SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน เมื่อความขี้อาย บานปลายกลายเป็นความกลัว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวจุฑามาศ ฤทธิเดช เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวจุฑามาศ ฤทธิเดช เลขที่ 22
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เมื่อความขี้อาย บานปลายกลายเป็นความกลัว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Social Phobia
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวจุฑามาศ ฤทธิเดช
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันผู้คนส่วนมากเป็นคนที่ขี้อาย ไม่กล้าแสดงออกต่อหน้าผู้คน หรือเมื่อได้แสดงออกแล้วก็มักจะมี
อาการประหม่าให้เห็นอยู่บ่อยครั้ง ผู้คนบางส่วนอาจจะละเลยอาการเหล่านี้เพราะว่าพวกเขาจะแสดงอาการประหม่า
เฉพาะแค่ตอนได้อยู่ต่อหน้าผู้คนมากๆหรือได้ทากิจกรรมบางอย่างในที่สาธารณะและเมื่อได้รับการฝึกฝนบ่อยครั้งก็จะ
หายจากอาการประหม่าและวิตกกังวล แต่ผู้คนบางส่วนอาจจะเกิดอาการวิตกกังวล ประหม่าและอึดอัดทุกครั้งที่ได้อยู่
กับคนแปลกหน้า ซึ่งอาการเหล่านั้นอาจจะเป็นผลบานปลายให้เกิดโรคกลัวการเข้าสังคมหรือ social phobia ซึ่งโรค
นี้ผู้ป่วยบางคนที่กาลังเป็นโรคอาจจะยังไม่ทราบว่าตัวเองกาลังเผชิญหน้ากับโรคนี้อยู่ ทางผู้จัดทาโครงงานจึงเกิด
แนวคิดที่ว่าเราควรต้องศึกษาเกี่ยวกับโรคกลัวสังคมนี้ ทั้งเรื่องอาการ การรักษา การทาความเข้าใจ ฯลฯ เพื่อให้ผู้ที่
เผชิญหน้ากับโรคนี้อยู่ได้ทราบและรับมือกับโรคนี้ได้อย่างหายขาด
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ชี้แจงให้ได้ทราบว่าโรคนี้คืออะไร
2.ชี้แจงให้ได้ทราบถึงสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงและอาการของโรคนี้
3.ชี้แจงให้ได้ทราบถึงวิธีการรับมือและการรักษาโรคนี้
4.เพื่อศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคกลัวการเข้าสังคม
5.เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ให้กับผู้คนอีกมากมายที่ยังไม่รู้จักกับโรคกลัวการเข้าสังคม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงานนี้เป็นโครงงานเพื่อการศึกษาโดยมีขอบเขตเพื่อให้ความรู้ในผู้ที่ต้องการศึกษา ทาความเข้าใจเกี่ยวกับ
โรคกลัวสังคมหรือ social phobia เพื่อให้ผู้ศึกษาทราบถึงสาเหตุและปัจจัยต่างๆที่ทาให้เกิดโรคดังกล่าว แล้วหา
แนวทางในการแก้ปัญหาทั้งการรับมือกับโรคและการรักษาโรคนี้ด้วยวิธีต่างๆ
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคกลัวสังคม เป็นอาการป่วยประเภทหนึ่งซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินชีวิตของผู้ป่วย โดยเฉพาะใน
ด้านหน้าที่การงาน เป็นโรคที่สามารถรักษาได้ด้วยวิธีการปรับเปลี่ยนความคิดและมุมมองของตนเอง แต่ปัญหา
ของโรคคือผู้ป่วยหลายรายไม่รู้ว่าตนเองป่วย หรือบางรายไม่เข้าใจและยังสับสนระหว่างความประหม่า
ธรรมดากับโรคกลัวสังคม ทาให้ไม่มีการดูแลตนเองที่ถูกต้อง โรคกลัวสังคม คือ การที่ผู้ป่วยมีอาการประหม่า
รู้สึกไม่สบายใจ อึดอัด กังวลใจ เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่อาจมีผู้อื่นสังเกตจ้องมองตนเอง เช่น การพูดคุยกับคน
ที่ไม่คุ้นเคย การทากิจกรรมในที่สาธารณะ หรือนาเสนองานหน้าชั้นเรียน เป็นต้น โดยมีอาการแสดงคือเมื่ออยู่
ในสถานการณ์ดังกล่าว มักใจสั่น มือสั่น เสียงสั่น เหงื่อออกมาก อันเกิดจากความตื่นเต้นและความกังวลที่
เกิดขึ้นในจิตใจ ทั้งนี้ความตื่นเต้นที่เกิดขึ้น บางครั้งเป็นเรื่องธรรมดา ที่ทุกคนสามารถเจอได้ ไม่เฉพาะกับ
ผู้ป่วยด้วยโรคกลัวสังคมเท่านั้น ความตื่นเต้นธรรมดามักเกิดเป็นครั้งคราว แต่สาหรับผู้ป่วยโรคกลัวสังคมจะมี
อาการทุกครั้งที่ต้องตกอยู่ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นตัวกระตุ้นอาการนั่นเอง นักจิตวิทยากล่าวว่า สาเหตุของ
โรคกลัวการเข้าสังคมมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูของครอบครัว แต่ก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้แน่ชัดถึงสาเหตุที่
แท้จริง เพราะบางกรณีโรคนี้ก็เกิดกับคนในครอบครัวเพียงแค่คนเดียว คนอื่น ๆ ไม่มีอาการของโรคเลย ทั้งนี้
อาจจะอธิบายในทางชีววิทยาได้ว่า นอกจากการเลี้ยงดูของครอบครัวแล้ว บางทีสาเหตุของโรคยังอาจ
เกี่ยวข้องกับระบบการทางานของสมอง พันธุกรรม การประมวลผลในการกระทาของตัวเองและการตอบสนอง
ของบุคคลอื่น รวมไปถึงพฤติกรรมฝังใจตั้งแต่เด็ก ๆ ด้วย สาหรับการรักษาโรคกลัวการเข้าสังคมสิ่งสาคัญของ
การรักษาโรคคือ ผู้ป่วยต้องตระหนักถึงความผิดปกติที่กาลังเกิดขึ้นกับตนและพร้อมที่จะเข้ารับการบาบัด โดย
โรคนี้สามารถรักษาให้หายได้ หากได้รับการบาบัดอย่างต่อเนื่อง
-การรักษาด้วยยา โดยมากจิตแพทย์จะสั่งยาลดอาการซึมเศร้า (Antidepressants) และยาระงับ
ความวิตกกังวล (Anti-Anxiety) ซึ่งระดับความรุนแรงของยาที่ใช้จะขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการในผู้ป่วย
แต่ละราย
-การรักษาด้วยจิตบาบัด เทคนิคที่นิยมใช้และถือว่าได้ผลมากคือการบาบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิด
และพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy: CBT) เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการรับรู้
(ความคิด) พฤติกรรมหรือการกระทาของผู้ป่วยเข้ากับอาการกลัวและวิตกกังวล จึงช่วยให้ผู้ป่วยสามารถระบุ
สาเหตุการกลัว รวมทั้งเรียนรู้ที่จะแก้ไขปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทาที่ก่อให้เกิดความวิตกกังวลหรือ
ความกลัวขึ้นได้
-การฝึกทักษะอื่นๆ ที่จาเป็น เช่น ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับคนรอบข้าง ความเครียดความวิตก
กังวล ทักษะการพูดต่อหน้าสาธารณะ ทักษะการเผชิญหน้ากับสิ่งใหม่ๆ เป็นต้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- ศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคกลัวการเข้าสังคม
- รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโรคกลัวการเข้าสังคม
- เรียบเรียงข้อมูลทั้งหมด
- จัดทาโครงงาน
4
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
- โทรศัพท์
งบประมาณ
- 100 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้ที่ได้ศึกษาโครงงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผู้เป็นโรคกลัวสังคมมากยิ่งขึ้น
2.ผู้ที่ได้ศึกษาโครงงานสามารถหาวิธีแก้ไขปัญหาและปรับตัวให้อยู่กับผู้เป็นโรคกลัวสังคมได้
3.สามารถนาโครงงานนี้ไปเผยแพร่เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อื่นได้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระสุขศึกษา
กลุ่มสาระคอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. https://www.facebook.com/D2JED/posts/527524300714141/
2. https://health.kapook.com/view84729.html
3. https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article

More Related Content

What's hot

2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
KTPH2348
 

What's hot (20)

สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ 604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
607_07
607_07607_07
607_07
 
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
2562 final-project-605 from Tun Sungkabunchoo
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Chel
ChelChel
Chel
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
งานเดี่ยว
งานเดี่ยวงานเดี่ยว
งานเดี่ยว
 
21
2121
21
 
11111
1111111111
11111
 
รัชนาท 2559-project com
รัชนาท 2559-project comรัชนาท 2559-project com
รัชนาท 2559-project com
 
รัชนาท 2559-project
รัชนาท 2559-project รัชนาท 2559-project
รัชนาท 2559-project
 
Kittapad
KittapadKittapad
Kittapad
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -m
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
5
55
5
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 

Similar to 2562 final-project 22 (1)

2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida
ssuserccc094
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
fauunutcha
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
Likhasiri
 

Similar to 2562 final-project 22 (1) (20)

2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Alopecia
AlopeciaAlopecia
Alopecia
 
2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida
 
2562final-project 38
2562final-project 382562final-project 38
2562final-project 38
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
At1
At1At1
At1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
2562 final-project 27
2562 final-project  272562 final-project  27
2562 final-project 27
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final-project 41
2562 final-project  412562 final-project  41
2562 final-project 41
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Computer project Natnicha 603
Computer project Natnicha 603Computer project Natnicha 603
Computer project Natnicha 603
 
ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)
ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)
ระเบิดปรมาณู (Nuclear Fusion)
 
2562 final-project 33 (1)
2562 final-project  33 (1)2562 final-project  33 (1)
2562 final-project 33 (1)
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766
 
2562 final-project 49766
2562 final-project  497662562 final-project  49766
2562 final-project 49766
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 12
2562 final-project 122562 final-project 12
2562 final-project 12
 

More from ssuser8b25961 (14)

Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
Comproject2
Comproject2Comproject2
Comproject2
 
Gramshire elementary-1
Gramshire elementary-1Gramshire elementary-1
Gramshire elementary-1
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
 
Work
WorkWork
Work
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
Work 1-khemmika 1
Work 1-khemmika 1Work 1-khemmika 1
Work 1-khemmika 1
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
2562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-322562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-32
 

2562 final-project 22 (1)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน เมื่อความขี้อาย บานปลายกลายเป็นความกลัว ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวจุฑามาศ ฤทธิเดช เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวจุฑามาศ ฤทธิเดช เลขที่ 22 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เมื่อความขี้อาย บานปลายกลายเป็นความกลัว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Social Phobia ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวจุฑามาศ ฤทธิเดช ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันผู้คนส่วนมากเป็นคนที่ขี้อาย ไม่กล้าแสดงออกต่อหน้าผู้คน หรือเมื่อได้แสดงออกแล้วก็มักจะมี อาการประหม่าให้เห็นอยู่บ่อยครั้ง ผู้คนบางส่วนอาจจะละเลยอาการเหล่านี้เพราะว่าพวกเขาจะแสดงอาการประหม่า เฉพาะแค่ตอนได้อยู่ต่อหน้าผู้คนมากๆหรือได้ทากิจกรรมบางอย่างในที่สาธารณะและเมื่อได้รับการฝึกฝนบ่อยครั้งก็จะ หายจากอาการประหม่าและวิตกกังวล แต่ผู้คนบางส่วนอาจจะเกิดอาการวิตกกังวล ประหม่าและอึดอัดทุกครั้งที่ได้อยู่ กับคนแปลกหน้า ซึ่งอาการเหล่านั้นอาจจะเป็นผลบานปลายให้เกิดโรคกลัวการเข้าสังคมหรือ social phobia ซึ่งโรค นี้ผู้ป่วยบางคนที่กาลังเป็นโรคอาจจะยังไม่ทราบว่าตัวเองกาลังเผชิญหน้ากับโรคนี้อยู่ ทางผู้จัดทาโครงงานจึงเกิด แนวคิดที่ว่าเราควรต้องศึกษาเกี่ยวกับโรคกลัวสังคมนี้ ทั้งเรื่องอาการ การรักษา การทาความเข้าใจ ฯลฯ เพื่อให้ผู้ที่ เผชิญหน้ากับโรคนี้อยู่ได้ทราบและรับมือกับโรคนี้ได้อย่างหายขาด วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ชี้แจงให้ได้ทราบว่าโรคนี้คืออะไร 2.ชี้แจงให้ได้ทราบถึงสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงและอาการของโรคนี้ 3.ชี้แจงให้ได้ทราบถึงวิธีการรับมือและการรักษาโรคนี้ 4.เพื่อศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับโรคกลัวการเข้าสังคม 5.เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ให้กับผู้คนอีกมากมายที่ยังไม่รู้จักกับโรคกลัวการเข้าสังคม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานนี้เป็นโครงงานเพื่อการศึกษาโดยมีขอบเขตเพื่อให้ความรู้ในผู้ที่ต้องการศึกษา ทาความเข้าใจเกี่ยวกับ โรคกลัวสังคมหรือ social phobia เพื่อให้ผู้ศึกษาทราบถึงสาเหตุและปัจจัยต่างๆที่ทาให้เกิดโรคดังกล่าว แล้วหา แนวทางในการแก้ปัญหาทั้งการรับมือกับโรคและการรักษาโรคนี้ด้วยวิธีต่างๆ
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคกลัวสังคม เป็นอาการป่วยประเภทหนึ่งซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินชีวิตของผู้ป่วย โดยเฉพาะใน ด้านหน้าที่การงาน เป็นโรคที่สามารถรักษาได้ด้วยวิธีการปรับเปลี่ยนความคิดและมุมมองของตนเอง แต่ปัญหา ของโรคคือผู้ป่วยหลายรายไม่รู้ว่าตนเองป่วย หรือบางรายไม่เข้าใจและยังสับสนระหว่างความประหม่า ธรรมดากับโรคกลัวสังคม ทาให้ไม่มีการดูแลตนเองที่ถูกต้อง โรคกลัวสังคม คือ การที่ผู้ป่วยมีอาการประหม่า รู้สึกไม่สบายใจ อึดอัด กังวลใจ เมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่อาจมีผู้อื่นสังเกตจ้องมองตนเอง เช่น การพูดคุยกับคน ที่ไม่คุ้นเคย การทากิจกรรมในที่สาธารณะ หรือนาเสนองานหน้าชั้นเรียน เป็นต้น โดยมีอาการแสดงคือเมื่ออยู่ ในสถานการณ์ดังกล่าว มักใจสั่น มือสั่น เสียงสั่น เหงื่อออกมาก อันเกิดจากความตื่นเต้นและความกังวลที่ เกิดขึ้นในจิตใจ ทั้งนี้ความตื่นเต้นที่เกิดขึ้น บางครั้งเป็นเรื่องธรรมดา ที่ทุกคนสามารถเจอได้ ไม่เฉพาะกับ ผู้ป่วยด้วยโรคกลัวสังคมเท่านั้น ความตื่นเต้นธรรมดามักเกิดเป็นครั้งคราว แต่สาหรับผู้ป่วยโรคกลัวสังคมจะมี อาการทุกครั้งที่ต้องตกอยู่ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นตัวกระตุ้นอาการนั่นเอง นักจิตวิทยากล่าวว่า สาเหตุของ โรคกลัวการเข้าสังคมมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูของครอบครัว แต่ก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้แน่ชัดถึงสาเหตุที่ แท้จริง เพราะบางกรณีโรคนี้ก็เกิดกับคนในครอบครัวเพียงแค่คนเดียว คนอื่น ๆ ไม่มีอาการของโรคเลย ทั้งนี้ อาจจะอธิบายในทางชีววิทยาได้ว่า นอกจากการเลี้ยงดูของครอบครัวแล้ว บางทีสาเหตุของโรคยังอาจ เกี่ยวข้องกับระบบการทางานของสมอง พันธุกรรม การประมวลผลในการกระทาของตัวเองและการตอบสนอง ของบุคคลอื่น รวมไปถึงพฤติกรรมฝังใจตั้งแต่เด็ก ๆ ด้วย สาหรับการรักษาโรคกลัวการเข้าสังคมสิ่งสาคัญของ การรักษาโรคคือ ผู้ป่วยต้องตระหนักถึงความผิดปกติที่กาลังเกิดขึ้นกับตนและพร้อมที่จะเข้ารับการบาบัด โดย โรคนี้สามารถรักษาให้หายได้ หากได้รับการบาบัดอย่างต่อเนื่อง -การรักษาด้วยยา โดยมากจิตแพทย์จะสั่งยาลดอาการซึมเศร้า (Antidepressants) และยาระงับ ความวิตกกังวล (Anti-Anxiety) ซึ่งระดับความรุนแรงของยาที่ใช้จะขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการในผู้ป่วย แต่ละราย -การรักษาด้วยจิตบาบัด เทคนิคที่นิยมใช้และถือว่าได้ผลมากคือการบาบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิด และพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy: CBT) เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการรับรู้ (ความคิด) พฤติกรรมหรือการกระทาของผู้ป่วยเข้ากับอาการกลัวและวิตกกังวล จึงช่วยให้ผู้ป่วยสามารถระบุ สาเหตุการกลัว รวมทั้งเรียนรู้ที่จะแก้ไขปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทาที่ก่อให้เกิดความวิตกกังวลหรือ ความกลัวขึ้นได้ -การฝึกทักษะอื่นๆ ที่จาเป็น เช่น ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับคนรอบข้าง ความเครียดความวิตก กังวล ทักษะการพูดต่อหน้าสาธารณะ ทักษะการเผชิญหน้ากับสิ่งใหม่ๆ เป็นต้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - ศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคกลัวการเข้าสังคม - รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโรคกลัวการเข้าสังคม - เรียบเรียงข้อมูลทั้งหมด - จัดทาโครงงาน
  • 4. 4 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - โทรศัพท์ งบประมาณ - 100 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้ที่ได้ศึกษาโครงงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผู้เป็นโรคกลัวสังคมมากยิ่งขึ้น 2.ผู้ที่ได้ศึกษาโครงงานสามารถหาวิธีแก้ไขปัญหาและปรับตัวให้อยู่กับผู้เป็นโรคกลัวสังคมได้ 3.สามารถนาโครงงานนี้ไปเผยแพร่เพื่อให้ความรู้แก่ผู้อื่นได้ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระสุขศึกษา กลุ่มสาระคอมพิวเตอร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. https://www.facebook.com/D2JED/posts/527524300714141/ 2. https://health.kapook.com/view84729.html 3. https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article