิน(Netilmicin) พาโรมัยซิน(Paromycin)




     ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของนีโอมัยซิน(Neomycin)




     ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของอะมิกาซิน(Amikacin)
205                 การใช้ยาต้านจุลชีพ




  ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของโทรบรามัยซิน(Trobramycin)

      4.4 ยากลุ่มอะมิโนไซคริทอล(Aminocyclitol)
      ยากลุ่มอะมิโนไซคริทอล(Aminocyclitol) แยกได้จากเชื้อส
เตรปโตมัยเซส สเปคเตบริส(Streptomyces spectablis) เป็นกลุ่ม
ทีใช้ได้ผลดีกับเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรูปแท่ง ทำาลายเชื้อ
  ่
แบคทีเรียแกรมบวกได้บ้าง ยากลุมนี้มีพิษน้อยกว่ากลุมอมิโนกลัย
                                ่                 ่
โคไซด์(Aminoglycosides)        ยากลุ่มอะมิโนไซคริทอลมีผล
ทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียผิดปกติ โดยยาจะจับกับ
ไรโบโซมชนิด ٣٠เอส(٣٠S) ในเซลของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรีย
เกิดการสร้างโปรตีนที่ผิดปกติ ทำาให้แบคทีเรียตาย ยากลุ่มนี้ จึงจัด
เป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals)
ประกอบด้วยยา ได้แก่ สเปคติโนมัยซิน(Spectinomycin) อพรามัย
ซิน(Apramycin)




ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของสเปคติโนมัยซิน(Spectinomycin)
206                การใช้ยาต้านจุลชีพ




     ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของอพรามัยซิน(Apramycin)
       ٤.٥ ยากลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines)
       ยากลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines) จะขัดขวางการสร้าง
โปรตีนของแบคทีเรีย ยาจะไปยับยั้งการทำางานของไรโบโซมชนิด ٣
٠เอส ที่อยู่ในเซลของแบคทีเรีย ไรโบโซม จะทำาหน้าที่สังเคราะห์
โปรตีน เมื่อไรโบโซมถูกขัดขวางการทำางาน จึงไม่สามารถ
สังเคราะห์โปรตีนได้ ยากลุ่มนี้ จึงไม่มีผลในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
เพียงแต่ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics)
เท่านั้น เต ตร้าซัยคลินมีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง (Broad
spectrum) เตตร้าซัยคลินควรมีสีเหลืองนวล หากเป็นสีนำ้าตาลเข้ม
แสดงว่าเป็นยาเก่าเก็บไม่ควรใช้ เพราะจะเป็นพิษต่อไตมาก
       การแบ่งยากลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines) พิจารณาแบ่ง
ได้เป็น ٢ แบบ คือ
       ٤.٥.١ แบ่งตามการสังเคราะห์
       ٤.٥.٢ แบ่งตามระยะเวลาออกฤทธิ์
       ٤.٥.١ แบ่งตามการสังเคราะห์
       หากแบ่งเตตร้าซัยคลินตามการสังเคราะห์ จะแยกได้เป็น เตต
ร้าซัยคลินจากธรรมชาติ(Natural Tetracyclines) เตตร้าซัยคลินกึ่ง
สังเคราะห์(Semisynthetic Tetracyclines)
            ٤.٥.١.١ เตตร้าซัยคลินจากธรรมชาติ(Natural
       Tetracyclines) ได้แก่
                  -อ็อกซี่เตตร้าซัยคลิน(Oxytetracyclines) ซึ่งแยก
ได้จากเชื้อ สเตรปโตมัยเซส ไรโมซัส(Streptomyces rimosus)
เช่น เททร็อกซี่ แอลเอ(Tetroxy LA®) ลิความัย
ซิน(LIQUAMYCIN®)
207                 การใช้ยาต้านจุลชีพ




                       ภาพ ยาฉีดอ็อกซี่เตตร้าซัยคลิน
                 -คลอเตตร้าซัยคลิน(Chlrotracyclines) ซึ่งแยก
ได้จากเชื้อ สเตรปโตมัยเซส อูรีโอเฟเซียน(Streptomyces
aureofaciens)
            ٤.٥.١.٢ เตตร้าซัยคลินกึ่งสังเคราะห์(Semisynthetic
Tetracyclines) บางส่วนได้จากเชื้อสเปตปโตมัยเซส และอีกบาง
ส่วนใช้สังเคราะห์ขึ้นมา ประกอบด้วย
                 เตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines) มีชื่อทางกรค้า
เช่น อะโครมัยซิน(Achromycin®) ดูโมซัยคลิน(Dumocycline®)
เป็นต้น
                 ด็อกซี่ซัยคลิน(Doxycyclines)
                 เมนทรามัยซิน(Menthacyclines)
                 ไมโนซัยคลิน(Minocyclines)
      ٥.٢..٤ แบ่งตามระยะเวลาออกฤทธิ์
      จะแบ่งได้เป็น ٣ กลุม ได้แก่
                              ่
            ٤.٥.٢.١ กลุมที่ออกฤทธิ์สั้น(Short-acting) ได้แก่
                        ่
                 เตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines)
                 อ็อกซี่เตตร้าซัยคลิน(Oxytetracyclines)
                 คลอเตตร้าซัยคลิน(Chlrotracyclines)
            ٤.٥.٢.٢ กลุมที่ออกฤทธิ์ปานกลาง(Intermediate-
                          ่
acting) ได้แก่
                 เมนทรามัยซิน(Menthacyclines)
            ٤.٥.٢.٣ กลุมที่ออกฤทธิ์นาน(Long-acting) ได้แก่
                            ่
                 ด็อกซี่ซัยคลิน(Doxycycline)
                 ไมโนซัยคลิน(Minocycline)
208                 การใช้ยาต้านจุลชีพ




          ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของกลุ่มเตตร้าซัยค
                        ลิน(Tetracyclines)
      ٤.٦ ยากลุ่มคลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenicol)
      ยากลุ่มคลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenicol) เป็นยาที่ออก
ฤทธิ์กว้าง (Broad spectrum) มีผลขัดขวางการสร้างโปรตีนของ
แบคทีเรีย ยาจะไปยับยั้งการทำางานของไรโบโซม (Ribosomes)
ชนิด ٥٠เอส ที่อยู่ในเซลของแบคทีเรีย เมื่อไรโบโซมถูกขัดขวาง
การทำางาน แบคทีเรียจึงไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนได้ คลอแรม
เฟนิคอลเป็นยาอันตราย เนื่องจากยาจะไปกดการทำางานของ
ไขกระดูกทำาให้เกิดโรคโลหิตจาง ปัจจุบัน ยานี้ห้ามใช้ในสัตว์ที่
ต้องนำาเนื้อ นม หรือไข่มาบริโภคโดยเด็ดขาด ดังนั้น โคกระบือ จึง
ถูกห้ามใช้ยานี้ด้วย




        ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของกลุ่มคลอแรมเฟนิ
                  คอล(Chloramphenicol)
209                  การใช้ยาต้านจุลชีพ




       ٤.٧ ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides)
       ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) เป็นยาทีถูกสังเคราะห์
                                                      ่
ขึ้นมาโดยขบวนการทางเคมี ยานี้ จึงไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ(Antibiotic)
แต่เป็นยาต้านจุลชีพ ซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) ใช้รักษาโรค
ติดเชื้อได้ดีเฉพาะการติดเชื้อที่ไม่รุนแรง และไม่มีหนอง เนื่องจาก
หนองจะยับยั้งฤทธิ์ของซัลโฟนาไมด์
       ซัลโฟนาไมด์มีผลขัดขวางขบวนการเมตาโบริซึม
(Metabolism) ของแบคทีเรีย โดยยาจะไปยับยังขบวนการเมตาโบ
                                                 ้
ริซึม (Metabolism) ของกรดโฟลิกของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรีย
ไม่สามารถเจริญเติบโตหรือแบ่งตัวได้ ยากลุมนี้จึงมีฤทธิ์ยับยังการ
                                             ่               ้
เจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) ยาซัลโฟนาไมด์ จะ
มีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาว ละลายนำ้าได้ไม่ดี แต่ปัจจุบัน ยาซัล
โฟนาไมด์ถูกผลิตออกมาในรูปเกลือโซเดียม จึงละลายนำ้าได้ดีขึ้น
       ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) สามารถแบ่งย่อยได้อีก
เป็น ٤ กลุม ตามคุณสมบัติในการดูดซึมละขับถ่ายของยา ได้แก่
           ่
       ٤.٧.١ ยาที่ดูดซึมได้เร็วและขับถ่ายทางปัสสาวะเร็ว จึงออก
ฤทธิ์สั้น ซึ่งยากลุ่มนีแยกย่อยออกได้เป็น
                       ้
              ٤.٧.١.١ กลุมที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อในร่างกายทัวไป
                         ่                                 ่
ได้แก่ ซัลฟาไดอะซีน(Sulfadiazine) ซัลฟาไธอะ
โซล(Sulfathiazole) ซัลฟาเมทธาซีน(Sulfamethazine) ซัลฟาเม
อราซีน(Sulfamerazine) ซัลฟาเมธอกซา
โซล(Sulfamethoxazole) บางบริษัทนำามาผสมกับไตรเมทโธพริม
มีชื่อทางการค้า เช่น แบคทริม(Bactrim®) ซัลฟาหลายตัวผสมกัน
ได้แก่ ซัลฟาไทแอด(Sulfatriad) ซึ่งก็คือซัลฟาไธอะ
โซล(Sulfathiazole) ซัลฟาไดอะซีน(Sulfadiazine) และ ซัลฟาเม
อราซีน(Sulfamerazine)ผสมกัน ยาซัลฟากลุ่มนี้มีค่าครึ่งชีวิต -٧
٢٠ ชั่วโมง จึงจำาเป็นต้องให้ยาทุก ٦-٤ ชั่วโมง
              ٤.٧.١.٢ กลุมที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
                           ่
ได้แก่ ซัลฟิซอกซาโซล(Sulfisoxazole) ซัลฟาฟูรา
โซล(Sulfafurazole) ซัลฟาโซมิดีน(Sulfasomidine) ซัลฟาเมธา
โซล(Sulfamethazole) ยากลุ่มนี้ มีค่าครึ่งชีวิตสั้น จึงต้องให้ยาทุก
٦-٤ ชั่วโมง แต่ยาละลายได้ดีในปัสสาวะ และสามารถคงอยู่ในรูปที่
210                  การใช้ยาต้านจุลชีพ



ออกฤทธิ์ในทางเดินปัสสาวะ จึงใช้รักษาโรคติดเชื้อของทางเดิน
ปัสสาวะ
       ٤.٧.٢ ยาที่ดูดซึมได้เร็วแต่ขับถ่ายทางปัสสาวะได้ช้า จึงออก
ฤทธิ์นาน ได้แก่ ซัลฟาไดเมธอกซีน(Sulfadimethoxine) ซัลฟาโซ
มิโซล(Sulfasomizole) ซัลฟาเมธอกซีพัยริดา
ซีน(Sulfamethoxypyridazine) บางบริษัท นำาเอาซัลฟาเมธอก
ซีพัยริดาซีนมาผสมรวมกับไตรเมโธพริม(Trimetroprim) และทำา
เป็นก้อนเพื่อสอดเข้ามดลูกรักษาโรคติดเชื้อในมดลูก มีชื่อทางการ
ค้า เช่น แอมโฟรพริม โบลัส(Amphoprim bolus®) ซัลฟาดอก
ซีน(Sulfadoxine) ซัลฟาเมธอกซีไดอะ
ซีน(Sulfamethoxydiazine) ซัลฟาฟีนาโซล(Sulfaphenazole)
ซัลฟาเมธอกซีพัยราซีน(Sulfamethoxypyrazine) ยากลุ่มนี้ มีค่า
ครึ่งชีวิต ٤٠-٣٠ ชั่วโมง จึงสามารถให้ยาวันละ ١ ครั้งก็เพียงพอ
       ٤.٧.٣ ยาที่ดูดซึมได้ไม่ดี ได้แก่ ซัลฟากัวนิดีน
(Sulfaguanidine) ซัคซินิลซัลฟาไธอะ
โซล(Succinylsulfathiazole) ธาราโซล(Thalazole) ยาถูกดูดซึม
เข้าในลำาไส้ไม่ดี จึงใช้รักษาโรคติดเชื้อในลำาไส้ในรูปรับประทาน
       ٤.٧.٤ ยาทีใช้เฉพาะที่ ได้แก่ ซัลฟาเซ
                  ่
ตาไมด์(Sulfacetamide) เมฟิไนด์(Mefinide) ซัลฟาเซ
ตาไมด์(Sulfacetamide) มีประสิทธิภาพในการทำาลายเชื้อตำ่า แต่ก็
ไม่ระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อ จึงใช้รักษาโรคติดเชื้อที่ดวงตา ส่วนใหญ่
จะทำาเป็นยาหยอดตาในรูปขี้ผึ้ง ส่วน เมฟิไนด์(Mefinide) ใช้ทำา
เป็นครีมทารักษาแผลไฟไหม้นำ้าร้อนลวก ป้องกันเชื้อแบคทีเรียที่
ผิวหนัง
       ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) หากใช้ร่วมกับไตร
เมโธพริม(Trimetroprim) จะเสริมฤทธิ์กัน ในการยับยั้งการเจริญ
เติบโตของแบคทีเรีย
211                การใช้ยาต้านจุลชีพ




         ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของยากลุ่มซัลโฟน
                   าไมด์(Sulfonamides)

        ٤.٨ ยากลุ่มมาโคไลด์(Macrolides)
        ยากลุ่มมาโคไลด์(Macrolides) ออกฤทธิ์ได้ดีต่อเชื้อ
แบคทีเรียแกรมบวก และแกรมลบบางชนิด เป็นยากลุมที่ยบยั้งการ
                                                   ่     ั
สร้างโปรตีนของแบคทีเรียโดยไปเกาะที่ ٥٠เอส ของไรโบโซม จึง
มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) แต่ถ้า
ให้ในขนาดสูงจะมีฤทธิ์ทำาลายเชื้อแบคทีเรีย (Bactericidal) ยาก
ลุ่มนี้ ขอบเขตการออกฤทธิ์คล้ายกับเพนนิซิลลินมาก จึงมักใช้ยาก
ลุ่มมาโคไลด์แทนเพนนิซิลลินในกรณีที่มีการแพ้เพนนิซิลลิน ยาก
ลุ่มมาโคไลด์(Macrolides) ได้แก่ อีรีโธรมัยซิน(Erythromycin)
มีชื่อทางการค้า เช่น อีรีซิล(Erysil®) ไลโอโซน(liosone®) ไทโล
ซิน(Tylosin)มีชื่อทางการค้า เช่น ไทแลน(Tylan®) โรซิโธรมัย
ซิน(Roxithromycin) สไปรามัยซิน(Spiramycin) ไมดิคามัย
ซิน(midecamycin)
212                 การใช้ยาต้านจุลชีพ




  ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของอีรีโธรมัยซิน(Erythromycin)




       ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไทโลซิน(Tylosin)

      ٤.٩ ยากลุ่มควิโนโลน(Quinolones)
      ยากลุ่มควิโนโลน(Quinolones) เป็นยาต้านจุลชีพกลุ่มใหม่ที่
ถูกสังเคราะห์ขึ้น โดยพัฒนาโครงสร้างมาจากกรดนาลิดิซิค
(Nalidixic acid) โดยการเพิ่มฟลูออไรด์เข้าไปในสูตรโครงสร้าง
ทำาให้ยากลุ่มนี้ สามารถทำาลายเชื้อแบคทีเรียได้ทั้งแกรมบวกและ
ลบ ยากลุ่มนี้ ทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถสร้างดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่ง
จำาเป็นต่อการเจริญเติบโตและแบ่งตัว ยากลุมนี้จึงมีฤทธิ์ยับยังการ
                                          ่                ้
เจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) ยากลุ่มนี้ ได้แก่
นอร์ฟลอคซาซิน(Norfloxacin) เอ็นโรฟลอคซาซิน(Enrofloxacin)
ดาโนฟลอคซาซิน(Danofloxacin) โอฟลอคซาซิน(Ofloxacin) ไซ
โปรฟลอคซาซิน(Cyplofloxacin) ซีฟลอคซาซิน(Pefloxacin)
213                การใช้ยาต้านจุลชีพ




 ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของนอร์ฟลอคซาซิน(Norfloxacin)




        ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไซโปรฟลอคซา
                    ซิน(Cyplofloxacin)

       4.10 ยากลุ่มโพลีเปปไทด์(Polypeptide)
       ยากลุ่มโพลีเปปไทด์(Polypeptide) ไม่ค่อยเป็นที่นิยมใช้ใน
โคมากนัก ส่วนใหญ่จะใช้ในรูปผสมอาหารเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ในทางเดินอาหาร หรือใช้เฉพาะแห่งเป็นยาทา ยากลุ่มนี้ แยกได้
จากเชื้อบาซิลลัส (Bacillus) ยากลุ่มนี้ เป็นอันตรายต่อสัตว์มาก
ที่สุด เนื่องจากเป็นยาที่ผลต่อเยื่อหุ้มเซล(Cell membrane) ของ
แบคทีเรีย โดยยากลุ่มนี้ จะทำาให้โปรตีนและไอออน รวมถึง
ของเหลวภายในเซลของแบคทีเรีย ไหลออกมานอกเซล ทำาให้
แบคทีเรียตาย และเนื่องจากเซลของสัตว์ ก็มีเยื่อหุ้มเซล (Cell
membrane) เช่นเดียวกัน ยากลุ่มนี้จงเป็นอันตรายต่อสัตว์หากไม่
                                       ึ
ระมัดระวังในการใช้ ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ โพลีมิกซิน บี(Polymyxin
B) โคลิสติน(Colistin) บางบริษัท นำาโคลิสตินผสมกับแอมพิซิลลิน
มีชื่อทางการค้า เช่น พาโคล(Pacol®) แบซิเตรซิน(Bacitracin)
214                การใช้ยาต้านจุลชีพ




        ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของโคลิสติน(Colistin)
      4.11 ยากลุ่มลินโคซาไมด์(Lincosamides)
      ยากลุ่มลินโคซาไมด์(Lincosamides) คุณสมบัติจะเหมือนกับ
กลุ่มมาโคไลด์(Macrolides) แต่โครงสร้างทางเคมีแตกต่างกัน ยา
จะออกฤทธิ์ได้ดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก และแกรมลบบางชนิด
เป็นยากลุ่มทียับยังการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียโดยไปเกาะที่ ٥
              ่   ้
٠เอส ของไรโบโซม จึงมีผลยับยังการเจริญเติบโตของ
                                ้
แบคทีเรีย(Bacteriostatics) แต่ถ้าให้ในขนาดสูงจะมีฤทธิทำาลาย
                                                          ์
เชื้อแบคทีเรีย(Bactericidal) ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ลินโคมัย
ซิน(Lincomycin) คลินดามัยซิน(Clindamycin)




   ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของลินโคมัยซิน(Lincomycin)




  ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของคลินดามัยซิน(Clindamycin)
215                  การใช้ยาต้านจุลชีพ




       4.12 ยากลุ่มอนุพันธ์ของไนโตรฟูแรน(Nitrofuran)
       ยากลุ่มอนุพันธ์ของไนโตรฟูแรน (Nitrofuran) ได้จากการ
สังเคราะห์ขึ้นมา ยาจะละลายนำ้าได้เล็กน้อย ยากลุ่มนี้เป็นได้ทง   ั้
ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) และฆ่าเชื้อ
แบคทีเรีย (Bactericidal) ขึ้นกับความเข้มข้นของยา ยาจะออก
ฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบได้ดีกว่าแกรมบวก แบคทีเรียจะเกิด
การดื้อยายาก แต่หนองและนำ้านมจะทำาให้ฤทธิ์ของยาลดลงเช่น
เดียวกับซัลโฟนาไมด์ ยากลุ่มนี้จะตกค้างในเนื้อ นม ไข่ ในปริมาณ
ที่สูงมาก ปัจจุบัน ยานี้ห้ามใช้ในสัตว์ที่ต้องนำาเนื้อ นม หรือไข่มาบริ
โภคโดยเด็ดขาด ดังนั้น โคกระบือ จึงถูกห้ามใช้ยานี้ด้วย ยากลุ่มนี้
ประกอบด้วย ไนโตรฟูราโซล(Nitrofurazone) ไนโตรฟูแรนโต
อิน(Nitrofurantoin) ฟูราโซริโดน(Furazolidone) ฟูแรนตา
โดน(Furantadone) ไนฟูแรนดีโซล(Nifurandezone)




 ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไนโตรฟูราโซล(Nitrofurazone)




         ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไนโตรฟูแรนโต
                    อิน(Nitrofurantoin)

     4.13 ยาต้านจุลชีพอื่น ๆ
     ปัจจุบัน มียาต้านจุลชีพอีกหลายชนิดที่ถูกผลิตออกมา เพื่อ
ให้ผลในการรักษาเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งเป็นยาที่มีสูตรโครงสร้างทาง
เคมีไม่ใกล้เคียงกับกลุ่มต่าง ๆ ดังได้กล่าวมา จึงจำาเป็นต้องแยก
กล่าวเป็นยาต้านจุลชีพอื่น ๆ ซึ่งได้แก่
     -ไทอะมูลิน(Tiamulin)
216                 การใช้ยาต้านจุลชีพ



       ไทอะมูลิน จัดเป็นยาปฏิชีวนะทีแยกได้จากเชื้อ พูโรตัส มัลติ
                                       ่
ริส(Pleurotus multilis) ออกฤทธิ์ได้ดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก
เชื้อมัยโคพลาสมา(Mycoplasma) และเชื้อแบคทีเรียแกรมลบบาง
ชนิด โดยให้ผลในการยับยั้งการเจริญเติบโต(Bacteriostatics)
       -โนโวไบโอซิน(Novobiocin)
       โนโวไบโอซิน เป็นยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์วงแคบ(Narrow
spectrum) ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก โนโวไบโอซิน ผลิตได้จาก
เชื้อแอคติโนมัยเซส(Actinomyces) ยาทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถ
สร้างดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่งจำาเป็นต่อการเจริญเติบโตและแบ่งตัวของ
แบคทีเรีย ยากลุ่มนี้จึงมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
(Bacteriostatics)
       -แวนโคมัยซิน(Vancomycin)
       แวนโคมัยซิน เป็นยาปฏิชีนะที่ผลิตได้จากเชื้อสเตรปโต
คอคคัส ออเรียนเตรีส(Streptococcus orientalis) ยาจะทำาลาย
ผนังเซลของแบคทีเรีย ทำาให้ผนังเซลแตกและแบคทีเรียจะตาย
ทันที ยานี้ จึงให้ผลในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Bactericidal)




  ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของแวนโคมัยซิน(Vancomycin)

      -ไรแฟมปิน(Rifampin)
      ไรแฟมปิน(Rifampin) จะยับยังการสร้างกรดนิวคลี
                                   ้
อิค(Nucleic acid) ของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถสร้าง
ดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่งจำาเป็นต่อการเจริญเติบโตและแบ่งตัวของ
แบคทีเรีย ยาจึงมีฤทธิ์ยับยังการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
                           ้
(Bacteriostatics)
217                  การใช้ยาต้านจุลชีพ




      ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไรแฟมปิน(Rifampin)

หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
       ในการใช้ยาต้านจุลชีพ จะต้องใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสม จึง
จะเกิดประโยชน์ต่อการรักษา แต่หากใช้ไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกต้อง
การรักษานอกจากจะไม่ประสบผลสำาเร็จ แล้วเชื้อจะเกิดการดื้อยา
ด้วย ซึ่งสาเหตุหลักของเชื้อดื้อยา เกิดได้เนื่องจาก
       ١.การให้ยารักษาในขนาดทีไม่ถูกต้อง
                                   ่
       ٢.ระยะเวลาการให้ยาไม่ถูกต้อง
       ٣.ใช้ยาต้านจุลชีพพรำ่าเพรื่อ หรือใช้ทั้งที่ไม่จำาเป็นต้องใช้
       เพื่อป้องกันปัญหาที่จะทำาให้เกิดเชื้อดื้อยา หรือการรักษาไม่
ประสบผลสำาเร็จ การใช้ยาต้านจุลชีพ จึงมีหลักที่ควรจำาคือ
       ١.ต้องพิจารณาว่า จำาเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพหรือไม่
       บางกรณีไม่จำาเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ เช่น แม่โคมีีปัญหา
ไข้นำ้านมหลังคลอด เพียงแค่ให้แคลเซียมเข้าเส้นเลือด แม่โคก็จะมี
อาการดีขึ้น แต่ผู้รักษาซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรักษาด้วยตัวเอง
มักให้ยาต้านจุลชีพร่วมด้วย ซึ่งเป็นความเคยชิน โดยให้เหตุผลว่า
เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน เป็นความเชื่อที่ผิดไม่ควรทำา
       ٢.หากจะใช้ยาต้านจุลชีพ จะต้องใช้เต็มขนาด(Full dose)
ตามทีกำาหนดไว้
        ่
       โดยปกติ ข้างขวดยาต้านจุลชีพ หรือเอกสารกำากับที่มากับยา
จะบอกขนาดและวิธีใช้อยู่แล้ว จำาเป็นต้องใช้ตามเอกสารที่กำากับมา
อย่างเคร่งครัด อย่าใช้ตามความเคยชิน เนื่องจากยาต้านจุลชีพที่
หลาย ๆ บริษทผลิตออกมาจำาหน่าย เป็นตัวยาเดียวกันแต่มีปริมาณ
               ั
ตัวยาต่อซีซีไม่เท่ากัน
218                  การใช้ยาต้านจุลชีพ



       ٣.ต้องให้ยาซำ้า(Dosage interval) ตามระยะเวลาที่กำาหนด
       ยาต้านจุลชีพบางชนิดต้องฉีดซำ้าทุก ١٢ ชั่วโมง บางชนิดฉีด
ซำ้าทุก ٢٤ หรือ ٤٨ ชั่วโมง ก็ต้องฉีดซำ้า เพื่อให้เชื้อแบคทีเรียถูก
ทำาลาย ไม่หลงเหลือจนสามารถพัฒนาตัวเองถึงขั้นดื้อยาได้ ทังนี้     ้
การให้ยาต้านจุลชีพ จะต้องให้ติดต่อกันจนปริมาณยาในกระแส
เลือดสูงถึงระดับฆ่าเชื้อได้ติดต่อกัน เป็นเวลา ٥-٣ วัน
       ٤.ให้ยาถูกวิธ(Route)
                     ี
       ในการให้ยาต้านจุลชีพ สำาหรับโคกระบือ เอกสารกำากับที่มา
กับยาให้ฉีดเข้าทางใดก็ต้องให้ทางนั้น เช่น ตามเอกสารกำากับยา
กำาหนดให้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ผูรักษาก็จำาเป็นต้องฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
                               ้
หรือตามเอกสารกำากับยากำาหนดให้ฉีดเข้าเส้นเลือดก็ต้องฉีดเข้า
เส้นเลือด อย่าให้ผิดวิธี เนื่องจากหากให้ผิดวิธี การดูดซึมยาจะลด
ลง และปริมาณยาในกระแสเลือดจะไม่สูงพอจนสามารถฆ่าเชื้อได้
       ٥.ไม่ควรเปลี่ยนยาต้านจุลชีพหากไม่มีเหตุผลที่ดีพอ
       หากใช้ยาต้านจุลชีพตัวใดเป็นเวลา ٣ วัน แล้วสัตว์ไม่ตอบ
สนอง จึงค่อยเปลี่ยนยา
       ٦.การใช้ยาต้านจุลชีพร่วมกัน
       หากจำาเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ ٢ ตัว หรือให้ยาต้านจุลชีพ
ร่วมกับยาอื่นก็ตาม จะต้องแยกเข็ม แยกกระบอกฉีด(Syringe) ห้าม
นำายามาผสมกัน เนื่องจากยาบางชนิดอาจทำาปฏิกิริยากันจนเกิดการ
ตกตะกอนหรือเปลี่ยนสภาพ และในการใช้ยาต้านจุลชีพร่วมกัน จะ
ต้องเลือกกลุ่มที่เสริมฤทธิ์กัน เช่น ให้เลือกยาต้านจุลชีพที่ออก
ฤทธิ์ฆาแบคทีเรียโดยตรง(Bactericidals) ٢ ตัวร่วมกัน ห้ามเลือก
        ่
กลุ่มที่หักล้างฤทธิ์กัน คือ ยาตัวหนึ่งฆ่าเชื้อ(Bactericidals) อีกตัว
หนึ่งก็ต้องเป็นยาฆ่าเชื้อ(Bactericidals) หรือตัวหนึ่งยับยั้ง
เชื้อ(Bacteriostatics) อีกตัวหนึ่งก็ต้องยับยั้งเชื้อ(Bacteriostatics)
ห้ามใช้ฆาเชื้อตัวหนึ่ง(Bactericidals) ยับยั้งเชื้อตัว
           ่
หนึ่ง(Bacteriostatics)
       วิธีการให้ยาต้านจุลชีพ
       การจะใช้ยาต้านจุลชีพ ก่อนอื่น จะต้องพิจารณาว่า สัตว์
จำาเป็นต้องได้รับยาต้านจุลชีพหรือไม่ ซึ่งบางกรณี ไม่จำาเป็นต้อง
ให้ยาต้านจุลชีพก็ได้ การพิจารณาว่าสัตว์ต้องได้รับยาต้านจุลชีพ
หรือไม่นั้น พิจารณาจากสัตว์มีการติดเชื้อ หรือสัตว์มีโอกาสติดเชื้อ
219                 การใช้ยาต้านจุลชีพ



ตามมาหากไม่ให้ยาหรือไม่ หากสัตว์มีการติดเชื้อหรือมีโอกาสที่จะ
ติดเชื้อ ก็จำาเป็นที่ผู้รักษาจะต้องให้ยาต้านจุลชีพแก่สัตว์
       ในการใช้ยาต้านจุลชีพในโค ส่วนใหญ่มักให้ด้วยการฉีด ซึ่ง
สะดวกและรวดเร็วกว่าวิธีอื่น ๆ ในการใช้ยาต้านจุลชีพ จะต้องทราบ
นำ้าหนักของสัตว์เสียก่อน เนื่องจากปริมาณยาที่จะให้กับสัตว์จะ
สัมพันธ์โดยตรงกับนำ้าหนักตัวของสัตว์ ซึ่งวิธีการทราบนำ้าหนักของ
สัตว์ ทำาได้โดยการชั่งนำ้าหนัก ดังได้เคยกล่าวมาแล้ว
       จากนั้น พิจารณาว่าสัตว์ต้องได้รับยาเพื่อเข้าไปทำาลายเชื้อ
จุลชีพเร็วขนาดไหน เช่น สัตว์ติดเชื้อแบบเฉียบพลัน ถ้าปริมาณยา
ในกระแสเลือดถึงระดับรักษาช้า สัตว์อาจตายได้ ก็จำาเป็นจะต้องให้
ยาเข้าเส้นเลือด ผู้รักษาจะต้องเลือกใช้ยาชนิดที่ฉีดเข้าเส้นเลือด
ได้ เพื่อระดับยาจะถึงระดับที่ฆาเชื้อทันทีหลังการฉีด หรือหากไม่
                                  ่
เฉียบพลัน สามารถรอได้ ก็เลือกใช้ยาแบบที่ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ซึ่ง
ระดับยาจะสูงพอที่จะสามารถทำาลายเชื้อได้ประมาณ ١ ชั่วโมงหลัง
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
       จากนั้นพิจารณาว่า จะใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มใดหรือตัวใดใน
การรักษา ซึ่งต้องพิจารณา ปัจจัยหลาย ๆ อย่างประกอบกัน คือ
       -สัตว์มีความผิดปกติเพิ่มเติมที่อวัยวะส่วนใดหรือไม่
       ยาต้านจุลชีพบางชนิดมีความเป็นพิษสูงต่อตับ บางชนิดมีพิษ
สูงต่อไต หากสัตว์มีความผิดปกติเพิ่มเติมที่อวัยวะดังกล่าว ก็ควร
เลือกใช้ยากลุมหรือตัวที่ไม่มีพิษต่ออวัยวะดังกล่าว
                ่
       -ช่วงเวลาที่ต้องให้ยาซำ้า
       ยาต้านจุลชีพบางตัวออกฤทธิ์สั้น(Short acting) ต้องให้ทุก ٤
٦- ชั่วโมง ยาต้านจุลชีพบางตัว ออกฤทธิ์ยาวนาน (Long acting)
ให้ทุก ٤٨ ชั่วโมง ผู้รักษาก็พิจารณาดูว่า ควรใช้ยาตัวใด เพราะการ
ที่โคถูกจับฉีดยาบ่อย ๆ โคจะดิ้นรนขัดขืนมาก
       -สัตว์มีปัญหาเกี่ยวกับเม็ดเลือดขาวหรือระบบภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายหรือไม่ หากมีปัญหาก็ควรเลือกใช้ยาที่มฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ
                                                  ี
แบคทีเรีย (bactericidal) หากไม่มีปัญหาด้านภูมิคุ้มกันสามารถ
เลือกใช้ยาที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (bactericidal) หรือมี
ฤทธิ์ยบยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) ตัวใด
       ั
ตัวหนึ่งก็ได้
       -เชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในร่างกายโค สามารถถูกทำาลายด้วยยา
ต้านจุลชีพตัวใด
220                  การใช้ยาต้านจุลชีพ



       การจะทราบว่า เชื้อแบคทีเรียที่ทำาให้โคแสดงอาการป่วยนั้น
สามารถถูกทำาลายด้วยยาต้านจุลชีพตัวใด ทราบได้โดยการเก็บ
ตัวอย่างไปเพาะเชื้อ และตรวจความไวของยาต่อเชื้อ(Sensitivity
test) ซึ่งกว่าผลการตรวจจะออก ใช้เวลาประมาณ ٣ วัน ซึ่งมักจะ
ช้าเกินไป ดังนั้น ในทางปฏิบัติ ผู้รักษาจำาเป็นต้องใช้ประสบการณ์
ว่า โรคหรืออาการป่วยที่สัตว์แสดงให้เห็นนั้น เคยใช้ยาต้านจุลชีพ
ตัวใดแล้วสัตว์นั้นหายป่วย ก็ต้องใช้ยานันไปพลางก่อน หากผ่านไป
                                         ้
٣ วัน อาการไม่ดีขึ้น ค่อยดูจากผลตรวจความไวของยาที่ส่งตรวจ
และเปลียนยา่
       เมื่อเลือกชนิดของยาต้านจุลชีพได้แล้ว ก็จะต้องให้ยาด้วยวิธี
การและปริมาณทีถูกต้อง เข็มและกระบอกฉีดยา(Syringe) ต้อง
                    ่
สะอาดผ่านการฆ่าเชื้อ รายละเอียดของวิธีการให้และปริมาณยา ดู
ได้จากเอกสารกำากับยาที่มากับยานั้น
       เมื่อซื้อยาต้านจุลชีพมาจากร้านขายยา หรือสหกรณ์ ยาต้าน
จุลชีพจะถูกบรรจุอยู่ในขวดแก้ว และขวดแก้ว จะบรรจุอยูในกล่อง ่
อีกชั้นหนึ่ง ซึ่งภายในกล่องจะมีเอกสารกำากับยาแนบมาด้วยเสมอ
เอกสารกำากับยา จะบอกถึง
       ١.ชื่อยา ซึ่งเป็นชื่อทางการค้า
       ٢.ส่วนประกอบ ซึ่งเป็นตัวยาแสดงเป็นชื่อสามัญว่า มีตัวยาอยู่
เท่าไร
       ٣.สรรพคุณในการรักษา ว่าใช้รักษาโรคอะไรได้บาง หรือฆ่า
                                                         ้
เชื้อแบคทีเรียตัวใดได้บ้าง
       ٤.ข้อบ่งใช้ คือใช้ในสัตว์ชนิดใด หรือสัตว์ที่มีอาการผิดปกติ
อย่างไร
       ٥.ขนาดและวิธีใช้ คือให้อย่างไร เช่น ฉีดเข้าเส้นเลือด ฉีด
เข้ากล้ามเนื้อ หรือฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
       ٦.ปริมาณการใช้ ว่าใช้เท่าไรกี่ซีซี แต่ในบางครั้งอาจบอก
เป็นนำ้าหนักยาที่ต้องใช้เป็นมิลลิกรัมต่อนำ้าหนักตัวสัตว์เป็นกิโลกรัม
หรือเป็นปอนด์(١ กิโลกรัม = 2.2 ปอนด์)
       ٧.การหยุดยา คือ หลังจากให้ยาครั้งสุดท้ายแล้ว ต้องไม่ส่ง
โรงฆ่าเป็นเวลากี่วัน หรือหยุดส่งนมเป็นเวลากี่วัน เนื่องจากยาจะ
ตกค้างในเนื้อ และในนำ้านม
       ٨.คำาเตือนหรือข้อแนะนำา คือยาบางชนิดหากวางทิ้งไว้อาจตก
ตะกอน จึงมีคำาเตือนหรือคำาแนะนำา เช่น เขย่าขวดก่อนใช้
221                 การใช้ยาต้านจุลชีพ



      ٩.ผู้ผลิตหรือผู้จำาหน่าย ว่าเป็นบริษัทใด สถานที่ผลิตหรือ
จำาหน่ายอยู่ทใด เพื่อเมื่อมีปัญหาสามารถติดต่อขอคำาแนะนำาหรือ
              ี่
ดำาเนินคดีได้
222           การใช้ยาต้านจุลชีพ




              ภาพ เอกสารกำากับยา
จากตัวอย่างเอกสารกำากับยาข้างต้น
223                 การใช้ยาต้านจุลชีพ



      ชื่อทางการค้าของยาดังกล่าวคือ เจนต้าม็อก
      ส่วนประกอบ ใน ١ ซีซี จะประกอบด้วยแอมม็อกซี่ซิลลิน ไตร
ไฮเดรต ١٥٠ มิลลิกรัม ซึงเทียบเท่ากับแอมม็อกซี่ซิลลิน ١٣٠.٦
                         ่
มิลลิกรัม และประกอบด้วยเจนต้ามัยซิน ٤٠ มิลลิกรัม
      สรรพคุณ ฆ่าเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ
      ข้อบ่งใช้ ใช้ในโค กระบือ สุกร ม้า แพะ แกะ ในโคกระบือใช้
รักษาโรคปอดบวม ท้องเสีย เต้านมอักเสบ มดลูกอักเสบ
      ขนาดและวิธีใช้ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อลึก ๆ โคกระบือ ٤٠-٣٠ ซีซี
ต่อตัวต่อวัน ฯลฯ

      ดังนั้น หากจะใช้ยาดังกล่าว ในการรักษาโรคให้กับโค ก็ต้อง
ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ٤٠ ซีซี ต่อวัน และต้องฉีดติดต่อกันเป็นเวลา ٣
วัน เป็นต้น
      บางกรณี เอกสารกำากับยา จะบอกปริมาณยาที่ต้องใช้เป็น
มิลลิกรัมต่อนำ้าหนักสัตว์เป็นกิโลกรัม หรือบอกเป็นหน่วยสากลต่อ
นำ้าหนักสัตว์เป็นกิโลกรัม ก็จำาเป็นต้องใช้การคำานวณประกอบ
      ตัวอย่างเช่น
      สมมุติเอกสารกำากับยา บอกว่า
      ส่วนประกอบ        ใน ١ ซีซี จะประกอบด้วยอ็อกซี่เตตร้าซัยค
ลิน ٢٠٠ มิลลิกรัม
      ขนาดและวิธีใช้ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ١٥ มิลลิกรัมต่อนำ้าหนัก ١
กิโลกรัม
      สมมติโคที่จะให้ยา มีนำ้าหนัก ٤٠٠ กิโลกรัม ก็คำานวณโดย
เทียบบัญญัติไตรยางค์ธรรมดา คือ
      เริ่มจากคำานวณหาปริมาณยาที่ต้องฉีดให้กับโคเป็นนำ้าหนักยา
มิลลิกรัม
      หากโคมีนำ้าหนัก         ١     กิโลกรัม        จะต้องให้ยา
      ١٥ มิลลิกรัม
               “        400            “                      “
15X400           “
                                         = 6,000
มิลลิกรัม
      จากนั้นปรับนำ้าหนักยาเป็นมิลลิกรัมให้เป็นซีซี
224                   การใช้ยาต้านจุลชีพ



    ฉีดยาเตตร้าซัยคลิน     ٢٠٠ มิลลิกรัม ต้องฉีดปริมาณ          ١
          ซีซี
         “                     1           “                “
1/200            “
               “                   6,000       “                    “
1/200 X 6000       “
                                            =     30 ซีซี
     ดังนั้น จากตัวอย่างที่สมมติ โคดังกล่าวต้องฉีดเตตร้าซัยคลิน
٣٠ ซีซี เป็นต้น

More Related Content

What's hot

การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPTการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPTJetsadakorn Luangmanee
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561Utai Sukviwatsirikul
 
NeoBio® คือคำตอบที่ท้า ทายด้านสาธารณสุข
NeoBio® คือคำตอบที่ท้า ทายด้านสาธารณสุขNeoBio® คือคำตอบที่ท้า ทายด้านสาธารณสุข
NeoBio® คือคำตอบที่ท้า ทายด้านสาธารณสุขTrading Green Ltd.
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.peter dontoom
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยkasetpcc
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอheronana
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า Utai Sukviwatsirikul
 
Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไรUrai1961
 
Intro to sci_2554
Intro to sci_2554Intro to sci_2554
Intro to sci_2554adriamycin
 

What's hot (18)

การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPTการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
 
NeoBio® คือคำตอบที่ท้า ทายด้านสาธารณสุข
NeoBio® คือคำตอบที่ท้า ทายด้านสาธารณสุขNeoBio® คือคำตอบที่ท้า ทายด้านสาธารณสุข
NeoBio® คือคำตอบที่ท้า ทายด้านสาธารณสุข
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
 
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่มอีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอ
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไร
 
โรคผลเน่าของมังคุด
โรคผลเน่าของมังคุดโรคผลเน่าของมังคุด
โรคผลเน่าของมังคุด
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Intro to sci_2554
Intro to sci_2554Intro to sci_2554
Intro to sci_2554
 

Similar to K 5

การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.pptBewwyKh1
 
ทำความรู้จัก ยาเคมีบำบัด
ทำความรู้จัก ยาเคมีบำบัดทำความรู้จัก ยาเคมีบำบัด
ทำความรู้จัก ยาเคมีบำบัดthaweesak mahan
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)pitsanu duangkartok
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
006-07-2565 บทความ Novel tetracy006-07-2565 บทความ Novel tetracycline.pdf006-...
006-07-2565 บทความ Novel tetracy006-07-2565 บทความ Novel tetracycline.pdf006-...006-07-2565 บทความ Novel tetracy006-07-2565 บทความ Novel tetracycline.pdf006-...
006-07-2565 บทความ Novel tetracy006-07-2565 บทความ Novel tetracycline.pdf006-...SomchaiPt
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Choom' B't
 

Similar to K 5 (11)

การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพหลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
 
6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt
 
ทำความรู้จัก ยาเคมีบำบัด
ทำความรู้จัก ยาเคมีบำบัดทำความรู้จัก ยาเคมีบำบัด
ทำความรู้จัก ยาเคมีบำบัด
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
Tf plus
Tf plus Tf plus
Tf plus
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
006-07-2565 บทความ Novel tetracy006-07-2565 บทความ Novel tetracycline.pdf006-...
006-07-2565 บทความ Novel tetracy006-07-2565 บทความ Novel tetracycline.pdf006-...006-07-2565 บทความ Novel tetracy006-07-2565 บทความ Novel tetracycline.pdf006-...
006-07-2565 บทความ Novel tetracy006-07-2565 บทความ Novel tetracycline.pdf006-...
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2
 

K 5

  • 1. 191 การใช้ยาต้านจุลชีพ การใช้ยาต้านจุลชีพ ยาต้านจุลชีพ(Antimicrobial drugs) หมายถึงสารประกอบ เคมีที่ได้จากธรรมชาติ เช่น จากเชื้อรา หรือจากการสังเคราะห์ขึ้น มา ซึ่งยานี้จะมีผลไปทำาลายหรือต่อต้านเชื้อจุลชีพชนิดอื่น ๆ ยาปฏิชีวนะ(Antibiotic) หมายถึง สารประกอบเคมีที่ได้จาก เชื้อจุลชีพบางชนิดและมีผลยับยังหรือทำาลายเชื้อจุลชีพอื่น เมื่อใช้ ้ ในขนาดความเข้มข้นตำ่า ยาต้านจุลชีพกึ่งสังเคราะห์ (Semi-synthetic antimicrobial agents) หมายถึง ยาต้านจุลชีพ ที่มบางส่วนของโมเลกุลแยกได้ ี จากเชื้อจุลชีพชนิดใดชนิดหนึ่ง และส่วนที่เหลือของโมเลกุล ได้ จากการสังเคราะห์ทางเคมี จากคำาจัดกัดความข้างต้น สรุปได้วา ยาที่ใช้ทำาลายเชื้อ ่ จุลชีพนั้นหากเป็นยาปฏิชีวนะ(Antibiotic) จะต้องได้มาจากเชื้อ จุลชีพ แต่หากเป็นยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial agents) อาจได้ จากการสังเคราะห์ขึ้นมาบางส่วน หรือทั้งหมดก็ได้ ยาต้านจุลชีพ เป็นชื่อที่ใช้เรียกรวม ๆ ซึ่งรวมถึงยาปฏิชีวนะด้วย ยาต้านจุลชีพ ภาษาชาวบ้านเรียกว่า ยาแก้อักเสบ ภาพ ยาปฏิชีวนะชนิดต่าง ๆ การแบ่งประเภทของยาต้านจุลชีพ(Classification of antimicrobial drugs) ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) สามารถจัดแบ่งเป็นก ลุ่ม ๆ ได้ ٤ แบบ คือ ١.แบ่งตามฤทธิ์ของยาต่อเชื้อจุลชีพ(Classification on antimicrobial action)
  • 2. 192 การใช้ยาต้านจุลชีพ ٢.แบ่งตามขอบเขตการออฤทธิ์ของยา(Classification on antimicrobial spectrum) ٣.แบ่งตามกลไกการออกฤทธิ์ของยา(Classification on mechanism of action) ٤.แบ่งตามสูตรโครงสร้างทางเคมีของยา(Classification on chemical structure) ١.แบ่งตามฤทธิ์ของยาต่อเชื้อจุลชีพ(Classification on antimicrobial action) หากแบ่งยาต้านจุลชีพ(Antimicrobial agents) ตามฤทธิ์ต่อ เชื้อจุลชีพ จะสามารถแบ่งย่อยได้เป็น ٢ กลุม คือ ่ ١.١ ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆาแบคทีเรีย ่ โดยตรง(Bactericidals) ١.٢ ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยบยั้งการเจริญเติบโตของ ั แบคทีเรีย(Bacteriostatics) ١.١ ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรีย โดยตรง(Bactericidals) ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง(Bactericidals) ยากลุ่มนี้ มักออกฤทธิ์ คือ -ขัดขวางการสร้างผนังเซล (Cell wall) ของเชื้อแบคทีเรีย -ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เยื่อหุ้มเซล (Cytoplasmic membrane, Cell membrane) ของแบคทีเรีย -ขัดขวางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย ยากลุ่มนี้ จะมีผลต่อเชื้อแบคทีเรียที่กำาลังเจริญเติบโตหรือ กำาลังแบ่งตัว ยากลุ่มนี้ ได้แก่ กลุ่มเพนนิซิลลิน (Penicillin) กลุม ่ เซฟาโลสปอริน (Cephalosporin) แวนโคมัยซิน (Vancomycin) กลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์ (Aminoglycoside) โพลีมิกซิน (Polymyxin) ١.٢ ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ แบคทีเรีย(Bacteriostatics) ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยับยังการเจริญเติบโตของ ้ แบคทีเรีย(Bacteriostatics) ยากลุ่มนี้ มักออกฤทธิ์ขัดขวางการ สร้างโปรตีนของแบคทีเรีย ยากลุ่มนี้ ได้แก่ คลอแรมเฟนิคอล
  • 3. 193 การใช้ยาต้านจุลชีพ (Cholramphenical) กลุมเตตร้าซัยคลิน (Tetracyclines) กลุ่มซัล ่ โฟนาไมด์ (Sulfonamide) คลินดามัยซิน (Clindamycin) อีรีโทร มัยซิน (Erythromycin) สไปรามัยซิน (Spiramycin) การแบ่งยาต้านจุลชีพตามคุณสมบัติของยานี้ อาจไม่ถูกต้อง นัก เนื่องจากยาบางตัว เช่น อีรีโธมัยซิน และ โนโวไบโอซิน หาก ใช้ความเข้มข้นตำ่า จะมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย แต่ หากใช้ความเข้มข้นสูง จะออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง จึงทำาให้ ยาดังกล่าว จัดอยู่ได้ทั้ง ٢ กลุ่ม แต่การแบ่งยาต้านจุลชีพวิธีนี้ ให้ ประโยชน์ในกรณีใช้ยาต้านจุลชีพร่วมกัน ٢ ชนิด คือ หากใช้ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง ٢ ชนิด ร่วมกัน เช่น ให้เพนนิซิลลิน และ แวนโคมัยซิน ยาจะเสริมฤทธิ์กัน หากใช้ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยับยังการเจริญเติบโตของ ้ แบคทีเรีย ٢ ชนิดร่วมกัน เช่น เต ตร้าซัยคลิน และ ซัลโฟนาไมด์ จะไม่ทำาให้ฤทธิ์ของยาเพิ่มขึ้นหรือลดลงแต่อย่างใด แต่หากใช้ยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรงร่วม กับยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ยับยังการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ้ เช่น เพนนิซิลลิน ร่วมกับ เตตร้าซัยคลิน จะทำาให้ฤทธิ์ของยาลดลง คือต้านฤทธิ์กัน ٢.แบ่งตามขอบเขตการออฤทธิ์ของยา(Classification on antimicrobial spectrum) หากแบ่งยาต้านจุลชีพ(Antimicrobial agents) ตามขอบเขต การออฤทธิ์ (Classification on antimicrobial spectrum) จะ สามารถแบ่งย่อยได้เป็น ٣ กลุ่ม คือ ٢.١ กลุมที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ(Narrow spectrum) ่ ٢.٢ กลุมที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์ปานกลาง(Intermediate ่ spectrum) ٢.٣ กลุมที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง(Broad spectrum) ่ ٢.١ กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ(Narrow spectrum) กลุ่มที่มีของเขตการออกฤทธิ์แคบ(Narrow spectrum) ได้แก่ ยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรีย แกรมบวก ทังที่เป็นรูปกลมและ ้ รูปแท่ง เช่น กลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillin) ลินโคมัย ซิน(Lincomycin) แวนโคมัยซิน(Vancomycin) เบซิเตร
  • 4. 194 การใช้ยาต้านจุลชีพ ซิน(Bacitracin) กลุ่มมาโคไลด์(Macrolide) กลุ่มอะมิโนกลัยโค ไซด์(Aminogylcoside) โพลีมิกซิน(Polymyxin) ٢.٢ กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์ปาน กลาง(Intermediate spectrum) กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์ปานกลาง(Intermediate spectrum) ได้แก่ ยาที่ออกฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแก รมลบบางชนิด เช่น กลุ่มเซฟาโลสปอริน(Cepharosporin) บางตัว ٢.٣ กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง(Broad spectrum) กลุ่มที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง(Broad spectrum) ได้แก่ ยาที่ออกฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกรูปกลมและแกรมลบรูป แท่ง เช่น แอมพิซิลลิน(Ampicillin) คาร์เบนิซลลิน(Cabanicliiln) ิ กลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) กลุ่มเตตร้าซัยค ลิน(Tetracyclines) คลอแรมเฟนิคอล(Chloramphaniclo) ยาใน กลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamide) ٣.แบ่งตามกลไกการออฤทธิ์ของยา(Classification on mechanism of action) หากแบ่งยาต้านจุลชีพ(Antimicrobial agents) ตามกลไก การออกฤทธิ์ (Classification on mechanism of action) จะ สามารถแบ่งย่อยได้เป็น ٦ กลุ่ม คือ ٣.١ กลุมที่มฤทธิ์ขัดขวางการสร้างผนังเซล(Cell wall) ของ ่ ี แบคทีเรีย ٣.٢ กลุมที่มีผลต่อเยื่อหุ้มเซล(Cell membrane) ของ ่ แบคทีเรีย ٣.٣ กลุมที่มีผลขัดขวางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย ่ ٣.٤ กลุมที่มีผลทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียผิด ่ ปกติ ٣.٥ กลุมที่มีผลยับยังการสร้างกรดนิวคลีอิค(Nucleic acid) ่ ้ ของแบคทีเรีย ٣.٦ กลุมที่มีผลขัดขวางขบวนการเมตาโบริซึม ่ (Metabolism) ของแบคทีเรีย
  • 5. 195 การใช้ยาต้านจุลชีพ ٣.١ กลุ่มที่มีฤทธิ์ขัดขวางการสร้างผนังเซล(Cell wall) ของแบคทีเรีย ผนังเซลของแบคทีเรีย จะเป็นส่วนที่อยู่ชั้นนอกสุดของเซล มี ลักษณะแข็งและเป็นรู ใช้ป้องกันอันตรายจากภายนอก รวมทั้ง ป้องกันเซลเมมเบรน(Cell membrane) ของบวมแตก ส่วนประกอบ ของผนังเซลระหว่างแบคทีเรียแกรมบวกและลบจะต่างกัน แบคทีเรียแกรมลบจะมีผนังเซลซับซ้อนกว่าของแบคทีเรียแกรม บวก ผนังเซลของแบคทีเรียแกรมลบจึงแข็งแรงกว่าและถูกทำาลาย ด้วยยาต้านจุลชีพยากกว่า ภาพ ผนังเซลของแบคทีเรียแกรมบวก ภาพ ผนังเซลของแบคทีเรียแกรมลบ ยากลุ่มที่มฤทธิ์ขัดขวางการสร้างผนังเซล(Cell wall) ของ ี แบคทีเรีย ยากลุ่มนี้จะทำาลายผนังเซลของแบคทีเรีย ทำาให้ผนัง เซลแตกและแบคทีเรียจะตายทันที ยากลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้าน จุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals) ยากลุ่มนีมี ้ ความปลอดภัยสูงเนื่องจากเซลของสัตว์ชั้นสูงทั่วไปไม่มีผนังเซล ยากลุ่มนี้ ได้แก่ กลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillin) กลุ่มเซฟฟาโลสปอ ริน(Cephalosporin) แวนโคมัยซิน(Vancomycin) เบซิเตร ซิน(Bacitracin)
  • 6. 196 การใช้ยาต้านจุลชีพ ٣.٢ กลุ่มที่มีผลต่อเยื่อหุ้มเซล(Cell membrane) ของ แบคทีเรีย เยื่อหุ้มเซล(Cell membrane, Cytoplasmic membrane) ของแบคทีเรีย เป็นชั้นที่อยูถัดเข้าไปจากผนังเซล เป็นชั้นที่ ่ ประกอบไปด้วยโปรตีนและไขมัน หน้าที่หลักของเยื่อหุ้มเซลของ แบคทีเรีย คือ ควบคุมส่วนประกอบภายในเซล เป็นตัวขวางกันการ ซึมออกของสารที่มนำ้าหนักโมเลกุลตำ่า เช่น กรดอะมิโน และไอออ ี นอนินทรีย์ (Inorganic ion) ยากลุ่มที่มีผลต่อเยื่อหุ้มเซล(Cell membrane) ของ แบคทีเรีย ยากลุ่มนี้ จะทำาให้โปรตีนและไอออน รวมถึงของเหลว ภายในเซลของแบคทีเรีย ไหลออกมานอกเซล ทำาให้แบคทีเรีย ตายในที่สุด ยากลุ่มนี้ มีพิษมากที่สุด เนื่องจากเซลของสัตว์ก็มีเยื่อ หุ้มเซล (Cell membrane) เช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากคุณสมบัติ ของเยื่อหุ้มเซลของสัตว์และของแบคทีเรียแตกต่างกัน ยาจึงมีผล ทำาลายเยื่อหุ้มเซลของแบคทีเรียมากกว่าทำาลายเยื่อหุ้มเซลของ สัตว์ ยากลุมนี้ ได้แก่ โพลีมิกซิน(Polymyxin) โค ลิสติ ่ น(Colistin) แอมโฟเทอริซิน บี(Amphotericin B) ٣.٣ กลุ่มที่มีผลขัดขวางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย กลุ่มที่มีผลขัดขวางการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย ยาจะไป ยับยั้งการทำางานของไรโบโซม(Ribosomes) ทีอยู่ในเซลของ ่ แบคทีเรีย ไรโบโซม จะทำาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน เมื่อไรโบโซม ถูกขัดขวางการทำางาน จึงไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนได้ ยากลุ่มนี้ จึงไม่มีผลในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เพียงแต่ยบยั้งการเจริญเติบโต ั ของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) เท่านั้น จำาเป็นต้องใช้ภูมิ ต้านทานของร่างกายในการทำาลายแบคทีเรียที่เหลืออยู่ ยากลุ่มนี้ แบ่งย่อยได้อีกเป็น ٢ กลุ่ม คือ ٣.٣.١ กลุมที่ขัดขวางการทำางานของไรโบโซมชนิด ٥٠เอส ่ (50S) ได้แก่ คลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenical) คลินดามัย ซิน(Clindamycin) อีรีโธมัยซิน(Erythromycin) ٣.٣.٢ กลุมที่ขัดขวางการทำางานของไรโบโซมชนิด ٣٠เอส ่ (30S) ได้แก่ กลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracycline)
  • 7. 197 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ การสร้างโปรตีน ٣.٤ กลุ่มที่มีผลทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของ แบคทีเรียผิดปกติ กลุ่มที่มีผลทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียผิดปกติ โดยยาจะจับกับไรโบโซมชนิด ٣٠เอส(٣٠S) ในเซลของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรียเกิดการสร้างโปรตีนที่ผิดปกติ ทำาให้แบคทีเรียตาย ยากลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals) ยากลุ่มนี้ ได้แก่ สเปคติโนมัย ซิน(Spectinomycin) สเตรปโตมัยซิน(Streptomycin) กาน่ามัย ซิน(Kanamycin) นีโอมัยซิน(Neomycin) เจนตามัย ซิน(Gentamycin) ٣.٥ กลุ่มที่มีผลยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิค(Nucleic acid) ของแบคทีเรีย กลุ่มที่มีผลยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิค(Nucleic acid) ของ แบคทีเรีย ยากลุ่มนี้ ทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถสร้างดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่งจำาเป็นต่อการเจริญเติบโตและแบ่งตัวของแบคทีเรีย ยากลุ่มนี้จึงมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) ยากลุ่มนี้ ได้แก่ ไรแฟมปิน(Rifampin) เมโทรนิ ดาโซล กลุมควิโนโลน(Quinolone) ่ ٣.٦ กลุ่มที่มีผลขัดขวางขบวนการเมตาโบริซึม (Metabolism) ของแบคทีเรีย
  • 8. 198 การใช้ยาต้านจุลชีพ กลุ่มที่มีผลขัดขวางขบวนการเมตาโบริซึม (Metabolism) ของแบคทีเรีย ยาจะไปยับยั้งขบวนการเมตาโบริซึม (Metabolism) ของกรดโฟลิกของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถเจริญ เติบโตหรือแบ่งตัวได้ ยากลุ่มนี้จึงมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ แบคทีเรีย (Bacteriostatics) ยากลุ่มนี้ ได้แก่ กลุ่มซัลโฟนาไมด์(S ulfonamide) ไตรเมโทพริม(Trimetroprim) ٤.แบ่งตามสูตรโครงสร้างทางเคมีของยา(Classification on chemical structure) หากแบ่งยาต้านจุลชีพตามสูตรโครงสร้างทางเคมีของ ยา(Classification on chemical structure) สามารถแบ่งย่อยได้ เป็น ١٣ กลุ่ม คือ 4.1 ยากลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillins) 4.2 ยากลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) 4.3 ยากลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์(Aminoglycosides) 4.4 ยากลุ่มอะมิโนไซคริทอล(Aminocyclitol) ٤.٥ ยากลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines) ٤.٦ ยากลุ่มคลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenicol) ٤.٧ ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) ٤.٨ ยากลุ่มมาโคไลด์(Macrolides) ٤.٩ ยากลุ่มควิโนโลน(Quinolones) 4.10 ยากลุ่มโพลีเปปไทด์(Polypeptide) 4.11 ยากลุ่มลินโคซาไมด์(Lincosamides) 4.12 ยากลุ่มอนุพันธ์ของไนโตรฟูแรน(Nitrofuran) 4.13 ยาต้านจุลชีพอื่น ๆ 4.1 ยากลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillins) ยากลุ่มเพนนิซิลลิน(Penicillins) เป็นยาปฏิชีวนะ(Antibiotic) ทีใช้กันมากว่า ٥٠ ปี สกัดได้จากเชื้อราเพนนิซิล ่ เลียม(Penicillium) ยากลุ่มเพนนิซิลลิน มีฤทธิ์ขัดขวางการสร้าง ผนังเซล(Cell wall) ของแบคทีเรีย ยากลุ่มนี้จะทำาลายผนังเซล ของแบคทีเรีย ทำาให้ผนังเซลแตกและแบคทีเรียจะตายทันที ยาก ลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals) ยากลุ่มนี้ จะมีผลต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก มากกว่าแกรมลบ เนื่องจากองค์ประกอบของผนังเซลของเชื้อ แบคทีเรียแกรมบวกอ่อนแอกว่าแบคทีเรียแกรมลบ เชื้อแบคทีเรีย
  • 9. 199 การใช้ยาต้านจุลชีพ สามารถดื้อต่อยากลุ่มเพนนิซิลลินได้โดยเชื้อจะสร้างเอ็นไซม์ เพนนิซิลลินเนส(Penicillinase) ขึ้นมาทำาลายยา ยากลุ่มเพนนิซิลลิน สามารถแบ่งย่อยอีกเป็น ٥ กลุม ตาม ่ ความสามารถในการทำาลายเชื้อแบคทีเรีย คือ ٤.١.١ เพนนิซิลลินที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ สามารถ ทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก และตัวยาเองก็ถูกทำาลายด้วยเอ็น ไซม์เพนนิซิลลินเนส ได้แก่ เพนนิซิลลิน จี และเพนนิซิลลิน วี -เพนนิซิลลิน จี(Penicillin G, Benzyl penicillin) แยก ย่อยได้อีกเป็น ٣ ชนิด คือ เพนนิซิลลินชนิดละลายนำ้า(Aqueous penicillin G) ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเข้าเส้นเลือด ,โปรเคน เพนนิซิลลิน(Procaine penicillin G) ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อเท่านั้น , เบนซาธีนเพนนิซิลลิน(Benzathine penicillin) ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เท่านั้น -เพนนิซิลลิน วี(Penicillin V, Phenoxy methyl penicillin) เป็นเพนนิซิลลินที่ทนต่อกรดในกระเพาะอาหาร จึงถูก ผลิตออกมาใช้ในรูปของการรับประทานในโคจึงไม่นยมใช้ มีชื่อ ิ ทางการค้าเช่น เพนวี (Pen-V ) แอตแลนติก(Atlantic®) เป็นต้น ® ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของเพนนิซิลลิน จี ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของเพนนิซิลลิน วี ٤.١.٢ เพนนิซิลลินที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์แคบ สามารถ ทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก แต่ตัวยาไม่ถูกทำาลายด้วยเอ็นไซม์ เพนนิซิลลินเนส ได้แก่ เมธิซิลลิน (Methicillin) เนพซิล ลิน(Nafcillin) ออกซาซิลลิน(Oxacillin) คล็อกซาซิลลิน (Cloxacillin) ไดคล็อกซาซิลลิน(Dicloxacillin) ฟล็อกซาซิล ลิน(Floxacillin)
  • 10. 200 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของเมธิซิลลิน (Methicillin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของเนพซิลลิน(Nafcillin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของออกซาซิลลิน(Oxacillin) ٤.١.٣ เพนนิซิลลินที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง สามารถ ทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ แต่ตัวยาถูกทำาลาย ด้วยเอ็นไซม์เพนนิซิลลินเนส ได้แก่ -แอมพิซิลลิน(Ampicillin) มีชื่อทางการค้า เช่น แอมเพน ซิน(Ampexin®) อะมิลิน(Amilin®) แอมแพท(Ampat®) เป็นต้น ( บางบริษทผลิตยาแอมพิซิลลิน ผสมกับคล็อกซาซิลลิน มีชื่อ ั ทางการค้า เช่น แอมปิคล็อก(Ampiclox®) โพลีคล็อก(Polyclox®) -อะม็อกซี่ซิลลิล(Amoxicillin) มีชื่อทางการค้า เช่น แอมม็อก ซี่อินเจค(AMOXI-INJECT®) อะม็อกซี่ (Amoxy®) ไบโอม็ อก(Biomox®) แอมม็อกซิลลิน(Amoxcillin®) -เบแคมพิซิลลิน(Bacampicillin) -ซัยคลาซิลลิน(Cyclacillin)
  • 11. 201 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของ แอมพิซลลิน(Ampicillin) ิ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของ อะม็อกซี่ซิลลิล(Amoxicillin) ٤.١.٤ เพนนิซิลลินที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง ทำาลายเชื้อ แบคทีเรียแกรมบวกและลบ รวมถึงสามารถทำาลายเชื้อสูโดโม นาด(Pseudomonas) ได้ด้วย ได้แก่ คาร์เบนิซิล(Carbanicillin) ไทคาร์ซิลลิน(Ticacillin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของ ไทคาร์ซลลิน(Ticacillin) ิ ٤.١.٥ เพนนิซิลลินกลุ่มใหม่ ทีมีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง ่ มาก สามารถทำาลายเชื้อสูโดโมนาด(Pseudomonas) และยัง สามารถทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ รวมถึงเชื้อเครปซิลลา (Klebsiella) ได้ด้วย ได้แก่ อะโซซิลลิน(Azlocillin) เมทโคซิล ลิน(Mezlocillin) พิเปอราซิลลิน(Piperacillin) 4.2 ยากลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) ยากลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) เป็นยาปฏิชีวนะกึ่ง สังเคราะห์ สูตรโครงสร้างทางเคมีและการออกฤทธิ์คล้ายกับ เพนนิซิลลิน สามารถทนต่อเอ็นไซม์เพนนิซิลลินเนสได้ดี มักใช้ รักษาโรคในระบบทางเดินหายใจและทางเดินปัสสาวะ รวมถึงใช้ รักษาเต้านมอักเสบ ยากลุมเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) มี ่ ฤทธิ์ขัดขวางการสร้างผนังเซล(Cell wall) ของแบคทีเรีย ยากลุ่มนี้ จะทำาลายผนังเซลของแบคทีเรีย ทำาให้ผนังเซลแตกและแบคทีเรีย
  • 12. 202 การใช้ยาต้านจุลชีพ จะตายทันที ยากลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่า แบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals) ยากลุ่มเซฟาโรสปอริน(Cephalosporin) สามารถแยกย่อยได้ อีกเป็น ٣ กลุ่ม ตามลำาดับการพัฒนาหรือขอบเขตการออกฤทธิ์ที่ เพิ่มขึ้น คือ -เจนเนอร์เรชั่นที่ ١(First generation) เป็นเซฟาโรสปอรินกลุ่มแรกทีถูกพัฒนาขึ้นมีขอบเขตการออก ่ ฤทธิ์แคบ สามารถทำาลายเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกได้ดี ได้แก่ เซฟ ฟาโรธิน(Cephalothin) เซฟฟาไพลิน(Cephapirin) เซฟฟาโซ ลิน(Cefazolin) เซฟฟาดีน(Cephradine) เซฟฟาแลก ซิน(Cephalexin) เซฟฟาดร็อกซิล(Cefadroxil) -เจนเนอร์เรชั่นที่ ٢(Second generation) เป็นเซฟาโรสปอรินกลุ่มที่ ٢ ทีถูกพัฒนาขึ้น สามารถทำาลาย ่ เชื้อแบคทีเรียแกรมบวก ได้น้อยกว่าเจนเนอร์เรชั่นที่ ١ แต่ทำาลาย เชื้อแบคทีเรียแกรมลบได้ดีกว่า ได้แก่ เซฟฟาแมน โดล(Cefamandole) ซีโฟซิธิน(Cefoxitin) ซีฟโร ู ไซม์(Cefuroxime) ซีแฟคเลอร์(Cefaclor) -เจนเนอร์เรชั่นที่ ٣(Third generation) เป็นเซฟาโรสปอรินกลุ่มที่ ٣ ทีถูกพัฒนาขึ้น มีขอบเขตการ ่ ออกฤทธิ์กว้างกว่า ٢ กลุมแรก และยังสามารถทำาลายเชื้อสูโดโม ่ นาส(Pseudomonas) ได้ด้วย ได้แก่ ซีโฟแทกไซม์(Cefotaxime) ม็อกซาแลคแตม(Moxalactam) ซีโฟเพอราโซน(Cefoperazone) เซฟติซ็อกไซม์(Ceftizoxime) เซฟไทอะโซล(Ceftriaxone) เซฟ ตาซิดีม(Ceftazidime) เซฟซูโลดีน(Cefsulodine) เซฟเมโน ไซม์(Cefmenoxime) ยากลุ่มเซฟฟาโรสปอริน สูตรโครงสร้างทางเคมีหลักสำาหรับ ยาแต่ละตัวจะเหมือนกัน ต่างกันเพียงอนุพันธ์ที่มาเกาะด้านข้าง ของสูตรโครงสร้าง บริเวณ R1 และ R2 เท่านั้น ดังภาพ
  • 13. 203 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีหลักของยากลุ่มแซฟฟาโรสปอริน ภาพ อนุพันธ์ที่ต่อบริเวณ R1 และ R2 เพื่อเป็นยาชนิดต่าง ๆ 4.3 ยากลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์(Aminoglycosides) ยากลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์(Aminoglycosides) แยกได้จาก เชื้อสเตรปโตมัยเซส กริสซิอุส(Streptomyces griseus) เป็นกลุ่ม ทีใช้ได้ผลดีกับเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรูปแท่ง ทำาลายเชื้อ ่ แบคทีเรียแกรมบวกได้บ้าง ยากลุมนี้มีพิษสูงต่อไตและเส้นประสาท ่ ที่เกี่ยวกับการได้ยิน ยากลุ่มอะมิโนกลัยโค ไซด์(Aminoglycosides) มีผลทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของ
  • 14. 204 การใช้ยาต้านจุลชีพ แบคทีเรียผิดปกติ โดยยาจะจับกับไรโบโซมชนิด ٣٠เอส(٣٠S) ใน เซลของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรียเกิดการสร้างโปรตีนที่ผิดปกติ ทำาให้แบคทีเรียตาย ยากลุ่มนี้ จึงจัดเป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals) ยากลุ่มอะมิโนกลัยโคไซด์ ประกอบด้วยยาหลายตัว ได้แก่ สเตรปโตมัยซิน(Streptomycin) ไดไฮโดรสเตรปโตมัยซิน(Dihydrostreptomycin) นีโอมัย ซิน(Neomycin) เจนต้ามัยซิน(Gentamicin) บางบริษท นำาเจนต้า ั มัยซิน ผสมกับแอมม็อซี่ซิลลิน มีชื่อทางการค้า เช่น เจนต้าม็ อก(Gentamox®) กานามัยซิน(Kanamycin) มีชื่อทางการค้า เช่น กาน่ามัยซิน ซัลเฟต(Kanamycin Sulphate®) อะมิกา ซิน(Amikacin) โทรบรามัยซิน(Trobramycin) เนทิลมัย ซิน(Netilmicin) พาโรมัยซิน(Paromycin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของนีโอมัยซิน(Neomycin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของอะมิกาซิน(Amikacin)
  • 15. 205 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของโทรบรามัยซิน(Trobramycin) 4.4 ยากลุ่มอะมิโนไซคริทอล(Aminocyclitol) ยากลุ่มอะมิโนไซคริทอล(Aminocyclitol) แยกได้จากเชื้อส เตรปโตมัยเซส สเปคเตบริส(Streptomyces spectablis) เป็นกลุ่ม ทีใช้ได้ผลดีกับเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรูปแท่ง ทำาลายเชื้อ ่ แบคทีเรียแกรมบวกได้บ้าง ยากลุมนี้มีพิษน้อยกว่ากลุมอมิโนกลัย ่ ่ โคไซด์(Aminoglycosides) ยากลุ่มอะมิโนไซคริทอลมีผล ทำาให้ขบวนการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียผิดปกติ โดยยาจะจับกับ ไรโบโซมชนิด ٣٠เอส(٣٠S) ในเซลของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรีย เกิดการสร้างโปรตีนที่ผิดปกติ ทำาให้แบคทีเรียตาย ยากลุ่มนี้ จึงจัด เป็นยาต้านจุลชีพที่ออกฤทธิ์ฆ่าแบคทีเรียโดยตรง (Bactericidals) ประกอบด้วยยา ได้แก่ สเปคติโนมัยซิน(Spectinomycin) อพรามัย ซิน(Apramycin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของสเปคติโนมัยซิน(Spectinomycin)
  • 16. 206 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของอพรามัยซิน(Apramycin) ٤.٥ ยากลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines) ยากลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines) จะขัดขวางการสร้าง โปรตีนของแบคทีเรีย ยาจะไปยับยั้งการทำางานของไรโบโซมชนิด ٣ ٠เอส ที่อยู่ในเซลของแบคทีเรีย ไรโบโซม จะทำาหน้าที่สังเคราะห์ โปรตีน เมื่อไรโบโซมถูกขัดขวางการทำางาน จึงไม่สามารถ สังเคราะห์โปรตีนได้ ยากลุ่มนี้ จึงไม่มีผลในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เพียงแต่ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) เท่านั้น เต ตร้าซัยคลินมีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง (Broad spectrum) เตตร้าซัยคลินควรมีสีเหลืองนวล หากเป็นสีนำ้าตาลเข้ม แสดงว่าเป็นยาเก่าเก็บไม่ควรใช้ เพราะจะเป็นพิษต่อไตมาก การแบ่งยากลุ่มเตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines) พิจารณาแบ่ง ได้เป็น ٢ แบบ คือ ٤.٥.١ แบ่งตามการสังเคราะห์ ٤.٥.٢ แบ่งตามระยะเวลาออกฤทธิ์ ٤.٥.١ แบ่งตามการสังเคราะห์ หากแบ่งเตตร้าซัยคลินตามการสังเคราะห์ จะแยกได้เป็น เตต ร้าซัยคลินจากธรรมชาติ(Natural Tetracyclines) เตตร้าซัยคลินกึ่ง สังเคราะห์(Semisynthetic Tetracyclines) ٤.٥.١.١ เตตร้าซัยคลินจากธรรมชาติ(Natural Tetracyclines) ได้แก่ -อ็อกซี่เตตร้าซัยคลิน(Oxytetracyclines) ซึ่งแยก ได้จากเชื้อ สเตรปโตมัยเซส ไรโมซัส(Streptomyces rimosus) เช่น เททร็อกซี่ แอลเอ(Tetroxy LA®) ลิความัย ซิน(LIQUAMYCIN®)
  • 17. 207 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ ยาฉีดอ็อกซี่เตตร้าซัยคลิน -คลอเตตร้าซัยคลิน(Chlrotracyclines) ซึ่งแยก ได้จากเชื้อ สเตรปโตมัยเซส อูรีโอเฟเซียน(Streptomyces aureofaciens) ٤.٥.١.٢ เตตร้าซัยคลินกึ่งสังเคราะห์(Semisynthetic Tetracyclines) บางส่วนได้จากเชื้อสเปตปโตมัยเซส และอีกบาง ส่วนใช้สังเคราะห์ขึ้นมา ประกอบด้วย เตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines) มีชื่อทางกรค้า เช่น อะโครมัยซิน(Achromycin®) ดูโมซัยคลิน(Dumocycline®) เป็นต้น ด็อกซี่ซัยคลิน(Doxycyclines) เมนทรามัยซิน(Menthacyclines) ไมโนซัยคลิน(Minocyclines) ٥.٢..٤ แบ่งตามระยะเวลาออกฤทธิ์ จะแบ่งได้เป็น ٣ กลุม ได้แก่ ่ ٤.٥.٢.١ กลุมที่ออกฤทธิ์สั้น(Short-acting) ได้แก่ ่ เตตร้าซัยคลิน(Tetracyclines) อ็อกซี่เตตร้าซัยคลิน(Oxytetracyclines) คลอเตตร้าซัยคลิน(Chlrotracyclines) ٤.٥.٢.٢ กลุมที่ออกฤทธิ์ปานกลาง(Intermediate- ่ acting) ได้แก่ เมนทรามัยซิน(Menthacyclines) ٤.٥.٢.٣ กลุมที่ออกฤทธิ์นาน(Long-acting) ได้แก่ ่ ด็อกซี่ซัยคลิน(Doxycycline) ไมโนซัยคลิน(Minocycline)
  • 18. 208 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของกลุ่มเตตร้าซัยค ลิน(Tetracyclines) ٤.٦ ยากลุ่มคลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenicol) ยากลุ่มคลอแรมเฟนิคอล(Chloramphenicol) เป็นยาที่ออก ฤทธิ์กว้าง (Broad spectrum) มีผลขัดขวางการสร้างโปรตีนของ แบคทีเรีย ยาจะไปยับยั้งการทำางานของไรโบโซม (Ribosomes) ชนิด ٥٠เอส ที่อยู่ในเซลของแบคทีเรีย เมื่อไรโบโซมถูกขัดขวาง การทำางาน แบคทีเรียจึงไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนได้ คลอแรม เฟนิคอลเป็นยาอันตราย เนื่องจากยาจะไปกดการทำางานของ ไขกระดูกทำาให้เกิดโรคโลหิตจาง ปัจจุบัน ยานี้ห้ามใช้ในสัตว์ที่ ต้องนำาเนื้อ นม หรือไข่มาบริโภคโดยเด็ดขาด ดังนั้น โคกระบือ จึง ถูกห้ามใช้ยานี้ด้วย ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของกลุ่มคลอแรมเฟนิ คอล(Chloramphenicol)
  • 19. 209 การใช้ยาต้านจุลชีพ ٤.٧ ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) เป็นยาทีถูกสังเคราะห์ ่ ขึ้นมาโดยขบวนการทางเคมี ยานี้ จึงไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ(Antibiotic) แต่เป็นยาต้านจุลชีพ ซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) ใช้รักษาโรค ติดเชื้อได้ดีเฉพาะการติดเชื้อที่ไม่รุนแรง และไม่มีหนอง เนื่องจาก หนองจะยับยั้งฤทธิ์ของซัลโฟนาไมด์ ซัลโฟนาไมด์มีผลขัดขวางขบวนการเมตาโบริซึม (Metabolism) ของแบคทีเรีย โดยยาจะไปยับยังขบวนการเมตาโบ ้ ริซึม (Metabolism) ของกรดโฟลิกของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรีย ไม่สามารถเจริญเติบโตหรือแบ่งตัวได้ ยากลุมนี้จึงมีฤทธิ์ยับยังการ ่ ้ เจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) ยาซัลโฟนาไมด์ จะ มีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาว ละลายนำ้าได้ไม่ดี แต่ปัจจุบัน ยาซัล โฟนาไมด์ถูกผลิตออกมาในรูปเกลือโซเดียม จึงละลายนำ้าได้ดีขึ้น ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) สามารถแบ่งย่อยได้อีก เป็น ٤ กลุม ตามคุณสมบัติในการดูดซึมละขับถ่ายของยา ได้แก่ ่ ٤.٧.١ ยาที่ดูดซึมได้เร็วและขับถ่ายทางปัสสาวะเร็ว จึงออก ฤทธิ์สั้น ซึ่งยากลุ่มนีแยกย่อยออกได้เป็น ้ ٤.٧.١.١ กลุมที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อในร่างกายทัวไป ่ ่ ได้แก่ ซัลฟาไดอะซีน(Sulfadiazine) ซัลฟาไธอะ โซล(Sulfathiazole) ซัลฟาเมทธาซีน(Sulfamethazine) ซัลฟาเม อราซีน(Sulfamerazine) ซัลฟาเมธอกซา โซล(Sulfamethoxazole) บางบริษัทนำามาผสมกับไตรเมทโธพริม มีชื่อทางการค้า เช่น แบคทริม(Bactrim®) ซัลฟาหลายตัวผสมกัน ได้แก่ ซัลฟาไทแอด(Sulfatriad) ซึ่งก็คือซัลฟาไธอะ โซล(Sulfathiazole) ซัลฟาไดอะซีน(Sulfadiazine) และ ซัลฟาเม อราซีน(Sulfamerazine)ผสมกัน ยาซัลฟากลุ่มนี้มีค่าครึ่งชีวิต -٧ ٢٠ ชั่วโมง จึงจำาเป็นต้องให้ยาทุก ٦-٤ ชั่วโมง ٤.٧.١.٢ กลุมที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ ่ ได้แก่ ซัลฟิซอกซาโซล(Sulfisoxazole) ซัลฟาฟูรา โซล(Sulfafurazole) ซัลฟาโซมิดีน(Sulfasomidine) ซัลฟาเมธา โซล(Sulfamethazole) ยากลุ่มนี้ มีค่าครึ่งชีวิตสั้น จึงต้องให้ยาทุก ٦-٤ ชั่วโมง แต่ยาละลายได้ดีในปัสสาวะ และสามารถคงอยู่ในรูปที่
  • 20. 210 การใช้ยาต้านจุลชีพ ออกฤทธิ์ในทางเดินปัสสาวะ จึงใช้รักษาโรคติดเชื้อของทางเดิน ปัสสาวะ ٤.٧.٢ ยาที่ดูดซึมได้เร็วแต่ขับถ่ายทางปัสสาวะได้ช้า จึงออก ฤทธิ์นาน ได้แก่ ซัลฟาไดเมธอกซีน(Sulfadimethoxine) ซัลฟาโซ มิโซล(Sulfasomizole) ซัลฟาเมธอกซีพัยริดา ซีน(Sulfamethoxypyridazine) บางบริษัท นำาเอาซัลฟาเมธอก ซีพัยริดาซีนมาผสมรวมกับไตรเมโธพริม(Trimetroprim) และทำา เป็นก้อนเพื่อสอดเข้ามดลูกรักษาโรคติดเชื้อในมดลูก มีชื่อทางการ ค้า เช่น แอมโฟรพริม โบลัส(Amphoprim bolus®) ซัลฟาดอก ซีน(Sulfadoxine) ซัลฟาเมธอกซีไดอะ ซีน(Sulfamethoxydiazine) ซัลฟาฟีนาโซล(Sulfaphenazole) ซัลฟาเมธอกซีพัยราซีน(Sulfamethoxypyrazine) ยากลุ่มนี้ มีค่า ครึ่งชีวิต ٤٠-٣٠ ชั่วโมง จึงสามารถให้ยาวันละ ١ ครั้งก็เพียงพอ ٤.٧.٣ ยาที่ดูดซึมได้ไม่ดี ได้แก่ ซัลฟากัวนิดีน (Sulfaguanidine) ซัคซินิลซัลฟาไธอะ โซล(Succinylsulfathiazole) ธาราโซล(Thalazole) ยาถูกดูดซึม เข้าในลำาไส้ไม่ดี จึงใช้รักษาโรคติดเชื้อในลำาไส้ในรูปรับประทาน ٤.٧.٤ ยาทีใช้เฉพาะที่ ได้แก่ ซัลฟาเซ ่ ตาไมด์(Sulfacetamide) เมฟิไนด์(Mefinide) ซัลฟาเซ ตาไมด์(Sulfacetamide) มีประสิทธิภาพในการทำาลายเชื้อตำ่า แต่ก็ ไม่ระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อ จึงใช้รักษาโรคติดเชื้อที่ดวงตา ส่วนใหญ่ จะทำาเป็นยาหยอดตาในรูปขี้ผึ้ง ส่วน เมฟิไนด์(Mefinide) ใช้ทำา เป็นครีมทารักษาแผลไฟไหม้นำ้าร้อนลวก ป้องกันเชื้อแบคทีเรียที่ ผิวหนัง ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์(Sulfonamides) หากใช้ร่วมกับไตร เมโธพริม(Trimetroprim) จะเสริมฤทธิ์กัน ในการยับยั้งการเจริญ เติบโตของแบคทีเรีย
  • 21. 211 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของยากลุ่มซัลโฟน าไมด์(Sulfonamides) ٤.٨ ยากลุ่มมาโคไลด์(Macrolides) ยากลุ่มมาโคไลด์(Macrolides) ออกฤทธิ์ได้ดีต่อเชื้อ แบคทีเรียแกรมบวก และแกรมลบบางชนิด เป็นยากลุมที่ยบยั้งการ ่ ั สร้างโปรตีนของแบคทีเรียโดยไปเกาะที่ ٥٠เอส ของไรโบโซม จึง มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) แต่ถ้า ให้ในขนาดสูงจะมีฤทธิ์ทำาลายเชื้อแบคทีเรีย (Bactericidal) ยาก ลุ่มนี้ ขอบเขตการออกฤทธิ์คล้ายกับเพนนิซิลลินมาก จึงมักใช้ยาก ลุ่มมาโคไลด์แทนเพนนิซิลลินในกรณีที่มีการแพ้เพนนิซิลลิน ยาก ลุ่มมาโคไลด์(Macrolides) ได้แก่ อีรีโธรมัยซิน(Erythromycin) มีชื่อทางการค้า เช่น อีรีซิล(Erysil®) ไลโอโซน(liosone®) ไทโล ซิน(Tylosin)มีชื่อทางการค้า เช่น ไทแลน(Tylan®) โรซิโธรมัย ซิน(Roxithromycin) สไปรามัยซิน(Spiramycin) ไมดิคามัย ซิน(midecamycin)
  • 22. 212 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของอีรีโธรมัยซิน(Erythromycin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไทโลซิน(Tylosin) ٤.٩ ยากลุ่มควิโนโลน(Quinolones) ยากลุ่มควิโนโลน(Quinolones) เป็นยาต้านจุลชีพกลุ่มใหม่ที่ ถูกสังเคราะห์ขึ้น โดยพัฒนาโครงสร้างมาจากกรดนาลิดิซิค (Nalidixic acid) โดยการเพิ่มฟลูออไรด์เข้าไปในสูตรโครงสร้าง ทำาให้ยากลุ่มนี้ สามารถทำาลายเชื้อแบคทีเรียได้ทั้งแกรมบวกและ ลบ ยากลุ่มนี้ ทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถสร้างดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่ง จำาเป็นต่อการเจริญเติบโตและแบ่งตัว ยากลุมนี้จึงมีฤทธิ์ยับยังการ ่ ้ เจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) ยากลุ่มนี้ ได้แก่ นอร์ฟลอคซาซิน(Norfloxacin) เอ็นโรฟลอคซาซิน(Enrofloxacin) ดาโนฟลอคซาซิน(Danofloxacin) โอฟลอคซาซิน(Ofloxacin) ไซ โปรฟลอคซาซิน(Cyplofloxacin) ซีฟลอคซาซิน(Pefloxacin)
  • 23. 213 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของนอร์ฟลอคซาซิน(Norfloxacin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไซโปรฟลอคซา ซิน(Cyplofloxacin) 4.10 ยากลุ่มโพลีเปปไทด์(Polypeptide) ยากลุ่มโพลีเปปไทด์(Polypeptide) ไม่ค่อยเป็นที่นิยมใช้ใน โคมากนัก ส่วนใหญ่จะใช้ในรูปผสมอาหารเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ในทางเดินอาหาร หรือใช้เฉพาะแห่งเป็นยาทา ยากลุ่มนี้ แยกได้ จากเชื้อบาซิลลัส (Bacillus) ยากลุ่มนี้ เป็นอันตรายต่อสัตว์มาก ที่สุด เนื่องจากเป็นยาที่ผลต่อเยื่อหุ้มเซล(Cell membrane) ของ แบคทีเรีย โดยยากลุ่มนี้ จะทำาให้โปรตีนและไอออน รวมถึง ของเหลวภายในเซลของแบคทีเรีย ไหลออกมานอกเซล ทำาให้ แบคทีเรียตาย และเนื่องจากเซลของสัตว์ ก็มีเยื่อหุ้มเซล (Cell membrane) เช่นเดียวกัน ยากลุ่มนี้จงเป็นอันตรายต่อสัตว์หากไม่ ึ ระมัดระวังในการใช้ ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ โพลีมิกซิน บี(Polymyxin B) โคลิสติน(Colistin) บางบริษัท นำาโคลิสตินผสมกับแอมพิซิลลิน มีชื่อทางการค้า เช่น พาโคล(Pacol®) แบซิเตรซิน(Bacitracin)
  • 24. 214 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของโคลิสติน(Colistin) 4.11 ยากลุ่มลินโคซาไมด์(Lincosamides) ยากลุ่มลินโคซาไมด์(Lincosamides) คุณสมบัติจะเหมือนกับ กลุ่มมาโคไลด์(Macrolides) แต่โครงสร้างทางเคมีแตกต่างกัน ยา จะออกฤทธิ์ได้ดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก และแกรมลบบางชนิด เป็นยากลุ่มทียับยังการสร้างโปรตีนของแบคทีเรียโดยไปเกาะที่ ٥ ่ ้ ٠เอส ของไรโบโซม จึงมีผลยับยังการเจริญเติบโตของ ้ แบคทีเรีย(Bacteriostatics) แต่ถ้าให้ในขนาดสูงจะมีฤทธิทำาลาย ์ เชื้อแบคทีเรีย(Bactericidal) ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ลินโคมัย ซิน(Lincomycin) คลินดามัยซิน(Clindamycin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของลินโคมัยซิน(Lincomycin) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของคลินดามัยซิน(Clindamycin)
  • 25. 215 การใช้ยาต้านจุลชีพ 4.12 ยากลุ่มอนุพันธ์ของไนโตรฟูแรน(Nitrofuran) ยากลุ่มอนุพันธ์ของไนโตรฟูแรน (Nitrofuran) ได้จากการ สังเคราะห์ขึ้นมา ยาจะละลายนำ้าได้เล็กน้อย ยากลุ่มนี้เป็นได้ทง ั้ ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) และฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย (Bactericidal) ขึ้นกับความเข้มข้นของยา ยาจะออก ฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบได้ดีกว่าแกรมบวก แบคทีเรียจะเกิด การดื้อยายาก แต่หนองและนำ้านมจะทำาให้ฤทธิ์ของยาลดลงเช่น เดียวกับซัลโฟนาไมด์ ยากลุ่มนี้จะตกค้างในเนื้อ นม ไข่ ในปริมาณ ที่สูงมาก ปัจจุบัน ยานี้ห้ามใช้ในสัตว์ที่ต้องนำาเนื้อ นม หรือไข่มาบริ โภคโดยเด็ดขาด ดังนั้น โคกระบือ จึงถูกห้ามใช้ยานี้ด้วย ยากลุ่มนี้ ประกอบด้วย ไนโตรฟูราโซล(Nitrofurazone) ไนโตรฟูแรนโต อิน(Nitrofurantoin) ฟูราโซริโดน(Furazolidone) ฟูแรนตา โดน(Furantadone) ไนฟูแรนดีโซล(Nifurandezone) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไนโตรฟูราโซล(Nitrofurazone) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไนโตรฟูแรนโต อิน(Nitrofurantoin) 4.13 ยาต้านจุลชีพอื่น ๆ ปัจจุบัน มียาต้านจุลชีพอีกหลายชนิดที่ถูกผลิตออกมา เพื่อ ให้ผลในการรักษาเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งเป็นยาที่มีสูตรโครงสร้างทาง เคมีไม่ใกล้เคียงกับกลุ่มต่าง ๆ ดังได้กล่าวมา จึงจำาเป็นต้องแยก กล่าวเป็นยาต้านจุลชีพอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ -ไทอะมูลิน(Tiamulin)
  • 26. 216 การใช้ยาต้านจุลชีพ ไทอะมูลิน จัดเป็นยาปฏิชีวนะทีแยกได้จากเชื้อ พูโรตัส มัลติ ่ ริส(Pleurotus multilis) ออกฤทธิ์ได้ดีต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก เชื้อมัยโคพลาสมา(Mycoplasma) และเชื้อแบคทีเรียแกรมลบบาง ชนิด โดยให้ผลในการยับยั้งการเจริญเติบโต(Bacteriostatics) -โนโวไบโอซิน(Novobiocin) โนโวไบโอซิน เป็นยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์วงแคบ(Narrow spectrum) ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก โนโวไบโอซิน ผลิตได้จาก เชื้อแอคติโนมัยเซส(Actinomyces) ยาทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถ สร้างดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่งจำาเป็นต่อการเจริญเติบโตและแบ่งตัวของ แบคทีเรีย ยากลุ่มนี้จึงมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) -แวนโคมัยซิน(Vancomycin) แวนโคมัยซิน เป็นยาปฏิชีนะที่ผลิตได้จากเชื้อสเตรปโต คอคคัส ออเรียนเตรีส(Streptococcus orientalis) ยาจะทำาลาย ผนังเซลของแบคทีเรีย ทำาให้ผนังเซลแตกและแบคทีเรียจะตาย ทันที ยานี้ จึงให้ผลในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Bactericidal) ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของแวนโคมัยซิน(Vancomycin) -ไรแฟมปิน(Rifampin) ไรแฟมปิน(Rifampin) จะยับยังการสร้างกรดนิวคลี ้ อิค(Nucleic acid) ของแบคทีเรีย ทำาให้แบคทีเรียไม่สามารถสร้าง ดีเอ็นเอ (DNA) ซึ่งจำาเป็นต่อการเจริญเติบโตและแบ่งตัวของ แบคทีเรีย ยาจึงมีฤทธิ์ยับยังการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ้ (Bacteriostatics)
  • 27. 217 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ สูตรโครงสร้างทางเคมีของไรแฟมปิน(Rifampin) หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ ในการใช้ยาต้านจุลชีพ จะต้องใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสม จึง จะเกิดประโยชน์ต่อการรักษา แต่หากใช้ไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกต้อง การรักษานอกจากจะไม่ประสบผลสำาเร็จ แล้วเชื้อจะเกิดการดื้อยา ด้วย ซึ่งสาเหตุหลักของเชื้อดื้อยา เกิดได้เนื่องจาก ١.การให้ยารักษาในขนาดทีไม่ถูกต้อง ่ ٢.ระยะเวลาการให้ยาไม่ถูกต้อง ٣.ใช้ยาต้านจุลชีพพรำ่าเพรื่อ หรือใช้ทั้งที่ไม่จำาเป็นต้องใช้ เพื่อป้องกันปัญหาที่จะทำาให้เกิดเชื้อดื้อยา หรือการรักษาไม่ ประสบผลสำาเร็จ การใช้ยาต้านจุลชีพ จึงมีหลักที่ควรจำาคือ ١.ต้องพิจารณาว่า จำาเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพหรือไม่ บางกรณีไม่จำาเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ เช่น แม่โคมีีปัญหา ไข้นำ้านมหลังคลอด เพียงแค่ให้แคลเซียมเข้าเส้นเลือด แม่โคก็จะมี อาการดีขึ้น แต่ผู้รักษาซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรักษาด้วยตัวเอง มักให้ยาต้านจุลชีพร่วมด้วย ซึ่งเป็นความเคยชิน โดยให้เหตุผลว่า เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน เป็นความเชื่อที่ผิดไม่ควรทำา ٢.หากจะใช้ยาต้านจุลชีพ จะต้องใช้เต็มขนาด(Full dose) ตามทีกำาหนดไว้ ่ โดยปกติ ข้างขวดยาต้านจุลชีพ หรือเอกสารกำากับที่มากับยา จะบอกขนาดและวิธีใช้อยู่แล้ว จำาเป็นต้องใช้ตามเอกสารที่กำากับมา อย่างเคร่งครัด อย่าใช้ตามความเคยชิน เนื่องจากยาต้านจุลชีพที่ หลาย ๆ บริษทผลิตออกมาจำาหน่าย เป็นตัวยาเดียวกันแต่มีปริมาณ ั ตัวยาต่อซีซีไม่เท่ากัน
  • 28. 218 การใช้ยาต้านจุลชีพ ٣.ต้องให้ยาซำ้า(Dosage interval) ตามระยะเวลาที่กำาหนด ยาต้านจุลชีพบางชนิดต้องฉีดซำ้าทุก ١٢ ชั่วโมง บางชนิดฉีด ซำ้าทุก ٢٤ หรือ ٤٨ ชั่วโมง ก็ต้องฉีดซำ้า เพื่อให้เชื้อแบคทีเรียถูก ทำาลาย ไม่หลงเหลือจนสามารถพัฒนาตัวเองถึงขั้นดื้อยาได้ ทังนี้ ้ การให้ยาต้านจุลชีพ จะต้องให้ติดต่อกันจนปริมาณยาในกระแส เลือดสูงถึงระดับฆ่าเชื้อได้ติดต่อกัน เป็นเวลา ٥-٣ วัน ٤.ให้ยาถูกวิธ(Route) ี ในการให้ยาต้านจุลชีพ สำาหรับโคกระบือ เอกสารกำากับที่มา กับยาให้ฉีดเข้าทางใดก็ต้องให้ทางนั้น เช่น ตามเอกสารกำากับยา กำาหนดให้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ผูรักษาก็จำาเป็นต้องฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ้ หรือตามเอกสารกำากับยากำาหนดให้ฉีดเข้าเส้นเลือดก็ต้องฉีดเข้า เส้นเลือด อย่าให้ผิดวิธี เนื่องจากหากให้ผิดวิธี การดูดซึมยาจะลด ลง และปริมาณยาในกระแสเลือดจะไม่สูงพอจนสามารถฆ่าเชื้อได้ ٥.ไม่ควรเปลี่ยนยาต้านจุลชีพหากไม่มีเหตุผลที่ดีพอ หากใช้ยาต้านจุลชีพตัวใดเป็นเวลา ٣ วัน แล้วสัตว์ไม่ตอบ สนอง จึงค่อยเปลี่ยนยา ٦.การใช้ยาต้านจุลชีพร่วมกัน หากจำาเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ ٢ ตัว หรือให้ยาต้านจุลชีพ ร่วมกับยาอื่นก็ตาม จะต้องแยกเข็ม แยกกระบอกฉีด(Syringe) ห้าม นำายามาผสมกัน เนื่องจากยาบางชนิดอาจทำาปฏิกิริยากันจนเกิดการ ตกตะกอนหรือเปลี่ยนสภาพ และในการใช้ยาต้านจุลชีพร่วมกัน จะ ต้องเลือกกลุ่มที่เสริมฤทธิ์กัน เช่น ให้เลือกยาต้านจุลชีพที่ออก ฤทธิ์ฆาแบคทีเรียโดยตรง(Bactericidals) ٢ ตัวร่วมกัน ห้ามเลือก ่ กลุ่มที่หักล้างฤทธิ์กัน คือ ยาตัวหนึ่งฆ่าเชื้อ(Bactericidals) อีกตัว หนึ่งก็ต้องเป็นยาฆ่าเชื้อ(Bactericidals) หรือตัวหนึ่งยับยั้ง เชื้อ(Bacteriostatics) อีกตัวหนึ่งก็ต้องยับยั้งเชื้อ(Bacteriostatics) ห้ามใช้ฆาเชื้อตัวหนึ่ง(Bactericidals) ยับยั้งเชื้อตัว ่ หนึ่ง(Bacteriostatics) วิธีการให้ยาต้านจุลชีพ การจะใช้ยาต้านจุลชีพ ก่อนอื่น จะต้องพิจารณาว่า สัตว์ จำาเป็นต้องได้รับยาต้านจุลชีพหรือไม่ ซึ่งบางกรณี ไม่จำาเป็นต้อง ให้ยาต้านจุลชีพก็ได้ การพิจารณาว่าสัตว์ต้องได้รับยาต้านจุลชีพ หรือไม่นั้น พิจารณาจากสัตว์มีการติดเชื้อ หรือสัตว์มีโอกาสติดเชื้อ
  • 29. 219 การใช้ยาต้านจุลชีพ ตามมาหากไม่ให้ยาหรือไม่ หากสัตว์มีการติดเชื้อหรือมีโอกาสที่จะ ติดเชื้อ ก็จำาเป็นที่ผู้รักษาจะต้องให้ยาต้านจุลชีพแก่สัตว์ ในการใช้ยาต้านจุลชีพในโค ส่วนใหญ่มักให้ด้วยการฉีด ซึ่ง สะดวกและรวดเร็วกว่าวิธีอื่น ๆ ในการใช้ยาต้านจุลชีพ จะต้องทราบ นำ้าหนักของสัตว์เสียก่อน เนื่องจากปริมาณยาที่จะให้กับสัตว์จะ สัมพันธ์โดยตรงกับนำ้าหนักตัวของสัตว์ ซึ่งวิธีการทราบนำ้าหนักของ สัตว์ ทำาได้โดยการชั่งนำ้าหนัก ดังได้เคยกล่าวมาแล้ว จากนั้น พิจารณาว่าสัตว์ต้องได้รับยาเพื่อเข้าไปทำาลายเชื้อ จุลชีพเร็วขนาดไหน เช่น สัตว์ติดเชื้อแบบเฉียบพลัน ถ้าปริมาณยา ในกระแสเลือดถึงระดับรักษาช้า สัตว์อาจตายได้ ก็จำาเป็นจะต้องให้ ยาเข้าเส้นเลือด ผู้รักษาจะต้องเลือกใช้ยาชนิดที่ฉีดเข้าเส้นเลือด ได้ เพื่อระดับยาจะถึงระดับที่ฆาเชื้อทันทีหลังการฉีด หรือหากไม่ ่ เฉียบพลัน สามารถรอได้ ก็เลือกใช้ยาแบบที่ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ซึ่ง ระดับยาจะสูงพอที่จะสามารถทำาลายเชื้อได้ประมาณ ١ ชั่วโมงหลัง การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ จากนั้นพิจารณาว่า จะใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มใดหรือตัวใดใน การรักษา ซึ่งต้องพิจารณา ปัจจัยหลาย ๆ อย่างประกอบกัน คือ -สัตว์มีความผิดปกติเพิ่มเติมที่อวัยวะส่วนใดหรือไม่ ยาต้านจุลชีพบางชนิดมีความเป็นพิษสูงต่อตับ บางชนิดมีพิษ สูงต่อไต หากสัตว์มีความผิดปกติเพิ่มเติมที่อวัยวะดังกล่าว ก็ควร เลือกใช้ยากลุมหรือตัวที่ไม่มีพิษต่ออวัยวะดังกล่าว ่ -ช่วงเวลาที่ต้องให้ยาซำ้า ยาต้านจุลชีพบางตัวออกฤทธิ์สั้น(Short acting) ต้องให้ทุก ٤ ٦- ชั่วโมง ยาต้านจุลชีพบางตัว ออกฤทธิ์ยาวนาน (Long acting) ให้ทุก ٤٨ ชั่วโมง ผู้รักษาก็พิจารณาดูว่า ควรใช้ยาตัวใด เพราะการ ที่โคถูกจับฉีดยาบ่อย ๆ โคจะดิ้นรนขัดขืนมาก -สัตว์มีปัญหาเกี่ยวกับเม็ดเลือดขาวหรือระบบภูมิคุ้มกันของ ร่างกายหรือไม่ หากมีปัญหาก็ควรเลือกใช้ยาที่มฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ ี แบคทีเรีย (bactericidal) หากไม่มีปัญหาด้านภูมิคุ้มกันสามารถ เลือกใช้ยาที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (bactericidal) หรือมี ฤทธิ์ยบยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Bacteriostatics) ตัวใด ั ตัวหนึ่งก็ได้ -เชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในร่างกายโค สามารถถูกทำาลายด้วยยา ต้านจุลชีพตัวใด
  • 30. 220 การใช้ยาต้านจุลชีพ การจะทราบว่า เชื้อแบคทีเรียที่ทำาให้โคแสดงอาการป่วยนั้น สามารถถูกทำาลายด้วยยาต้านจุลชีพตัวใด ทราบได้โดยการเก็บ ตัวอย่างไปเพาะเชื้อ และตรวจความไวของยาต่อเชื้อ(Sensitivity test) ซึ่งกว่าผลการตรวจจะออก ใช้เวลาประมาณ ٣ วัน ซึ่งมักจะ ช้าเกินไป ดังนั้น ในทางปฏิบัติ ผู้รักษาจำาเป็นต้องใช้ประสบการณ์ ว่า โรคหรืออาการป่วยที่สัตว์แสดงให้เห็นนั้น เคยใช้ยาต้านจุลชีพ ตัวใดแล้วสัตว์นั้นหายป่วย ก็ต้องใช้ยานันไปพลางก่อน หากผ่านไป ้ ٣ วัน อาการไม่ดีขึ้น ค่อยดูจากผลตรวจความไวของยาที่ส่งตรวจ และเปลียนยา่ เมื่อเลือกชนิดของยาต้านจุลชีพได้แล้ว ก็จะต้องให้ยาด้วยวิธี การและปริมาณทีถูกต้อง เข็มและกระบอกฉีดยา(Syringe) ต้อง ่ สะอาดผ่านการฆ่าเชื้อ รายละเอียดของวิธีการให้และปริมาณยา ดู ได้จากเอกสารกำากับยาที่มากับยานั้น เมื่อซื้อยาต้านจุลชีพมาจากร้านขายยา หรือสหกรณ์ ยาต้าน จุลชีพจะถูกบรรจุอยู่ในขวดแก้ว และขวดแก้ว จะบรรจุอยูในกล่อง ่ อีกชั้นหนึ่ง ซึ่งภายในกล่องจะมีเอกสารกำากับยาแนบมาด้วยเสมอ เอกสารกำากับยา จะบอกถึง ١.ชื่อยา ซึ่งเป็นชื่อทางการค้า ٢.ส่วนประกอบ ซึ่งเป็นตัวยาแสดงเป็นชื่อสามัญว่า มีตัวยาอยู่ เท่าไร ٣.สรรพคุณในการรักษา ว่าใช้รักษาโรคอะไรได้บาง หรือฆ่า ้ เชื้อแบคทีเรียตัวใดได้บ้าง ٤.ข้อบ่งใช้ คือใช้ในสัตว์ชนิดใด หรือสัตว์ที่มีอาการผิดปกติ อย่างไร ٥.ขนาดและวิธีใช้ คือให้อย่างไร เช่น ฉีดเข้าเส้นเลือด ฉีด เข้ากล้ามเนื้อ หรือฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ٦.ปริมาณการใช้ ว่าใช้เท่าไรกี่ซีซี แต่ในบางครั้งอาจบอก เป็นนำ้าหนักยาที่ต้องใช้เป็นมิลลิกรัมต่อนำ้าหนักตัวสัตว์เป็นกิโลกรัม หรือเป็นปอนด์(١ กิโลกรัม = 2.2 ปอนด์) ٧.การหยุดยา คือ หลังจากให้ยาครั้งสุดท้ายแล้ว ต้องไม่ส่ง โรงฆ่าเป็นเวลากี่วัน หรือหยุดส่งนมเป็นเวลากี่วัน เนื่องจากยาจะ ตกค้างในเนื้อ และในนำ้านม ٨.คำาเตือนหรือข้อแนะนำา คือยาบางชนิดหากวางทิ้งไว้อาจตก ตะกอน จึงมีคำาเตือนหรือคำาแนะนำา เช่น เขย่าขวดก่อนใช้
  • 31. 221 การใช้ยาต้านจุลชีพ ٩.ผู้ผลิตหรือผู้จำาหน่าย ว่าเป็นบริษัทใด สถานที่ผลิตหรือ จำาหน่ายอยู่ทใด เพื่อเมื่อมีปัญหาสามารถติดต่อขอคำาแนะนำาหรือ ี่ ดำาเนินคดีได้
  • 32. 222 การใช้ยาต้านจุลชีพ ภาพ เอกสารกำากับยา จากตัวอย่างเอกสารกำากับยาข้างต้น
  • 33. 223 การใช้ยาต้านจุลชีพ ชื่อทางการค้าของยาดังกล่าวคือ เจนต้าม็อก ส่วนประกอบ ใน ١ ซีซี จะประกอบด้วยแอมม็อกซี่ซิลลิน ไตร ไฮเดรต ١٥٠ มิลลิกรัม ซึงเทียบเท่ากับแอมม็อกซี่ซิลลิน ١٣٠.٦ ่ มิลลิกรัม และประกอบด้วยเจนต้ามัยซิน ٤٠ มิลลิกรัม สรรพคุณ ฆ่าเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ ข้อบ่งใช้ ใช้ในโค กระบือ สุกร ม้า แพะ แกะ ในโคกระบือใช้ รักษาโรคปอดบวม ท้องเสีย เต้านมอักเสบ มดลูกอักเสบ ขนาดและวิธีใช้ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อลึก ๆ โคกระบือ ٤٠-٣٠ ซีซี ต่อตัวต่อวัน ฯลฯ ดังนั้น หากจะใช้ยาดังกล่าว ในการรักษาโรคให้กับโค ก็ต้อง ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ٤٠ ซีซี ต่อวัน และต้องฉีดติดต่อกันเป็นเวลา ٣ วัน เป็นต้น บางกรณี เอกสารกำากับยา จะบอกปริมาณยาที่ต้องใช้เป็น มิลลิกรัมต่อนำ้าหนักสัตว์เป็นกิโลกรัม หรือบอกเป็นหน่วยสากลต่อ นำ้าหนักสัตว์เป็นกิโลกรัม ก็จำาเป็นต้องใช้การคำานวณประกอบ ตัวอย่างเช่น สมมุติเอกสารกำากับยา บอกว่า ส่วนประกอบ ใน ١ ซีซี จะประกอบด้วยอ็อกซี่เตตร้าซัยค ลิน ٢٠٠ มิลลิกรัม ขนาดและวิธีใช้ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ١٥ มิลลิกรัมต่อนำ้าหนัก ١ กิโลกรัม สมมติโคที่จะให้ยา มีนำ้าหนัก ٤٠٠ กิโลกรัม ก็คำานวณโดย เทียบบัญญัติไตรยางค์ธรรมดา คือ เริ่มจากคำานวณหาปริมาณยาที่ต้องฉีดให้กับโคเป็นนำ้าหนักยา มิลลิกรัม หากโคมีนำ้าหนัก ١ กิโลกรัม จะต้องให้ยา ١٥ มิลลิกรัม “ 400 “ “ 15X400 “ = 6,000 มิลลิกรัม จากนั้นปรับนำ้าหนักยาเป็นมิลลิกรัมให้เป็นซีซี
  • 34. 224 การใช้ยาต้านจุลชีพ ฉีดยาเตตร้าซัยคลิน ٢٠٠ มิลลิกรัม ต้องฉีดปริมาณ ١ ซีซี “ 1 “ “ 1/200 “ “ 6,000 “ “ 1/200 X 6000 “ = 30 ซีซี ดังนั้น จากตัวอย่างที่สมมติ โคดังกล่าวต้องฉีดเตตร้าซัยคลิน ٣٠ ซีซี เป็นต้น