SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่องการตรวจวินิจฉัยภูมแพ้รูปแบบต่างๆ
Different types of allergic diagnosis
ผู้จัดทำ
นางสาวนลิน ปู่เหล็ก
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/14
เลขที่ 35
นางสาวจิรกานต์ เย็นอุรา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/14
เลขที่ 39
36
สารบัญ
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1
วัตถุประสงค์ 2
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2
โรคภูมิแพ้ 3
ทาไมถึงเป็นโรคภูมิแพ้ 6
จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคภูมิแพ้หรือไม่ 8
อาการของโรคภูมิแพ้ 14
การวินิจฉัยโรคภูมิแพ้ 20
ทาความรู้จักอาการภูมิแพ้เฉียบพลันรุนแรง 25
ภาวะแทรกซ้อนของโรคภูมิแพ้ 26
การรักษาโรคภูมิแพ้ 28
แหล่งการอ้างอิง 34
ในปัจจุบัน โรคภูมิแพ้ถือเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวและสำคัญกับเรำทุกคนเป็นอย่ำงมำก
เพรำะโรคภูมิแพ้นั้นเป็นโรคที่มีกำรเกิดและส่งผลกระทบต่อตัวเรำเองโดยตรง ในใน
ชีวิตประจำวันของเรำมีคนมำกมำยที่ได้รับผลกระทบจำกโรคนี้แต่ก็ยังมีผู้คนอีกมำกมำยที่
ไม่ได้ให้ควำมสำคัญแก่โรคนี้อบำงครั้งก็อำจเป็นสำเหตุที่ทำให้เกิดอันตรำยถึงแก่ชีวิตได้ โดย
โรคภูมิแพ้นั้นเกิดขึ้นได้จำกปัจจัยหลำกหลำยชนิด เช่น ภูมิแพ้ที่เกิดในระพดับเซลล์ ภูมิแพ้
ทำงผิวหนัง ภูมิแพ้จำกกำรสัมผัส ภูมิแพ้อำหำร และภูมิแพ้อำหำรแฝง
ดังนั้นข้ำพเจ้ำผู้จัดทำโครงงำนได้ตระหนักถึงควำมสำคัญและภัยเงียบดังเช่นโรค
ภูมิแพ้นี้ข้ำพเจ้ำจึงได้คิดและจัดทำโครงงำนเกี่ยวกับกำรตรวจวินิจฉัยภูมแพ้รูปแบบต่ำงๆ
โดยรวบรวมข้อมูล เนื้อหำ มำเรียบเรียงเป็นเว็บบล็อก เพื่อให้ควำมรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่มี
ควำมสนใจ
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
1
1.เพื่อศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้
2.เพื่อศึกษาการวินิจฉัยโรคภูมิแพ้รูปแบบต่างๆ
อย่างลึกซึ้ง
3.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้และการวินิจฉัยโรค
ภูมิแพ้รูปแบบต่างๆและพัฒนาเว็บบล็อก
ได้รับข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องครบถ้วน
มีความเข้าใจในเรื่องของโรคภูมิแพ้ที่มา
สาเหตุ การปฏิบัติตัวและการป้องกันตัวจาก
โรค ได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการตรวจ
วินิจฉัยโรคภูมิแพ้ในหลากหลายรูปแบบเพื่อ
เป็นความรู้และใช้ในการตัดสิน และเผยแพร่
เป็นความรู้สาหรับผู้ที่มีความสนใจและ
ต้องการสืบค้นข้อมูล
ผลที่คาดว่า
จะได้รับ
วัตถุประสงค์
2
โรคภูมิแพ้คือ โรคภูมิแพ้เป็นโรคที่เกิดจากปฏิกิริยาการตอบสนองของร่างกายที่ไวกว่าปกติ
เมื่อได้รับ สารก่อภูมิแพ้จะมีการสร้างภูมิคุ้มที่เรียกว่า ไอ-จี-อี (IgE) ซึ่งจะไปกระตุ้นเซลล์ต่างๆ
ทางานมากขึ้น เกิดการอักเสบและมีการหลั่งสารเคมีชนิดต่างๆ ที่รู้จักกันดีคือสารฮีสตามีน
(Histamine) ทาให้เกิดอาการแพ้และมีอาการแสดงต่างๆ ในหลายระบบ เช่น จมูก,หลอดลม,ตา,
ผิวหนัง,ทางเดินอาหาร เป้นต้น โดยในคนปกติเมื่อได้รับสารก่อภูมิแพ้เช่นเดียวกันจะไม่เกิดการ
ตอบสนองดังกล่าว
โรคภูมิแพ้
ที่มำของรูปภำพ:https://www.dh-thailand.com
3
สารก่อภูมิแพ้มี 2 ประเภท ได้แก่
1.สารก่อภูมิแพ้ในอากาศ เช่น ไรฝุ่น แมลงสาบ ขนสุนัข ขนแมว เกสรหญ้า หรือเชื้อรา เป็นต้น
2.สารก่อภูมิแพ้ประเภทอาหาร เช่น นมวัว นมถั่วเหลือง ไข่ อาหารทะเล หรือแป้งสาลี เป็นต้น
4
ผู้ป่ วยโรคภูมิแพ้จะมีอาการตามอวัยวะที่เกิดการอักเสบจาการกระตุ้นโดยสารก่อภูมิแพ้ เช่น
- ผิวหนัง จะทาให้เกิด โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง ผู้ป่วยจะมีอาการผื่นคันเรื้อรัง บริเวณใบหน้า ข้อ
พับแขนขา หรือลาตัว เป็นต้น
- เยื่อบุจมูก จะทาให้เกิด โรคเยื่อบุจมูกอักเสบภูมิแพ้หรือโรคแพ้อากาศ ผู้ป่วยจะมีอาการน้ามูก
เรื้อรัง ร่วมกับอาการจาม คันหรือคัดจมูก
- เยื่อบุตาขาว จะทาให้เกิด โรคเยื่อบุตาขาวอักเสบภูมิแพ้ผู้ป่วยจะมีอาการคัน หรือเคืองตา
เรื้อรัง แสบตา หรือน้าตาไหลบ่อย ๆ
- เยื่อบุทางเดินหายใจ จะทาให้เกิด โรคหืด ผู้ป่วยจะมีอาการไอ หอบหายใจไม่สะดวก แน่น
หน้าอก หรือหายใจได้ยินเสียงวี๊ด
- เยื่อบุทางเดินอาหาร จะทาให้เกิด โรคแพ้อาหาร ผู้ป่วยจะมีอาการอุจจาระร่วงเรื้อรัง อาเจียน
น้าหนักตัวลด ร่วมกับอาการผื่นเรื้อรังและภาวะซีด
5
ทาไมถึงเป็นโรคภูมิแพ้
ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของการเกิดโรคภูมิแพ้ แต่ปัจจัยต่อไปนี้อาจเกี่ยวข้อง
กับการเกิดโรคภูมิแพ้ ได้แก่
1.ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้มักมีประวัติบิดาหรือมารดาเป็นโรคภูมิแพ้โดยที่ผู้ป่วย
อาจไม่ได้เป็นโรคภูมิแพ้ชนิดเดียวกับที่บิดาหรือมารดาเป็น หรือไม่ได้แพ้สารก่อภูมิแพ้ชนิดเดียวกับที่
บิดาหรือมารดาแพ้ได้พบว่าผู้ป่วยที่บิดาหรือมารดาเป็นโรคภูมิแพ้มีโอกาสเป็นโรคภูมิแพ้ได้ร้อยละ
20-40 และมีโอกาสเป็นโรคภูมิแพ้ได้ร้อยละ 50-80 ในกรณีที่บิดาและมารดาเป็นโรคภูมิแพ้
6
2.ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม มลพิษในอากาศ เช่น ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ควันจากโรงงาน
อุตสาหกรรม ควันบุหรี่ เป็นต้น รวมถึงวิถีชีวิตของประชากรที่เปลี่ยนจากสังคมชนบทมาเป็นสังคม
เมือง ทาให้มารดาไม่สามารถให้นมบุตรได้ในช่วงแรกคลอด หรือความเร่งด่วนในการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน ทาให้จาเป็นต้องรับประทานอาหารจานด่วนหรืออาหารสาเร็จรูป
ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยสารอาหารประเภทแป้งและไขมัน สิ่งเหล่านี้อาจเป็นปัจจัยเสี่ยงที่
ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ได้เนื่องจากพบว่าผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ร้อยละ 15 ไม่ได้มีบิดาหรือมารดาเป็นโรค
ภูมิแพ้
7
จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคภูมิแพ้หรือไม่
โรคภูมิแพ้เป็นกลุ่มของโรคที่แสดงอาการได้กับหลายระบบของร่างกาย อาการของโรคภูมิแพ้ขึ้นอยู่กับ
ชนิดของโรคภูมิแพ้ที่เป็น
- ถ้าเป็นที่ตา เรียกว่า โรคเยื่อบุตาอักเสบภูมิแพ้(allergic conjunctivitis)
- ถ้าเป็นที่จมูก เรียกว่า โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้(allergic rhinitis) หรือโรคแพ้อากาศ
- ถ้าเป็นที่หลอดลม เรียกว่า โรคหลอดลมอักเสบภูมิแพ้หรือโรคหืด (asthma)
- ถ้าเป็นที่ผิวหนัง เรียกว่า โรคผิวหนังอักเสบภูมิแพ้(atopic dermatitis)
- ถ้าเป็นที่ระบบทางเดินอาหาร เรียกว่า โรคแพ้อาหาร (food allergy)
8
1) มีอาการ และ/หรือ อาการแสดงที่บ่งบอกว่าอาจเป็นโรคภูมิแพ้ที่ระบบต่างๆ โดยเป็นมานานมากกว่า
1 เดือนขึ้นไป เช่น
- ถ้ามีอาการ คันและเคืองตา ตาแดง น้าตาไหล หนังตาบวม แสบตา อาจเป็นอาการของโรคเยื่อ
บุตาอักเสบภูมิแพ้(allergic conjunctivitis)
- ถ้ามีอาการจาม คันจมูก น้ามูกไหลออกมาทางจมูก หรือไหลลงคอ คัดจมูก คันเพดานปาก
หรือคอ อาจเป็นอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้(allergic rhinitis) หรือโรคแพ้อากาศ
- ถ้ามีอาการ ไอ หอบเหนื่อย หายใจขัด แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงวี้ด หายใจลาบากหรือหายใจ
เร็ว โดยเฉพาะเวลาตอนกลางคืน ตอนเช้ามืด หรือขณะออกกาลังกาย หรือขณะเป็นไข้หวัด อาจเป็น
อาการของโรคหลอดลมอักเสบภูมิแพ้หรือโรคหืด (asthma)
9
- ถ้ามีอาการ คัน มีผดผื่นตามตัว ผื่นมักแห้ง แดง มีสะเก็ดบางๆ หรือมีน้าเหลืองแห้งกรังปกคลุมอยู่
ในเด็กเล็ก มักเป็นที่แก้ม, ก้น, หัวเข่าและข้อศอก ในเด็กโตมักเป็นที่ข้อพับของแขนและขา ในรายที่
เป็นเรื้อรัง ผิวหนังบริเวณที่เป็นจะหนาตัวขึ้นและมีสีคล้าขึ้น ผิวหนังอาจมีการอักเสบเป็นตุ่มนูนคัน
หรือใหญ่เป็นปื้นนูนแดง และคันมากที่เรียกว่า ลมพิษ ซึ่งมักจะเกิดจากการแพ้อาหาร โดยเฉพาะ
อาหารทะเล หรือ แพ้แมลงกัดต่อย หรือแพ้ยา อาจเป็นอาการของโรคผิวหนังอักเสบภูมิแพ้(atopic
dermatitis)
- ถ้ามีอาการ อาเจียน คลื่นไส้ ท้องเสีย ปากบวม ปวดท้อง ท้องอืด อาจมีอาการของระบบ
ทางเดินหายใจ (เช่น หอบหืด, แพ้อากาศ) และผิวหนัง (เช่น ผื่นคัน, ลมพิษ) ร่วมด้วย หลังรับประทาน
นมวัว ไข่ ถั่ว อาหารทะเล ผักและผลไม้บางชนิด ผงชูรส สารกันบูด สารแต่งกลิ่นและสี อาจเป็น
อาการของ โรคแพ้อาหาร (food allergy)
10
2) อำกำรดังกล่ำวในข้อ 1 มักจะมีอำกำร เป็นๆ (มีเหตุมำกระตุ้น) หำยๆ (ไม่มีเหตุมำกระตุ้น) เมื่อผู้ป่วย
มีอำกำร ต้องมีเหตุที่กระตุ้นทำให้เกิดอำกำรนำมำก่อน เช่น
-
ควำมเครียด, กำรนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ, อำรมณ์เศร้ำ, วิตก, กังวล, เสียใจ(สำหรับโรค
ภูมิแพ้ ทุกประเภท)
- ของฉุน, ฝุ่น, ควัน, อำกำศที่เปลี่ยนแปลง, กำรติดเชื้อในระบบทำงเดินหำยใจ หรือ หวัด
(สำหรับโรคภูมิแพ้ของตำ จมูก และหลอดลม), อำหำรบำงชนิด (สำหรับโรคภูมิแพ้ ทุกประเภท)
- กำรติดเชื้อที่ตำ, ผิวหนัง หรือระบบทำงเดินอำหำร (สำหรับโรคภูมิแพ้ของตำ, ผิวหนัง และ
ระบบทำงเดินอำหำร)
- สิ่งที่ทำให้เกิดกำรระคำยเคืองของผิวหนัง เช่น ของฉุน ฝุ่น ควัน แดด เหงื่อ กำรเกำ หรือ
กำรนวด ขัดผิวหนัง สบู่ ครีม หรือเครื่องสำอำงใด ๆที่แพ้ (สำหรับโรคภูมิแพ้ของผิวหนัง
11
อาการดังกล่าวจะดีขึ้นเองหลังหมดเหตุดังกล่าว หรือดีขึ้นหลังได้รับยา เช่น
- เมื่อมีอาการทางตา อาการจะดีขึ้นหลังได้รับยาหยอดตาแก้แพ้และ /หรือ รับประทานยาแก้แพ้ (ยา
ต้านฮิสทามีน)
- เมื่อมีอาการทางจมูก อาการจะดีขึ้นหลังได้รับประทานยาแก้แพ้
- เมื่อมีอาการทางหลอดลม อาการจะดีขึ้นหลังได้รับการสูดยา หรือพ่นยาขยายหลอดลม เข้า
หลอดลมและ / หรือ รับประทานยาขยายหลอดลม
- เมื่อมีอาการทางผิวหนัง อาการจะดีขึ้นหลังได้รับการทายาสเตียรอยด์และ /หรือ รับประทานยา
แก้แพ้
- เมื่อมีอาการทางเดินอาหาร อาการจะดีขึ้นหลังได้รับประทานยาแก้แพ้และ /หรือ ยาแก้คลื่นไส้/
อาเจียน หรือยาแก้ท้องเสีย
12
3) ผู้ป่วยอาจมีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้ชนิดต่างๆ (เช่น โรคเยื่อบุตาอักเสบภูมิแพ้, โรคแพ้อากาศ, โรคหืด,
โรคผิวหนังอักเสบภูมิแพ้) ในสมัยเด็ก หรือในปัจจุบัน เนื่องจากโรคภูมิแพ้เป็นกลุ่มของโรคที่แสดง
อาการได้กับหลายระบบของร่างกาย
4) ผู้ป่วยอาจมีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคภูมิแพ้ชนิดต่างๆ [เช่น โรคเยื่อบุตาอักเสบ
ภูมิแพ้, โรคแพ้อากาศ, โรคหืด, โรคผิวหนังอักเสบภูมิแพ้หรือที่เรียกว่ากลุ่มโรคอะโทปี (atopic
diseases or atopy)] เนื่องจากโรคภูมิแพ้ดังกล่าวมีการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ได้
13
อาการของโรคภูมิแพ้
โดยทั่วไปอาการของโรคภูมิแพ้ที่หลายคนมักเจอจะได้แก่ ไอ จาม น้ามูกไหล คัดจมูก หายใจไม่
ออก มีผื่นขึ้น นอกเหนือจากอาการเหล่านี้ อาการอื่นๆ ของโรคภูมิแพ้ยังสามารถจาแนกได้ตามประเภท
ของอวัยวะ หรือระบบการทางานที่ผิดปกติจากสารก่อภูมิแพ้ด้วย ได้แก่
1. โรคภูมิแพ้ตา
เป็นอาการของโรคภูมิแพ้ซึ่งมักเกิดจากไรฝุ่น ฝุ่นควันตามท้องถนน เกสรดอกไม้หรือสิ่งระคายเคือง
อื่นๆ ที่มากระทบกับดวงตาของผู้ป่วย และยังรวมไปถึงคอนแทคเลนส์ที่ผู้ป่วยใช้ด้วย
อาการของโรคภูมิแพ้ตาสามารถจาแนกได้เป็น 2 ขั้นดังนี้
14
1. โรคภูมิแพ้ตา
อาการแพ้ไม่รุนแรง ผู้ป่วยจะมีอาการเยื่อบุตาอักเสบแต่ยังไม่มีผลกระทบใดๆ ต่อกระจกตา เพียงแต่
จะรู้สึกคันตา น้าตาไหล ตาขาวเป็นสีแดงเท่านั้น
อาการแพ้รุนแรง กระจกตาของผู้ป่วยจะมีอาการอักเสบร่วมด้วย และผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บเคืองตา
มองเห็นไม่เหมือนเดิม หรือมองไม่ชัด
นอกจากนี้ ยังมีอาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ในโรคภูมิแพ้ตาอีก ซึ่งหากอาการร้ายแรงมาก ก็อาจส่งผล
ให้ตาบอดได้เช่น ตาไวต่อแสงกว่าปกติ เยื่อบุตาขาวอักเสบกระจกตาดาเป็นแผล กระจกตาเป็น
แผลเรื้อรัง
15
2. โรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจ
เป็นโรคภูมิแพ้ที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะจมูกและหลอดลมเป็นส่วนมาก เพราะจมูกเป็นอวัยวะที่ช่วยคัดกรอง
ฝุ่น และสิ่งแปลกปลอมที่จะผ่านเข้ามาในร่างกาย รวมถึงช่วยปรับอุณหภูมิของร่างกายก่อนที่สิ่งต่างๆ จะ
ผ่านเข้าหลอดลมมา
ภายในจมูกของทุกคนจะมีโพรงจมูก และเยื่อบุจมูกซึ่งเมื่อสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้เป็นเวลานาน ก็จะเกิด
การอักเสบขึ้น จึงทาให้ผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจมีการตอบสนองต่อกลิ่น หรืออากาศที่
หายใจเข้าไปค่อนข้างไวกว่าคนปกติ โดยเฉพาะเกสรดอกไม้ฝุ่น หรือขนสัตว์
อาการของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย เช่น ไอเรื้อรัง จามบ่อย แน่นหน้าอก มี
เสมหะในคอ กลืนน้าลายและอาหารลาบาก หายใจไม่สะดวกหรือหายใจเร็ว อาการมักจะหนักขึ้นในช่วง
กลางคืน หรือช่วงที่ออกกาลังกาย คันตา และอาจมีน้าตาไหล
16
3. โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง
เรียกได้หลายชื่อ เช่น โรคภูมิแพ้ผิวหนัง โรคภูมิแพ้อักเสบ โรคผิวหนังอักเสบไวเกิน มักเกิดขึ้นใน
ผู้ป่วยเด็กเป็นส่วนมาก และมักจะมีสาเหตุมาจากพันธุกรรม
อย่างไรก็ตาม ถึงคุณไม่มีคนในครอบครัวที่เป็นโรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง แต่คุณก็สามารถเป็นโรคนี้ได้
หากได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีสารก่อภูมิแพ้ทางผิวหนังมาก มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคภูมิแพ้
ทางผิวหนัง เช่น อาศัยในที่ที่มีฝุ่นหรือสารเคมีเยอะ รับประทานอาหารที่เสี่ยงทาให้เกิดอาการแพ้
อาการแสดงของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง มักจะมีดังต่อไปนี้ และโดยทั่วไปอาการจะแสดงออกมา
ภายใน 1-7 วัน เช่น ผื่นแดง ผดขึ้น รู้สึกคันตามผิวหนัง ผิวหนังมีตุ่มแดง หรือมีตุ่มน้าเหลืองแห้งกรัง
ขึ้น ผิวแห้ง และทาให้รู้สึกคันกว่าปกติ
17
4. โรคภูมิแพ้อากาศ
เป็นประเภทของโรคภูมิแพ้ที่มักพบได้บ่อยที่สุด เรียกอีกชื่อว่า "โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้" โดยคุณ
อาจสังเกตได้จากเมื่อคนใกล้ตัวมีอาการคัดจมูก น้ามูกไหลเมื่ออยู่ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ หรือ
อากาศชื้น นั่นคือ อาการเบื้องต้นของผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้อากาศ
โรคภูมิแพ้อากาศจะมีสาเหตุใกล้เคียงกับโรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจ นั่นคือ มีความ
เกี่ยวข้องกับอากาศ ฝุ่นละออง และเชื้อโรคที่คุณมองไม่เห็นในอากาศรอบตัว แต่โรคภูมิแพ้ทางอากาศ
จะรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้นในอากาศ และจะเกี่ยวข้องกับอาการหายใจเข้าทาง
จมูกมากกว่าหลอดลม
สาหรับอาการของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้อากาศที่พบบ่อย เช่น จามบ่อย หายใจไม่สะดวก มีน้ามูก
มาก คันจมูก คัดจมูกบ่อย แสบตาและอาจมีน้าตาไหลมาก หูอื้อ
อาการของโรคภูมิแพ้อากาศอาจดูเหมือนไม่ร้ายแรง และพบเห็นได้ทั่วไป แต่หากไม่รีบรักษา
โรคนี้ก็สามารถทาให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ร้ายแรงตามมาได้ เช่น โรคไซนัส โรคหลอดลมอักเสบ ผนัง
คออักเสบ โรคหอบหืด ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
18
5. โรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินอาหาร
สาเหตุหลักๆ ของโรคภูมิแพ้ชนิดนี้เกิดจากความไวต่ออาหารที่รับประทานเข้าไป จนทาให้ระบบภูมิคุ้มกัน
ของร่างกายทางานผิดปกติ อาหารที่มักจะทาให้เกิดอาการแพ้จะได้แก่ นม ถั่ว ไข่ อาหารทะเล ผงชูรส สาร
ปรุงแต่งอื่นๆ ในอาหาร
ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคภูมิแพ้ชนิดนี้สามารถมีอาการแสดงได้ทันทีหลังรับประทานอาหาร หรือ
ภายใน 2 ชั่วโมงหลังจากรับประทานอาหารแล้ว ถึงแม้ว่าจะรับประทานอาหารเข้าไปเพียงเล็กน้อยก็ตาม
อาการของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย เช่น คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ปาก
บวม คอบวม หรือรู้สึกว่ามีก้อนบางอย่างอยู่ข้างใน ท้องอืดหอบหืด หายใจไม่ออก เป็นผื่นคัน
โรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินอาหารมักจะมีอาการที่ค่อนข้างรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้และสามารถ
เกิดขึ้นได้อย่างเฉียบพลันโดยที่คุณอาจไม่คาดคิด ดังนั้นหากคุณรู้สึกว่าตนมีอาการแพ้อาหาร หรือมีคน
ใกล้ชิดเกิดอาการแพ้อาหารขึ้นมา ให้รีบนาตัวส่งโรงพยาบาลโดยทันที
19
เมื่อแพทย์สงสัยว่าท่านอาจเป็นโรคภูมิแพ้ นอกเหนือจากการซักประวัติและตรวจร่างกายแล้ว แพทย์อาจ
ส่งตรวจพิเศษ เพื่อช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรค และให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้ป่วยแพ้ เช่น
1) การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง (allergy skin test) คือการนาน้ายาสกัดจากสารก่อภูมิแพ้ชนิด
ต่างๆ ที่มีอยู่ในอากาศ เช่น ฝุ่นบ้าน ตัวไรในฝุ่น แมลงสาบ เกสรหญ้า วัชพืช เชื้อรา เป็นต้น มาทาการ
ทดสอบที่ผิวหนังของผู้ป่วย เพื่อให้ทราบว่าแพ้สารใด วิธีนี้เป็นวิธีที่ช่วยในการวินิจฉัยโรคภูมิแพ้ที่มี
ความไวและความจาเพาะสูง ทาง่าย และราคาไม่แพง สามารถทราบผลได้ทันที ผู้ป่วยสามารถเห็น
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นด้วยตาของตนเอง มี 2 วิธีคือ
การวินิจฉัยโรคภูมิแพ้
20
- วิธีสะกิด (skin prick test) เป็นการทดสอบโดยหยดน้ายาสกัดจากสารก่อภูมิแพ้ลงบนผิวหนัง
ที่แขน และใช้เข็มสะกิดตรงกลางหยดน้ายา เพื่อเปิดผิวหนังชั้นบนออก ถ้าผู้ป่วยแพ้ต่อสารก่อภูมิแพ้
นั้น ก็จะเกิดปฏิกิริยาขึ้นโดยเกิดรอยนูน (wheal) และ ผื่นแดง (flare) สามารถอ่านผลได้ในเวลา 20
นาที หลังการทดสอบ วิธีนี้ทาง่าย, เร็ว, ไม่เจ็บและใช้อุปกรณ์น้อย เสี่ยงต่อการเกิดอาการแพ้ทั่วร่างกาย
น้อย
ที่มำของรูปภำพ: http://www.skinanswer.org
21
- วิธีฉีดเข้าในผิวหนัง (intradermal test) เป็น การฉีดน้ายาสกัดจากสารก่อภูมิแพ้เข้าในชั้นผิวหนังให้
เกิดรอยนูนเป็นจุดเล็กๆ สามารถอ่านผลในเวลา 20 นาที หลังฉีดโดยวัดขนาดของรอยนูนที่ขยายใหญ่
ขึ้น วิธีนี้ทายากกว่า เสียเวลามากกว่า เจ็บกว่า และต้องใช้อุปกรณ์มากกว่า และเสี่ยงต่อการเกิดอาการ
แพ้ทั่วร่างกายได้มากกว่า
ที่มำของรูปภำพ : https://meded.psu.ac.th/binla/
22
2) การหาปริมาณสารเคมีในเลือด ที่เรียกว่าอิมมูโนโกลบูลินอี (IgE) ชนิดที่จาเพาะต่อสารก่อภูมิแพ้
แต่ละชนิด (specific IgE) วิธีนี้เป็นที่นิยมในต่างประเทศ เนื่องจากไม่เสี่ยงต่ออาการแพ้ทั่วร่างกาย,
ผู้ป่วยไม่จาเป็นต้องงดยาแก้แพ้ก่อนตรวจ,ไม่ต้องใช้เวลาของผู้ป่วยนานในการทดสอบ ไม่เหมือน
การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง ทาให้สะดวก เพียงแค่เจาะเลือด 1 ครั้ง หาสารที่ผู้ป่วยแพ้ได้หลาย
ชนิด แต่ในประเทศไทยไม่นิยมใช้ เนื่องจากมีราคาแพง และไม่ทราบผลในทันที
23
สาหรับตัวยาสาคัญซึ่งใช้สาหรับปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการแพ้รุนแรงนั้น คือ ยาอะดรีนาลีน หรือ
อีพิเนฟริน (Adrenaline หรือ Epinephrine) ซึ่งเป็นยาที่ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อผู้ป่วยก่อนที่จะนาตัวส่ง
โรงพยาบาล
ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ที่อาการแพ้รุนแรงส่วนมากจะต้องพกยาดังกล่าวติดตัว ส่วนคนใกล้ชิดต้องเรียนรู้
วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้กับตนเองในกรณีเกิดอาการแพ้ฉุกเฉินกะทันหันขึ้นเพราะอาการแพ้
รุนแรงนั้นสามารถส่งผลกระทบให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้หากปฐมพยาบาลไม่ทัน
ที่มำของรูปภำพ: https://medthai.com
24
ทาความรู้จักอาการภูมิแพ้เฉียบพลันรุนแรง
อาการภูมิแพ้เฉียบพลันรุนแรง สามารถเรียกได้อีกชื่อสั้นๆ ว่า “อาการแพ้รุนแรง” ซึ่งมีสาเหตุของอาการ
เหมือนกับโรคภูมิแพ้ทั่วไปทุกอย่าง เพียงแต่ปฏิกิริยาของร่างกายที่ตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้นั้นจะมี
มากกว่า 1 ระบบ และอาการจะรุนแรงกว่าหลายเท่า
ระยะเวลาที่เกิดอาการแพ้รุนแรงนั้นจะไม่เกิน 2 ชั่วโมงหลังจากผู้ป่วยได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้าไป ทาให้
ผู้ป่วยและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดมักไม่ทันได้ตั้งตัวรับมือกับอาการที่เกิดขึ้น เช่น มีผื่นขึ้นตามตัว ใบหน้า ริมฝีปาก
และดวงตาบวม วิงเวียนศีรษะ หรือหมดสติ อาเจียนอย่างหนัก ความดันโลหิตต่า
25
ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้อาจต้องเผชิญกับอาการแทรกซ้อนต่าง ๆ หรือมีความเสี่ยงในการป่วยด้วยโรคอื่นเพิ่ม
มากขึ้น เช่น
โรคหอบหืด ผู้ป่วยที่เป็นภูมิแพ้จะมีโอกาสเป็นโรคหอบหืดมากกว่าคนทั่วไป โดยมีอาการหายใจลาบาก
หอบเหนื่อย หายใจเสียงดัง ไอ แน่นหน้าอกหรือเจ็บที่หน้าอก มีปัญหาในการนอนเนื่องจากการหายใจที่
ผิดปกติ ทาให้นอนยากหรือนอนแล้วรู้สึกตัวขึ้นกลางดึก หอบหืดเกิดจากมีสารก่อภูมิแพ้เข้าไปในปอด
ทาให้เกิดการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ หลอดลมอักเสบ พบมากในผู้ป่วย
ภูมิแพ้อากาศซึ่งเป็นการป่วยเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยตรง
ภาวะแทรกซ้อนของโรคภูมิแพ้
26
โรคภูมิแพ้ขั้นรุนแรง (Anaphylaxis) ผู้ป่วยจะมีอาการแพ้ที่รุนแรงขึ้น เช่น มีผื่นขึ้นเต็มตัวและมีอาการคัน
ตลอดเวลา เป็นลมพิษ หน้าซีดหรือหน้าแดง คอบวม แน่นหน้าอก หายใจติดขัด อาเจียน ท้องร่วง หากมี
อาการเหล่านี้ควรรีบไปพบแพทย์ทันที ส่วนใหญ่พบในผู้ป่วยที่แพ้อาหาร แพ้แมลง และแพ้ยา
อีกหนึ่งอาการที่พบมากในผู้ป่วยภูมิแพ้อากาศ คือ ไซนัสอักเสบ โดยมีอาการคือ ปวดศีรษะ โดยเฉพาะ
บริเวณหน้าผาก รอบตา หัวคิ้ว ข้างจมูก คัดจมูก มีน้ามูกและเสมหะสีเขียวข้น ไอ มีไข้หายใจลาบาก
นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้อาจมีอาการป่วยและโรคแทรกซ้อนอย่างอื่นอีก เช่น ผิวหนังอักเสบ กลาก
การติดเชื้อในหูชั้นกลาง การติดเชื้อในปอด เป็นต้น
ภาวะแทรกซ้อนของโรคภูมิแพ้
27
สิ่งที่ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ทุกคนต้องทราบคือ โรคภูมิแพ้เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้แต่ผู้ป่วย
จะมีอาการเป็นๆ หายๆ ขึ้นอยู่กับว่า ตนเองได้ไปเข้าใกล้สารก่อภูมิแพ้ใดหรือไม่
การรักษาโรคภูมิแพ้โดยหลักๆ จะแบ่งเป็น 3 วิธีคือ
1. การรักษาโรคภูมิแพ้โดยรับประทานยาแก้แพ้
ยาแก้แพ้กลุ่มแรก หรือกลุ่มดั้งเดิม (First Generation Antihistamine) เป็นยาแก้แพ้กลุ่มแรกซึ่งช่วยลดการ
หลั่งของสารฮิสตามีน และอาการภูมิแพ้อื่นๆ ได้ดี แต่มีข้อเสีย คือ ทาให้ผู้ป่วยง่วงซึม อ่อนเพลีย นอนไม่
หลับ เช่น คลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ไฮดรอไซซีน (hydroxyzine)
การรักษาโรคภูมิแพ้
28
ยาแก้แพ้กลุ่มที่ 2 หรือยาต้านฮิสตามีนกลุ่มไม่ทาให้ง่วงซึม (Second Generation Antihistamine) เป็นยา
แก้แพ้กลุ่มแรกที่ถูกพัฒนาโมเลกุลยาให้ใหญ่ขึ้น เพื่อไม่ให้เคมีของยาผ่านเข้าสู่สมอง และไปรบกวน
ระบบประสาทส่วนกลางจนทาให้ผู้ป่วยง่วงซึม เช่น เฟกโซเฟนาดีน (Fexofenadine) เซทิริซีน
(Cetirizine)
คุณสมบัติหลักๆ ของยาแก้แพ้คือ ลดน้ามูก อาการไอ และจามเรื้อรัง ผื่นลมพิษ อาการคันตามร่าง โดย
รูปแบบของยาจะแบ่งเป็น 4 แบบคือ แบบน้า (Liquids) แบบเม็ด (Pills) แบบพ่นจมูก (Nasal sprats)
แบบหยอดยา (Eyes drops)
ถึงแม้การรับประทานยาจะเป็นวิธีรักษาหลักที่ผู้ป่วยทุกโรคมักใช้เพื่อรักษาอาการ แต่ยาบางชนิดก็อาจ
ส่งผลข้างเคียงให้เกิดอาการแพ้ยา (Drug Allergy) ได้และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต จึงต้องปรึกษาแพทย์
หรือเภสัชกรทุกครั้งก่อนใช้ยา
29
2. การรักษาโรคภูมิแพ้โดยการฉีดวัคซีน
การฉีดวัคซีนภูมิแพ้เป็นการฉีดเอาสารก่อภูมิแพ้เข้าในร่างกาย เพื่อกระตุ้นให้ระบบภูมิคุ้มกันให้ทา
ปฏิกิริยาต่อสารที่คุณแพ้และไม่ทาให้เกิดอาการแพ้อีก
ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้สามารถเข้ารับการฉีดวัคซีนภูมิแพ้ได้ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ โดยช่วง 5-6 เดือนแรก
แพทย์จะฉีดวัคซีนที่แขนให้สัปดาห์ละ 1 ครั้งสลับข้างกัน
จากนั้นแพทย์จะจะค่อยๆ เพิ่มปริมาณวัคซีนมากขึ้นจนถึงระดับสูงสุดที่ผู้ป่วยจะรับไหว
รวมถึงความถี่ของการมารับวัคซีนที่จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
ระยะเวลาที่ผู้ป่วยเข้ารับการฉีดวัคซีนภูมิแพ้จะอยู่ที่ประมาณ 3-5 ปี ซึ่งแพทย์จะให้ผู้ป่วยหยุด
รับวัคซีนได้ก็ต่อเมื่อไม่มีอาการแพ้เกิดขึ้นแล้ว
แต่หากผู้ป่วยยังมีอาการแพ้อยู่หรือผลจากการรับวัคซีนยังไม่ดีพอ แพทย์ก็อาจยืดระยะเวลา
การรับวัคซีนอย่างต่อเนื่องไปอีก 1 ปีหรือมากกว่านั้น
30
3. การรักษาโดยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง
นอกเหนือจากการรับประทานยาแก้แพ้และฉีดวัคซีน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ยังเป็น
วิธีการรักษาโรคภูมิแพ้ที่คุณสามารถทาได้ด้วยตนเอง ซึ่งคุณสามารถทาได้ตามคาแนะนาต่อไปนี้
• หลีกเลี่ยงอย่าเข้าใกล้หรือเสี่ยงที่จะได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้ามาในร่างกาย
• หมั่นทาความสะอาดบ้านอยู่เสมอ
• ตัดหญ้า และวัชพืชต่างๆ ที่คุณมีอาการแพ้หรือมีความเสี่ยงว่าจะแพ้
• กาจัดแมลง เช่น มด แมลงสาบ ตัวต่อ แตนที่เสี่ยงจะกัดต่อย และทาให้คุณเกิดแผลหรืออาการแพ้ได้
• รักษาอุณหภูมิของร่างกายตนเองให้อบอุ่นเสมอ และสวมเสื้อผ้าที่สะอาดทุกครั้ง
• หมั่นออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
31
• รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และเป็นอาหารที่สะอาด ไม่เสี่ยงทาให้เกิดอาการแพ้โดยอาหารที่
มักทาให้เกิดอาการแพ้จะได้แก่ นมวัว ไข่ ถั่ว อาการทะเลที่มีเปลือก ปลา ธัญพืช เครื่องเทศ
• หากิจกรรมทาเพื่อคลายเครียดเสมอ อย่าหักโหมทางานหนักจนพักผ่อนไม่เพียงพอ
• ตากผ้า ปลอกหมอนหนุน ผ้าปูที่นอน พรมหรือผ้าปูรองต่างๆ ไว้ในที่แดดจัดเสมอเพื่อฆ่าเชื้อโรค
• หลีกเลี่ยงไม่ไปอยู่ในที่ที่มีมลพิษทางอากาศสูง หรือมีสารเคมีที่เสี่ยงทาให้เกิดอาการแพ้นอกจากนี้
คุณยังควรพกหน้ากากอนามัยติดตัวทุกครั้งด้วย
• หากคุณแพ้ขนสัตว์ควรหลีกเลี่ยงไม่เลี้ยงสัตว์หรือหากเลี้ยงสัตว์ไว้ในบ้าน ให้คุณพาสัตว์เลี้ยงไปฉีด
ยาป้องกันขนร่วง หรือบารุงขนให้ไม่กลายเป็นฝุ่นละอองในบ้าน
คาแนะนาที่กล่าวไปข้างต้นนั้นไม่ใช่แค่วิธีการรักษาภูมิแพ้เท่านั้น แต่ยังเป็นวิธีป้องกันโรคภูมิแพ้ได้อีก
ด้วย ซึ่งหากคุณลองปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองดู โรคภูมิแพ้ก็ยากที่จะเกิดขึ้นกับตัวคุณ และคนที่คุณ
รัก
32
• เขียนบันทึก ลงบันทึกประจาวันว่าทากิจกรรมอะไรหรือรับประทานอะไรแล้วมีอาการ
อย่างไร เป็นการศึกษาอาการแพ้รวมถึงให้ทราบสิ่งที่แพ้และสิ่งที่ไม่แพ้เพื่อการวางแผน
รักษาอย่างเหมาะสมต่อไป
• กินยา ยาจะช่วยป้องกันและบรรเทาอาการแพ้โดยผู้ป่วยภูมิแพ้ต้องกินยาตามที่แพทย์
กาหนด ไม่หยุดใช้ยาโดยพลการ เพราะอาจมีผลข้างเคียง มีอาการดื้อยา หรือมีอาการแพ้ที่
กาเริบขึ้น
• เตรียมการในภาวะฉุกเฉิน สาหรับผู้ป่วยที่มีอาการแพ้รุนแรง ควรแจ้งอาการป่วยของตนกับ
บุคคลใกล้ชิด สวมใส่สร้อยคอหรือสร้อยข้อมือแพทย์เตือนที่จะสื่อให้ผู้อื่นทราบถึงอาการ
แพ้กาเริบในกรณีฉุกเฉินที่มีอาการจนไม่สามารถพูดสื่อสารได้หรือในบางราย แพทย์จะให้
ผู้ป่วยพกยาฉีดเอพิเนฟรินสาหรับฉีดรักษาด้วยตนเองหากอาการกาเริบ และเตรียมเบอร์โทร
ฉุกเฉินที่จาเป็นไว้ในกรณีเร่งด่วนเสมอ
33
แหล่งอ้างอิง
จะทรำบได้อย่ำงไรว่ำเป็นโรคภูมิแพ้หรือไม่
https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=977
โรคภูมิแพ้คืออะไร
https://www.sanook.com/health/317/
ไขข้อสงสัยเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้ ทั้งควำมหมำย ประเภท อำกำรและวิธีรักษำ
https://www.honestdocs.co/4-types-of-allergies-and-treatments
ควำมหมำย โรคภูมิแพ้
https://www.pobpad.com
34

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Com 614-final

  • 2. ผู้จัดทำ นางสาวนลิน ปู่เหล็ก ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/14 เลขที่ 35 นางสาวจิรกานต์ เย็นอุรา ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/14 เลขที่ 39 36
  • 3. สารบัญ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1 วัตถุประสงค์ 2 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2 โรคภูมิแพ้ 3 ทาไมถึงเป็นโรคภูมิแพ้ 6 จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคภูมิแพ้หรือไม่ 8 อาการของโรคภูมิแพ้ 14 การวินิจฉัยโรคภูมิแพ้ 20 ทาความรู้จักอาการภูมิแพ้เฉียบพลันรุนแรง 25 ภาวะแทรกซ้อนของโรคภูมิแพ้ 26 การรักษาโรคภูมิแพ้ 28 แหล่งการอ้างอิง 34
  • 4. ในปัจจุบัน โรคภูมิแพ้ถือเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวและสำคัญกับเรำทุกคนเป็นอย่ำงมำก เพรำะโรคภูมิแพ้นั้นเป็นโรคที่มีกำรเกิดและส่งผลกระทบต่อตัวเรำเองโดยตรง ในใน ชีวิตประจำวันของเรำมีคนมำกมำยที่ได้รับผลกระทบจำกโรคนี้แต่ก็ยังมีผู้คนอีกมำกมำยที่ ไม่ได้ให้ควำมสำคัญแก่โรคนี้อบำงครั้งก็อำจเป็นสำเหตุที่ทำให้เกิดอันตรำยถึงแก่ชีวิตได้ โดย โรคภูมิแพ้นั้นเกิดขึ้นได้จำกปัจจัยหลำกหลำยชนิด เช่น ภูมิแพ้ที่เกิดในระพดับเซลล์ ภูมิแพ้ ทำงผิวหนัง ภูมิแพ้จำกกำรสัมผัส ภูมิแพ้อำหำร และภูมิแพ้อำหำรแฝง ดังนั้นข้ำพเจ้ำผู้จัดทำโครงงำนได้ตระหนักถึงควำมสำคัญและภัยเงียบดังเช่นโรค ภูมิแพ้นี้ข้ำพเจ้ำจึงได้คิดและจัดทำโครงงำนเกี่ยวกับกำรตรวจวินิจฉัยภูมแพ้รูปแบบต่ำงๆ โดยรวบรวมข้อมูล เนื้อหำ มำเรียบเรียงเป็นเว็บบล็อก เพื่อให้ควำมรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่มี ควำมสนใจ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1
  • 5. 1.เพื่อศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้ 2.เพื่อศึกษาการวินิจฉัยโรคภูมิแพ้รูปแบบต่างๆ อย่างลึกซึ้ง 3.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้และการวินิจฉัยโรค ภูมิแพ้รูปแบบต่างๆและพัฒนาเว็บบล็อก ได้รับข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องครบถ้วน มีความเข้าใจในเรื่องของโรคภูมิแพ้ที่มา สาเหตุ การปฏิบัติตัวและการป้องกันตัวจาก โรค ได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการตรวจ วินิจฉัยโรคภูมิแพ้ในหลากหลายรูปแบบเพื่อ เป็นความรู้และใช้ในการตัดสิน และเผยแพร่ เป็นความรู้สาหรับผู้ที่มีความสนใจและ ต้องการสืบค้นข้อมูล ผลที่คาดว่า จะได้รับ วัตถุประสงค์ 2
  • 6. โรคภูมิแพ้คือ โรคภูมิแพ้เป็นโรคที่เกิดจากปฏิกิริยาการตอบสนองของร่างกายที่ไวกว่าปกติ เมื่อได้รับ สารก่อภูมิแพ้จะมีการสร้างภูมิคุ้มที่เรียกว่า ไอ-จี-อี (IgE) ซึ่งจะไปกระตุ้นเซลล์ต่างๆ ทางานมากขึ้น เกิดการอักเสบและมีการหลั่งสารเคมีชนิดต่างๆ ที่รู้จักกันดีคือสารฮีสตามีน (Histamine) ทาให้เกิดอาการแพ้และมีอาการแสดงต่างๆ ในหลายระบบ เช่น จมูก,หลอดลม,ตา, ผิวหนัง,ทางเดินอาหาร เป้นต้น โดยในคนปกติเมื่อได้รับสารก่อภูมิแพ้เช่นเดียวกันจะไม่เกิดการ ตอบสนองดังกล่าว โรคภูมิแพ้ ที่มำของรูปภำพ:https://www.dh-thailand.com 3
  • 7. สารก่อภูมิแพ้มี 2 ประเภท ได้แก่ 1.สารก่อภูมิแพ้ในอากาศ เช่น ไรฝุ่น แมลงสาบ ขนสุนัข ขนแมว เกสรหญ้า หรือเชื้อรา เป็นต้น 2.สารก่อภูมิแพ้ประเภทอาหาร เช่น นมวัว นมถั่วเหลือง ไข่ อาหารทะเล หรือแป้งสาลี เป็นต้น 4
  • 8. ผู้ป่ วยโรคภูมิแพ้จะมีอาการตามอวัยวะที่เกิดการอักเสบจาการกระตุ้นโดยสารก่อภูมิแพ้ เช่น - ผิวหนัง จะทาให้เกิด โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง ผู้ป่วยจะมีอาการผื่นคันเรื้อรัง บริเวณใบหน้า ข้อ พับแขนขา หรือลาตัว เป็นต้น - เยื่อบุจมูก จะทาให้เกิด โรคเยื่อบุจมูกอักเสบภูมิแพ้หรือโรคแพ้อากาศ ผู้ป่วยจะมีอาการน้ามูก เรื้อรัง ร่วมกับอาการจาม คันหรือคัดจมูก - เยื่อบุตาขาว จะทาให้เกิด โรคเยื่อบุตาขาวอักเสบภูมิแพ้ผู้ป่วยจะมีอาการคัน หรือเคืองตา เรื้อรัง แสบตา หรือน้าตาไหลบ่อย ๆ - เยื่อบุทางเดินหายใจ จะทาให้เกิด โรคหืด ผู้ป่วยจะมีอาการไอ หอบหายใจไม่สะดวก แน่น หน้าอก หรือหายใจได้ยินเสียงวี๊ด - เยื่อบุทางเดินอาหาร จะทาให้เกิด โรคแพ้อาหาร ผู้ป่วยจะมีอาการอุจจาระร่วงเรื้อรัง อาเจียน น้าหนักตัวลด ร่วมกับอาการผื่นเรื้อรังและภาวะซีด 5
  • 9. ทาไมถึงเป็นโรคภูมิแพ้ ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของการเกิดโรคภูมิแพ้ แต่ปัจจัยต่อไปนี้อาจเกี่ยวข้อง กับการเกิดโรคภูมิแพ้ ได้แก่ 1.ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้มักมีประวัติบิดาหรือมารดาเป็นโรคภูมิแพ้โดยที่ผู้ป่วย อาจไม่ได้เป็นโรคภูมิแพ้ชนิดเดียวกับที่บิดาหรือมารดาเป็น หรือไม่ได้แพ้สารก่อภูมิแพ้ชนิดเดียวกับที่ บิดาหรือมารดาแพ้ได้พบว่าผู้ป่วยที่บิดาหรือมารดาเป็นโรคภูมิแพ้มีโอกาสเป็นโรคภูมิแพ้ได้ร้อยละ 20-40 และมีโอกาสเป็นโรคภูมิแพ้ได้ร้อยละ 50-80 ในกรณีที่บิดาและมารดาเป็นโรคภูมิแพ้ 6
  • 10. 2.ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม มลพิษในอากาศ เช่น ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ควันจากโรงงาน อุตสาหกรรม ควันบุหรี่ เป็นต้น รวมถึงวิถีชีวิตของประชากรที่เปลี่ยนจากสังคมชนบทมาเป็นสังคม เมือง ทาให้มารดาไม่สามารถให้นมบุตรได้ในช่วงแรกคลอด หรือความเร่งด่วนในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน ทาให้จาเป็นต้องรับประทานอาหารจานด่วนหรืออาหารสาเร็จรูป ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยสารอาหารประเภทแป้งและไขมัน สิ่งเหล่านี้อาจเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ได้เนื่องจากพบว่าผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ร้อยละ 15 ไม่ได้มีบิดาหรือมารดาเป็นโรค ภูมิแพ้ 7
  • 11. จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคภูมิแพ้หรือไม่ โรคภูมิแพ้เป็นกลุ่มของโรคที่แสดงอาการได้กับหลายระบบของร่างกาย อาการของโรคภูมิแพ้ขึ้นอยู่กับ ชนิดของโรคภูมิแพ้ที่เป็น - ถ้าเป็นที่ตา เรียกว่า โรคเยื่อบุตาอักเสบภูมิแพ้(allergic conjunctivitis) - ถ้าเป็นที่จมูก เรียกว่า โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้(allergic rhinitis) หรือโรคแพ้อากาศ - ถ้าเป็นที่หลอดลม เรียกว่า โรคหลอดลมอักเสบภูมิแพ้หรือโรคหืด (asthma) - ถ้าเป็นที่ผิวหนัง เรียกว่า โรคผิวหนังอักเสบภูมิแพ้(atopic dermatitis) - ถ้าเป็นที่ระบบทางเดินอาหาร เรียกว่า โรคแพ้อาหาร (food allergy) 8
  • 12. 1) มีอาการ และ/หรือ อาการแสดงที่บ่งบอกว่าอาจเป็นโรคภูมิแพ้ที่ระบบต่างๆ โดยเป็นมานานมากกว่า 1 เดือนขึ้นไป เช่น - ถ้ามีอาการ คันและเคืองตา ตาแดง น้าตาไหล หนังตาบวม แสบตา อาจเป็นอาการของโรคเยื่อ บุตาอักเสบภูมิแพ้(allergic conjunctivitis) - ถ้ามีอาการจาม คันจมูก น้ามูกไหลออกมาทางจมูก หรือไหลลงคอ คัดจมูก คันเพดานปาก หรือคอ อาจเป็นอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้(allergic rhinitis) หรือโรคแพ้อากาศ - ถ้ามีอาการ ไอ หอบเหนื่อย หายใจขัด แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงวี้ด หายใจลาบากหรือหายใจ เร็ว โดยเฉพาะเวลาตอนกลางคืน ตอนเช้ามืด หรือขณะออกกาลังกาย หรือขณะเป็นไข้หวัด อาจเป็น อาการของโรคหลอดลมอักเสบภูมิแพ้หรือโรคหืด (asthma) 9
  • 13. - ถ้ามีอาการ คัน มีผดผื่นตามตัว ผื่นมักแห้ง แดง มีสะเก็ดบางๆ หรือมีน้าเหลืองแห้งกรังปกคลุมอยู่ ในเด็กเล็ก มักเป็นที่แก้ม, ก้น, หัวเข่าและข้อศอก ในเด็กโตมักเป็นที่ข้อพับของแขนและขา ในรายที่ เป็นเรื้อรัง ผิวหนังบริเวณที่เป็นจะหนาตัวขึ้นและมีสีคล้าขึ้น ผิวหนังอาจมีการอักเสบเป็นตุ่มนูนคัน หรือใหญ่เป็นปื้นนูนแดง และคันมากที่เรียกว่า ลมพิษ ซึ่งมักจะเกิดจากการแพ้อาหาร โดยเฉพาะ อาหารทะเล หรือ แพ้แมลงกัดต่อย หรือแพ้ยา อาจเป็นอาการของโรคผิวหนังอักเสบภูมิแพ้(atopic dermatitis) - ถ้ามีอาการ อาเจียน คลื่นไส้ ท้องเสีย ปากบวม ปวดท้อง ท้องอืด อาจมีอาการของระบบ ทางเดินหายใจ (เช่น หอบหืด, แพ้อากาศ) และผิวหนัง (เช่น ผื่นคัน, ลมพิษ) ร่วมด้วย หลังรับประทาน นมวัว ไข่ ถั่ว อาหารทะเล ผักและผลไม้บางชนิด ผงชูรส สารกันบูด สารแต่งกลิ่นและสี อาจเป็น อาการของ โรคแพ้อาหาร (food allergy) 10
  • 14. 2) อำกำรดังกล่ำวในข้อ 1 มักจะมีอำกำร เป็นๆ (มีเหตุมำกระตุ้น) หำยๆ (ไม่มีเหตุมำกระตุ้น) เมื่อผู้ป่วย มีอำกำร ต้องมีเหตุที่กระตุ้นทำให้เกิดอำกำรนำมำก่อน เช่น - ควำมเครียด, กำรนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ, อำรมณ์เศร้ำ, วิตก, กังวล, เสียใจ(สำหรับโรค ภูมิแพ้ ทุกประเภท) - ของฉุน, ฝุ่น, ควัน, อำกำศที่เปลี่ยนแปลง, กำรติดเชื้อในระบบทำงเดินหำยใจ หรือ หวัด (สำหรับโรคภูมิแพ้ของตำ จมูก และหลอดลม), อำหำรบำงชนิด (สำหรับโรคภูมิแพ้ ทุกประเภท) - กำรติดเชื้อที่ตำ, ผิวหนัง หรือระบบทำงเดินอำหำร (สำหรับโรคภูมิแพ้ของตำ, ผิวหนัง และ ระบบทำงเดินอำหำร) - สิ่งที่ทำให้เกิดกำรระคำยเคืองของผิวหนัง เช่น ของฉุน ฝุ่น ควัน แดด เหงื่อ กำรเกำ หรือ กำรนวด ขัดผิวหนัง สบู่ ครีม หรือเครื่องสำอำงใด ๆที่แพ้ (สำหรับโรคภูมิแพ้ของผิวหนัง 11
  • 15. อาการดังกล่าวจะดีขึ้นเองหลังหมดเหตุดังกล่าว หรือดีขึ้นหลังได้รับยา เช่น - เมื่อมีอาการทางตา อาการจะดีขึ้นหลังได้รับยาหยอดตาแก้แพ้และ /หรือ รับประทานยาแก้แพ้ (ยา ต้านฮิสทามีน) - เมื่อมีอาการทางจมูก อาการจะดีขึ้นหลังได้รับประทานยาแก้แพ้ - เมื่อมีอาการทางหลอดลม อาการจะดีขึ้นหลังได้รับการสูดยา หรือพ่นยาขยายหลอดลม เข้า หลอดลมและ / หรือ รับประทานยาขยายหลอดลม - เมื่อมีอาการทางผิวหนัง อาการจะดีขึ้นหลังได้รับการทายาสเตียรอยด์และ /หรือ รับประทานยา แก้แพ้ - เมื่อมีอาการทางเดินอาหาร อาการจะดีขึ้นหลังได้รับประทานยาแก้แพ้และ /หรือ ยาแก้คลื่นไส้/ อาเจียน หรือยาแก้ท้องเสีย 12
  • 16. 3) ผู้ป่วยอาจมีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้ชนิดต่างๆ (เช่น โรคเยื่อบุตาอักเสบภูมิแพ้, โรคแพ้อากาศ, โรคหืด, โรคผิวหนังอักเสบภูมิแพ้) ในสมัยเด็ก หรือในปัจจุบัน เนื่องจากโรคภูมิแพ้เป็นกลุ่มของโรคที่แสดง อาการได้กับหลายระบบของร่างกาย 4) ผู้ป่วยอาจมีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคภูมิแพ้ชนิดต่างๆ [เช่น โรคเยื่อบุตาอักเสบ ภูมิแพ้, โรคแพ้อากาศ, โรคหืด, โรคผิวหนังอักเสบภูมิแพ้หรือที่เรียกว่ากลุ่มโรคอะโทปี (atopic diseases or atopy)] เนื่องจากโรคภูมิแพ้ดังกล่าวมีการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ได้ 13
  • 17. อาการของโรคภูมิแพ้ โดยทั่วไปอาการของโรคภูมิแพ้ที่หลายคนมักเจอจะได้แก่ ไอ จาม น้ามูกไหล คัดจมูก หายใจไม่ ออก มีผื่นขึ้น นอกเหนือจากอาการเหล่านี้ อาการอื่นๆ ของโรคภูมิแพ้ยังสามารถจาแนกได้ตามประเภท ของอวัยวะ หรือระบบการทางานที่ผิดปกติจากสารก่อภูมิแพ้ด้วย ได้แก่ 1. โรคภูมิแพ้ตา เป็นอาการของโรคภูมิแพ้ซึ่งมักเกิดจากไรฝุ่น ฝุ่นควันตามท้องถนน เกสรดอกไม้หรือสิ่งระคายเคือง อื่นๆ ที่มากระทบกับดวงตาของผู้ป่วย และยังรวมไปถึงคอนแทคเลนส์ที่ผู้ป่วยใช้ด้วย อาการของโรคภูมิแพ้ตาสามารถจาแนกได้เป็น 2 ขั้นดังนี้ 14
  • 18. 1. โรคภูมิแพ้ตา อาการแพ้ไม่รุนแรง ผู้ป่วยจะมีอาการเยื่อบุตาอักเสบแต่ยังไม่มีผลกระทบใดๆ ต่อกระจกตา เพียงแต่ จะรู้สึกคันตา น้าตาไหล ตาขาวเป็นสีแดงเท่านั้น อาการแพ้รุนแรง กระจกตาของผู้ป่วยจะมีอาการอักเสบร่วมด้วย และผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บเคืองตา มองเห็นไม่เหมือนเดิม หรือมองไม่ชัด นอกจากนี้ ยังมีอาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ในโรคภูมิแพ้ตาอีก ซึ่งหากอาการร้ายแรงมาก ก็อาจส่งผล ให้ตาบอดได้เช่น ตาไวต่อแสงกว่าปกติ เยื่อบุตาขาวอักเสบกระจกตาดาเป็นแผล กระจกตาเป็น แผลเรื้อรัง 15
  • 19. 2. โรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจ เป็นโรคภูมิแพ้ที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะจมูกและหลอดลมเป็นส่วนมาก เพราะจมูกเป็นอวัยวะที่ช่วยคัดกรอง ฝุ่น และสิ่งแปลกปลอมที่จะผ่านเข้ามาในร่างกาย รวมถึงช่วยปรับอุณหภูมิของร่างกายก่อนที่สิ่งต่างๆ จะ ผ่านเข้าหลอดลมมา ภายในจมูกของทุกคนจะมีโพรงจมูก และเยื่อบุจมูกซึ่งเมื่อสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้เป็นเวลานาน ก็จะเกิด การอักเสบขึ้น จึงทาให้ผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจมีการตอบสนองต่อกลิ่น หรืออากาศที่ หายใจเข้าไปค่อนข้างไวกว่าคนปกติ โดยเฉพาะเกสรดอกไม้ฝุ่น หรือขนสัตว์ อาการของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย เช่น ไอเรื้อรัง จามบ่อย แน่นหน้าอก มี เสมหะในคอ กลืนน้าลายและอาหารลาบาก หายใจไม่สะดวกหรือหายใจเร็ว อาการมักจะหนักขึ้นในช่วง กลางคืน หรือช่วงที่ออกกาลังกาย คันตา และอาจมีน้าตาไหล 16
  • 20. 3. โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง เรียกได้หลายชื่อ เช่น โรคภูมิแพ้ผิวหนัง โรคภูมิแพ้อักเสบ โรคผิวหนังอักเสบไวเกิน มักเกิดขึ้นใน ผู้ป่วยเด็กเป็นส่วนมาก และมักจะมีสาเหตุมาจากพันธุกรรม อย่างไรก็ตาม ถึงคุณไม่มีคนในครอบครัวที่เป็นโรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง แต่คุณก็สามารถเป็นโรคนี้ได้ หากได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีสารก่อภูมิแพ้ทางผิวหนังมาก มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคภูมิแพ้ ทางผิวหนัง เช่น อาศัยในที่ที่มีฝุ่นหรือสารเคมีเยอะ รับประทานอาหารที่เสี่ยงทาให้เกิดอาการแพ้ อาการแสดงของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง มักจะมีดังต่อไปนี้ และโดยทั่วไปอาการจะแสดงออกมา ภายใน 1-7 วัน เช่น ผื่นแดง ผดขึ้น รู้สึกคันตามผิวหนัง ผิวหนังมีตุ่มแดง หรือมีตุ่มน้าเหลืองแห้งกรัง ขึ้น ผิวแห้ง และทาให้รู้สึกคันกว่าปกติ 17
  • 21. 4. โรคภูมิแพ้อากาศ เป็นประเภทของโรคภูมิแพ้ที่มักพบได้บ่อยที่สุด เรียกอีกชื่อว่า "โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้" โดยคุณ อาจสังเกตได้จากเมื่อคนใกล้ตัวมีอาการคัดจมูก น้ามูกไหลเมื่ออยู่ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ หรือ อากาศชื้น นั่นคือ อาการเบื้องต้นของผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้อากาศ โรคภูมิแพ้อากาศจะมีสาเหตุใกล้เคียงกับโรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจ นั่นคือ มีความ เกี่ยวข้องกับอากาศ ฝุ่นละออง และเชื้อโรคที่คุณมองไม่เห็นในอากาศรอบตัว แต่โรคภูมิแพ้ทางอากาศ จะรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้นในอากาศ และจะเกี่ยวข้องกับอาการหายใจเข้าทาง จมูกมากกว่าหลอดลม สาหรับอาการของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้อากาศที่พบบ่อย เช่น จามบ่อย หายใจไม่สะดวก มีน้ามูก มาก คันจมูก คัดจมูกบ่อย แสบตาและอาจมีน้าตาไหลมาก หูอื้อ อาการของโรคภูมิแพ้อากาศอาจดูเหมือนไม่ร้ายแรง และพบเห็นได้ทั่วไป แต่หากไม่รีบรักษา โรคนี้ก็สามารถทาให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ร้ายแรงตามมาได้ เช่น โรคไซนัส โรคหลอดลมอักเสบ ผนัง คออักเสบ โรคหอบหืด ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ 18
  • 22. 5. โรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินอาหาร สาเหตุหลักๆ ของโรคภูมิแพ้ชนิดนี้เกิดจากความไวต่ออาหารที่รับประทานเข้าไป จนทาให้ระบบภูมิคุ้มกัน ของร่างกายทางานผิดปกติ อาหารที่มักจะทาให้เกิดอาการแพ้จะได้แก่ นม ถั่ว ไข่ อาหารทะเล ผงชูรส สาร ปรุงแต่งอื่นๆ ในอาหาร ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคภูมิแพ้ชนิดนี้สามารถมีอาการแสดงได้ทันทีหลังรับประทานอาหาร หรือ ภายใน 2 ชั่วโมงหลังจากรับประทานอาหารแล้ว ถึงแม้ว่าจะรับประทานอาหารเข้าไปเพียงเล็กน้อยก็ตาม อาการของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินอาหารที่พบบ่อย เช่น คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ปาก บวม คอบวม หรือรู้สึกว่ามีก้อนบางอย่างอยู่ข้างใน ท้องอืดหอบหืด หายใจไม่ออก เป็นผื่นคัน โรคภูมิแพ้ในระบบทางเดินอาหารมักจะมีอาการที่ค่อนข้างรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้และสามารถ เกิดขึ้นได้อย่างเฉียบพลันโดยที่คุณอาจไม่คาดคิด ดังนั้นหากคุณรู้สึกว่าตนมีอาการแพ้อาหาร หรือมีคน ใกล้ชิดเกิดอาการแพ้อาหารขึ้นมา ให้รีบนาตัวส่งโรงพยาบาลโดยทันที 19
  • 23. เมื่อแพทย์สงสัยว่าท่านอาจเป็นโรคภูมิแพ้ นอกเหนือจากการซักประวัติและตรวจร่างกายแล้ว แพทย์อาจ ส่งตรวจพิเศษ เพื่อช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรค และให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้ป่วยแพ้ เช่น 1) การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง (allergy skin test) คือการนาน้ายาสกัดจากสารก่อภูมิแพ้ชนิด ต่างๆ ที่มีอยู่ในอากาศ เช่น ฝุ่นบ้าน ตัวไรในฝุ่น แมลงสาบ เกสรหญ้า วัชพืช เชื้อรา เป็นต้น มาทาการ ทดสอบที่ผิวหนังของผู้ป่วย เพื่อให้ทราบว่าแพ้สารใด วิธีนี้เป็นวิธีที่ช่วยในการวินิจฉัยโรคภูมิแพ้ที่มี ความไวและความจาเพาะสูง ทาง่าย และราคาไม่แพง สามารถทราบผลได้ทันที ผู้ป่วยสามารถเห็น ปฏิกิริยาภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นด้วยตาของตนเอง มี 2 วิธีคือ การวินิจฉัยโรคภูมิแพ้ 20
  • 24. - วิธีสะกิด (skin prick test) เป็นการทดสอบโดยหยดน้ายาสกัดจากสารก่อภูมิแพ้ลงบนผิวหนัง ที่แขน และใช้เข็มสะกิดตรงกลางหยดน้ายา เพื่อเปิดผิวหนังชั้นบนออก ถ้าผู้ป่วยแพ้ต่อสารก่อภูมิแพ้ นั้น ก็จะเกิดปฏิกิริยาขึ้นโดยเกิดรอยนูน (wheal) และ ผื่นแดง (flare) สามารถอ่านผลได้ในเวลา 20 นาที หลังการทดสอบ วิธีนี้ทาง่าย, เร็ว, ไม่เจ็บและใช้อุปกรณ์น้อย เสี่ยงต่อการเกิดอาการแพ้ทั่วร่างกาย น้อย ที่มำของรูปภำพ: http://www.skinanswer.org 21
  • 25. - วิธีฉีดเข้าในผิวหนัง (intradermal test) เป็น การฉีดน้ายาสกัดจากสารก่อภูมิแพ้เข้าในชั้นผิวหนังให้ เกิดรอยนูนเป็นจุดเล็กๆ สามารถอ่านผลในเวลา 20 นาที หลังฉีดโดยวัดขนาดของรอยนูนที่ขยายใหญ่ ขึ้น วิธีนี้ทายากกว่า เสียเวลามากกว่า เจ็บกว่า และต้องใช้อุปกรณ์มากกว่า และเสี่ยงต่อการเกิดอาการ แพ้ทั่วร่างกายได้มากกว่า ที่มำของรูปภำพ : https://meded.psu.ac.th/binla/ 22
  • 26. 2) การหาปริมาณสารเคมีในเลือด ที่เรียกว่าอิมมูโนโกลบูลินอี (IgE) ชนิดที่จาเพาะต่อสารก่อภูมิแพ้ แต่ละชนิด (specific IgE) วิธีนี้เป็นที่นิยมในต่างประเทศ เนื่องจากไม่เสี่ยงต่ออาการแพ้ทั่วร่างกาย, ผู้ป่วยไม่จาเป็นต้องงดยาแก้แพ้ก่อนตรวจ,ไม่ต้องใช้เวลาของผู้ป่วยนานในการทดสอบ ไม่เหมือน การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง ทาให้สะดวก เพียงแค่เจาะเลือด 1 ครั้ง หาสารที่ผู้ป่วยแพ้ได้หลาย ชนิด แต่ในประเทศไทยไม่นิยมใช้ เนื่องจากมีราคาแพง และไม่ทราบผลในทันที 23
  • 27. สาหรับตัวยาสาคัญซึ่งใช้สาหรับปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการแพ้รุนแรงนั้น คือ ยาอะดรีนาลีน หรือ อีพิเนฟริน (Adrenaline หรือ Epinephrine) ซึ่งเป็นยาที่ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อผู้ป่วยก่อนที่จะนาตัวส่ง โรงพยาบาล ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ที่อาการแพ้รุนแรงส่วนมากจะต้องพกยาดังกล่าวติดตัว ส่วนคนใกล้ชิดต้องเรียนรู้ วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้กับตนเองในกรณีเกิดอาการแพ้ฉุกเฉินกะทันหันขึ้นเพราะอาการแพ้ รุนแรงนั้นสามารถส่งผลกระทบให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้หากปฐมพยาบาลไม่ทัน ที่มำของรูปภำพ: https://medthai.com 24
  • 28. ทาความรู้จักอาการภูมิแพ้เฉียบพลันรุนแรง อาการภูมิแพ้เฉียบพลันรุนแรง สามารถเรียกได้อีกชื่อสั้นๆ ว่า “อาการแพ้รุนแรง” ซึ่งมีสาเหตุของอาการ เหมือนกับโรคภูมิแพ้ทั่วไปทุกอย่าง เพียงแต่ปฏิกิริยาของร่างกายที่ตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้นั้นจะมี มากกว่า 1 ระบบ และอาการจะรุนแรงกว่าหลายเท่า ระยะเวลาที่เกิดอาการแพ้รุนแรงนั้นจะไม่เกิน 2 ชั่วโมงหลังจากผู้ป่วยได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้าไป ทาให้ ผู้ป่วยและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดมักไม่ทันได้ตั้งตัวรับมือกับอาการที่เกิดขึ้น เช่น มีผื่นขึ้นตามตัว ใบหน้า ริมฝีปาก และดวงตาบวม วิงเวียนศีรษะ หรือหมดสติ อาเจียนอย่างหนัก ความดันโลหิตต่า 25
  • 29. ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้อาจต้องเผชิญกับอาการแทรกซ้อนต่าง ๆ หรือมีความเสี่ยงในการป่วยด้วยโรคอื่นเพิ่ม มากขึ้น เช่น โรคหอบหืด ผู้ป่วยที่เป็นภูมิแพ้จะมีโอกาสเป็นโรคหอบหืดมากกว่าคนทั่วไป โดยมีอาการหายใจลาบาก หอบเหนื่อย หายใจเสียงดัง ไอ แน่นหน้าอกหรือเจ็บที่หน้าอก มีปัญหาในการนอนเนื่องจากการหายใจที่ ผิดปกติ ทาให้นอนยากหรือนอนแล้วรู้สึกตัวขึ้นกลางดึก หอบหืดเกิดจากมีสารก่อภูมิแพ้เข้าไปในปอด ทาให้เกิดการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ หลอดลมอักเสบ พบมากในผู้ป่วย ภูมิแพ้อากาศซึ่งเป็นการป่วยเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจโดยตรง ภาวะแทรกซ้อนของโรคภูมิแพ้ 26
  • 30. โรคภูมิแพ้ขั้นรุนแรง (Anaphylaxis) ผู้ป่วยจะมีอาการแพ้ที่รุนแรงขึ้น เช่น มีผื่นขึ้นเต็มตัวและมีอาการคัน ตลอดเวลา เป็นลมพิษ หน้าซีดหรือหน้าแดง คอบวม แน่นหน้าอก หายใจติดขัด อาเจียน ท้องร่วง หากมี อาการเหล่านี้ควรรีบไปพบแพทย์ทันที ส่วนใหญ่พบในผู้ป่วยที่แพ้อาหาร แพ้แมลง และแพ้ยา อีกหนึ่งอาการที่พบมากในผู้ป่วยภูมิแพ้อากาศ คือ ไซนัสอักเสบ โดยมีอาการคือ ปวดศีรษะ โดยเฉพาะ บริเวณหน้าผาก รอบตา หัวคิ้ว ข้างจมูก คัดจมูก มีน้ามูกและเสมหะสีเขียวข้น ไอ มีไข้หายใจลาบาก นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้อาจมีอาการป่วยและโรคแทรกซ้อนอย่างอื่นอีก เช่น ผิวหนังอักเสบ กลาก การติดเชื้อในหูชั้นกลาง การติดเชื้อในปอด เป็นต้น ภาวะแทรกซ้อนของโรคภูมิแพ้ 27
  • 31. สิ่งที่ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ทุกคนต้องทราบคือ โรคภูมิแพ้เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้แต่ผู้ป่วย จะมีอาการเป็นๆ หายๆ ขึ้นอยู่กับว่า ตนเองได้ไปเข้าใกล้สารก่อภูมิแพ้ใดหรือไม่ การรักษาโรคภูมิแพ้โดยหลักๆ จะแบ่งเป็น 3 วิธีคือ 1. การรักษาโรคภูมิแพ้โดยรับประทานยาแก้แพ้ ยาแก้แพ้กลุ่มแรก หรือกลุ่มดั้งเดิม (First Generation Antihistamine) เป็นยาแก้แพ้กลุ่มแรกซึ่งช่วยลดการ หลั่งของสารฮิสตามีน และอาการภูมิแพ้อื่นๆ ได้ดี แต่มีข้อเสีย คือ ทาให้ผู้ป่วยง่วงซึม อ่อนเพลีย นอนไม่ หลับ เช่น คลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ไฮดรอไซซีน (hydroxyzine) การรักษาโรคภูมิแพ้ 28
  • 32. ยาแก้แพ้กลุ่มที่ 2 หรือยาต้านฮิสตามีนกลุ่มไม่ทาให้ง่วงซึม (Second Generation Antihistamine) เป็นยา แก้แพ้กลุ่มแรกที่ถูกพัฒนาโมเลกุลยาให้ใหญ่ขึ้น เพื่อไม่ให้เคมีของยาผ่านเข้าสู่สมอง และไปรบกวน ระบบประสาทส่วนกลางจนทาให้ผู้ป่วยง่วงซึม เช่น เฟกโซเฟนาดีน (Fexofenadine) เซทิริซีน (Cetirizine) คุณสมบัติหลักๆ ของยาแก้แพ้คือ ลดน้ามูก อาการไอ และจามเรื้อรัง ผื่นลมพิษ อาการคันตามร่าง โดย รูปแบบของยาจะแบ่งเป็น 4 แบบคือ แบบน้า (Liquids) แบบเม็ด (Pills) แบบพ่นจมูก (Nasal sprats) แบบหยอดยา (Eyes drops) ถึงแม้การรับประทานยาจะเป็นวิธีรักษาหลักที่ผู้ป่วยทุกโรคมักใช้เพื่อรักษาอาการ แต่ยาบางชนิดก็อาจ ส่งผลข้างเคียงให้เกิดอาการแพ้ยา (Drug Allergy) ได้และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต จึงต้องปรึกษาแพทย์ หรือเภสัชกรทุกครั้งก่อนใช้ยา 29
  • 33. 2. การรักษาโรคภูมิแพ้โดยการฉีดวัคซีน การฉีดวัคซีนภูมิแพ้เป็นการฉีดเอาสารก่อภูมิแพ้เข้าในร่างกาย เพื่อกระตุ้นให้ระบบภูมิคุ้มกันให้ทา ปฏิกิริยาต่อสารที่คุณแพ้และไม่ทาให้เกิดอาการแพ้อีก ผู้ป่วยโรคภูมิแพ้สามารถเข้ารับการฉีดวัคซีนภูมิแพ้ได้ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ โดยช่วง 5-6 เดือนแรก แพทย์จะฉีดวัคซีนที่แขนให้สัปดาห์ละ 1 ครั้งสลับข้างกัน จากนั้นแพทย์จะจะค่อยๆ เพิ่มปริมาณวัคซีนมากขึ้นจนถึงระดับสูงสุดที่ผู้ป่วยจะรับไหว รวมถึงความถี่ของการมารับวัคซีนที่จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย ระยะเวลาที่ผู้ป่วยเข้ารับการฉีดวัคซีนภูมิแพ้จะอยู่ที่ประมาณ 3-5 ปี ซึ่งแพทย์จะให้ผู้ป่วยหยุด รับวัคซีนได้ก็ต่อเมื่อไม่มีอาการแพ้เกิดขึ้นแล้ว แต่หากผู้ป่วยยังมีอาการแพ้อยู่หรือผลจากการรับวัคซีนยังไม่ดีพอ แพทย์ก็อาจยืดระยะเวลา การรับวัคซีนอย่างต่อเนื่องไปอีก 1 ปีหรือมากกว่านั้น 30
  • 34. 3. การรักษาโดยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง นอกเหนือจากการรับประทานยาแก้แพ้และฉีดวัคซีน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ยังเป็น วิธีการรักษาโรคภูมิแพ้ที่คุณสามารถทาได้ด้วยตนเอง ซึ่งคุณสามารถทาได้ตามคาแนะนาต่อไปนี้ • หลีกเลี่ยงอย่าเข้าใกล้หรือเสี่ยงที่จะได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้ามาในร่างกาย • หมั่นทาความสะอาดบ้านอยู่เสมอ • ตัดหญ้า และวัชพืชต่างๆ ที่คุณมีอาการแพ้หรือมีความเสี่ยงว่าจะแพ้ • กาจัดแมลง เช่น มด แมลงสาบ ตัวต่อ แตนที่เสี่ยงจะกัดต่อย และทาให้คุณเกิดแผลหรืออาการแพ้ได้ • รักษาอุณหภูมิของร่างกายตนเองให้อบอุ่นเสมอ และสวมเสื้อผ้าที่สะอาดทุกครั้ง • หมั่นออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ 31
  • 35. • รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และเป็นอาหารที่สะอาด ไม่เสี่ยงทาให้เกิดอาการแพ้โดยอาหารที่ มักทาให้เกิดอาการแพ้จะได้แก่ นมวัว ไข่ ถั่ว อาการทะเลที่มีเปลือก ปลา ธัญพืช เครื่องเทศ • หากิจกรรมทาเพื่อคลายเครียดเสมอ อย่าหักโหมทางานหนักจนพักผ่อนไม่เพียงพอ • ตากผ้า ปลอกหมอนหนุน ผ้าปูที่นอน พรมหรือผ้าปูรองต่างๆ ไว้ในที่แดดจัดเสมอเพื่อฆ่าเชื้อโรค • หลีกเลี่ยงไม่ไปอยู่ในที่ที่มีมลพิษทางอากาศสูง หรือมีสารเคมีที่เสี่ยงทาให้เกิดอาการแพ้นอกจากนี้ คุณยังควรพกหน้ากากอนามัยติดตัวทุกครั้งด้วย • หากคุณแพ้ขนสัตว์ควรหลีกเลี่ยงไม่เลี้ยงสัตว์หรือหากเลี้ยงสัตว์ไว้ในบ้าน ให้คุณพาสัตว์เลี้ยงไปฉีด ยาป้องกันขนร่วง หรือบารุงขนให้ไม่กลายเป็นฝุ่นละอองในบ้าน คาแนะนาที่กล่าวไปข้างต้นนั้นไม่ใช่แค่วิธีการรักษาภูมิแพ้เท่านั้น แต่ยังเป็นวิธีป้องกันโรคภูมิแพ้ได้อีก ด้วย ซึ่งหากคุณลองปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองดู โรคภูมิแพ้ก็ยากที่จะเกิดขึ้นกับตัวคุณ และคนที่คุณ รัก 32
  • 36. • เขียนบันทึก ลงบันทึกประจาวันว่าทากิจกรรมอะไรหรือรับประทานอะไรแล้วมีอาการ อย่างไร เป็นการศึกษาอาการแพ้รวมถึงให้ทราบสิ่งที่แพ้และสิ่งที่ไม่แพ้เพื่อการวางแผน รักษาอย่างเหมาะสมต่อไป • กินยา ยาจะช่วยป้องกันและบรรเทาอาการแพ้โดยผู้ป่วยภูมิแพ้ต้องกินยาตามที่แพทย์ กาหนด ไม่หยุดใช้ยาโดยพลการ เพราะอาจมีผลข้างเคียง มีอาการดื้อยา หรือมีอาการแพ้ที่ กาเริบขึ้น • เตรียมการในภาวะฉุกเฉิน สาหรับผู้ป่วยที่มีอาการแพ้รุนแรง ควรแจ้งอาการป่วยของตนกับ บุคคลใกล้ชิด สวมใส่สร้อยคอหรือสร้อยข้อมือแพทย์เตือนที่จะสื่อให้ผู้อื่นทราบถึงอาการ แพ้กาเริบในกรณีฉุกเฉินที่มีอาการจนไม่สามารถพูดสื่อสารได้หรือในบางราย แพทย์จะให้ ผู้ป่วยพกยาฉีดเอพิเนฟรินสาหรับฉีดรักษาด้วยตนเองหากอาการกาเริบ และเตรียมเบอร์โทร ฉุกเฉินที่จาเป็นไว้ในกรณีเร่งด่วนเสมอ 33