SlideShare a Scribd company logo
 ที่ตั้ง เอเชียใต้ ตั้งอยู่ละติจูดที่ 5-36 องศาเหนือ และระหว่างลองจิจูดที่ 61-90
องศาตะวันออก อยู่ระหว่างเทือกเขาหิมาลัย ทะเลอาหรับ อ่าวเบงกอล และมหาสมุทร
อินเดีย มีเนื้อที่รวม 4.5 ล้าน ตร.กม. หรือ 10% ของทวีปเอเชีย
 ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย
 มี 7 ประเทศ ตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศคือ อินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ
ภูฏาน เนปาล อยู่บนภาคพื้นสมุทร 2 ประเทศ คือ ศรีลังกา และมัลดีฟส์
 มีจานวนประมาณ 1,100 ล้านคน ประชากรส่วนใหญ่คือ นิกรอยด์(ผิวดา) และ
คอเคซอยด์(ผิวขาว) ภาษาที่สาคัญ ได้แก่ภาษาฮินดู และภาษาอังกฤษ ศาสนาที่
สาคัญ ได้แก่ ฮินดู อิสลาม คริสต์
 เอเชียใต้เป็นภูมิภาคที่มีประชากรอยู่อาศัยหนาแน่นมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งคิด
เปรียบเทียบเป็นสัดส่วนเท่ากับ 1 ใน 3 ของชาวเอเชียทั้งหมด หรือ 1 ใน 5 ของ
ประชากรโลก อัตราความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 305 คนต่อพื้นที่ 1 ตาราง
กิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง
7 เท่า
 ทวีปเอเชียมีสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ทั้งลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งลักษณะทางประชากร การได้รับอิทธิพลจากต่างชาติในยุค
ล่าอาณานิคมของตะวันตก ทาให้มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ ลักษณะและรูปแบบ
การเมืองการปกครองของแต่ละประเทศจึงแตกต่างกันออกไป
 เอเชียใต้ปัจจุบันมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา เป็นมรดกที่
อังกฤษมอบให้เป็นของขวัญแก่เอเชียใต้ และอินเดียได้ชื่อว่าเป็นประเทศเลือกตั้งตาม
กฎหมาย
เอเชียใต้มีลักษณะภูมิประเทศ คือ ทางตอนเหนือเป็นเขตเทือกเขาสูง
ถัดลงมาเป็นที่ราบใหญ่เกิดมาจากการตกตะกอนของดินในแม่น้าสินธุ แม่น้าคง
คาและสาขา ถัดจากที่ราบใหญ่ลงมาทางตอนกลางของคาบสมุทรอินเดียเป็น
เขตที่ราบสูงหินเก่าที่มี เทือกเขาเตี้ยๆกั้นเป็นแนวอยู่ทั้งสามด้าน สาหรับชายฝั่ง
คาบสมุทรจะมีที่ราบแคบๆอยู่ทั้งสองฟาก
เอเชียใต้มีภูมิอากาศแบบ มรสุมเขตร้อนและทุ่งหญ้าเขตร้อน
เนื่องจากได้รับอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและมรสุมตะวันตก
เฉียงใต้แต่บริเวณที่อยู่เหนือเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ขึ้นไปจะมีอากาศแบบ
เมืองหนาวภาคพื้นทวีปและมีอุณหภูมิต่ากว่าทางใต้ และช่วงเปลี่ยนฤดู
ระหว่างช่วงต่อของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียง-เหนือ
มักเกิดพายุหมุนเขตร้อนที่เรียกว่า "ไซโคลน"
 ทุกประเทศในเอเชียใต้ต่างต้องการยกระดับวิถีชีวิตของพลเมืองให้ดีขึ้นจึง
ต้องพัฒนา เศรษฐกิจ การเกษตร อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อบริโภคให้ได้
จานวนมากกว่าพลเมืองของตน
 เศรษฐกิจขึ้นอยู่กับอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 25 ของประชากร
มี มาตรฐานการครองชีพต่าฐานะยากจน การผลิตอาหารไม่เพียงพอกับ
ประชากรเกิดความอดอยากและขาดแคลนอาหารอยู่เสมอ
 สัตว์เลี้ยงที่สาคัญได้แก่ โค กระบือ แพะ เลี้ยงเพื่อให้นมเนย (ยกเว้นแพะ)
ประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมมากที่สุดในภูมิภาคนี้คือ ประเทศ
อินเดีย
 การเพาะปลูก ส่วนใหญ่เป็นการเพาะปลูกแบบยังชีพ พืชที่ปลูกเป็นพืชอาหาร
เช่น ข้าวเจ้า และอ้อย ซึ่งปลูกกันมากเขตที่ราบลุ่มแม่น้าคงคาของอินเดีย ส่วน
ปากีสถานมีอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง พืชที่ปลูกได้ คือ ข้าวสาลี ข้าว ฟ่าง และ
ฝ้าย
 การเลี้ยงสัตว์ เป็นอาชีพที่สาคัญของผู้คนในเอเชียใต้ สัตว์ที่เลี้ยงส่วนใหญ่ คือ
โค กระบือ แพะ แกะ ฯลฯ โดยมากเลี้ยงไว้เพื่อใช้งานในไร่นา ใช้บรรทุกขนส่ง
สินค้าในชนบท และใช้เนื้อและนมเป็นอาหาร
 การประมง โดยทั่วไปเป็นการประมงแบบยังชีพ ในปัจจุบัน อินเดียได้
พัฒนาการประมงของตนก้าวหน้าไปมาก โดยได้รับการสนับสนุนด้านเทคโนโลยี
และร่วมทุนกับประเทศอุตสาหกรรมประมงชั้นน่าอย่างญี่ปุ่นและไต้หวัน
 การทาป่าไม้ ในปัจจุบันภูมิภาคเอเชียใต้สูญเสียพื้นที่ป่าไม้ไปมาก เพราะมีการ
ขยายพื้นที่เพาะปลูกให้สมดุลกับจานวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น การท่าป่าไม้จึงลด
ความสาคัญลง แหล่งป่าไม้ที่ยังคงสภาพความสมบูรณ์อยู่บริเวณทางตอนเหนือ
ของอินเดีย เนปาล และภาคตะวันออกของบังคลาเทศ
 การอุตสาหกรรม สภาพอุตสาหกรรมของประเทศต่างๆ ในเอเชียใต้ยังอยู่ใน
ระยะเริ่มต้นและไม่พัฒนาเท่าที่ควร มีเพียงอินเดียชาติเดียวที่ก้าวหน้าไปมาก
เพราะมีวัตถุดิบแร่ธาตุทั้งเหล็กและถ่านหินจานวนมาก อุตสาหกรรมที่สาคัญของ
อินเดีย คือ การผลิตเหล็กและเหล็กกล้า สิ่งทอ และเคมีภัณฑ์
 การพาณิชยกรรม เอเชียใต้เป็นภูมิภาคที่มีจานวนประชากรมาก ผลผลิตใน
ด้านต่างๆ จึงเน้นเพื่อการบริโภคภายในภูมิภาค การค้าระหว่างประเทศส่วน
ใหญ่จึงเป็นการค้ากับชาติในภูมิภาคเอเชียใต้ด้วยกัน โดยมีสินค้าเข้าและ
สินค้าออกที่สาคัญ ดังนี้
 1) สินค้าออก ส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์จาการเกษตรกรรม เช่น ผ้าฝ้าย ชา ปอกระเจา กระสอบ น้าตาลทราย
ฯลฯ
 2) สินค้าเข้า ได้แก่ เครื่องจักร เครื่องเหล็ก อุปกรณ์การไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ปุ๋ยเคมี
และผลิตภัณฑ์จากอาหาร ฯลฯ
 1.ปัญหาด้านการเมือง เกิดการลอบสังหารประธานาธิบดีหลายครั้ง เช่น นายอาซีฟ อาลี ซาร์
ดารีถูกลอบสังหารด้วยระเบิดพลีชีพ
 2. ปัญหากลุ่มก่อการร้ายในประเทศ มีกลุ่มตาลีบันและกลุ่มอื่นๆคอยก่อการร้ายตามแนว
ชายแดน จึงคิดแก้ไขปัญหาด้วยการเจรจาก่อนแล้วจึงค่อยใช้ความรุนแรง โดยมีสปอนเซอร์
เป็นอเมริกา
 3.ปัญหาด้านอุตสาหกรรม มีจานวนโรงงานน้อยมาก มีการเติบโตภาคอุตสาหกรรมเพียงร้อย
ละ10.4ต้องใช้คนงานประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินเดีย ประเทศที่ประสบปัญหานี้ เช่น ประเทศ
ภูฏาน
 4.ปัญหาความยากจน เนื่องมาจากส่วนใหญ่เป็นประเทศที่ปิด จึงทาการเปิดเป็นประเทศเสรี
ทางเศรษฐกิจ
 SAARC: South Asian Association for Reginal
Cooperation: สมาคมเพื่อความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ก่อกาเนิดขึ้น
ใน ค.ศ.1985 โดยผู้นากลุ่มประเทศเอเชียใต้ 7 ประเทศ ได้แก่ บังคลาเทศ ภูฐาน
อินเดีย มัลดีฟส์ เนปาล ปากีสถาน ศรีลังกา เพื่อเพิ่มความร่วมมือในภูมิภาค
โดยเฉพาะทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยจะมีการประชุมผู้นารัฐบาลของ
ประเทศสมาชิกในทุกปี เพื่อกาหนดนโยบาย และแนวทางความร่วมมือใน
ภูมิภาคตั้งอยู่ที่กรุงกาฎมัณฑุ (Kathmandu) ประเทศเนปาล
 แยกตัวออกมาจากประเทศสหภาพโซเวียต เมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วย 8
ประเทศ คือ คาซัคสถาน อุซเบกิซสถาน คีร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน ทาจิกิ
สถาน จอร์เจีย อาร์เมเนีย และ อาเซอร์ไบจาน มีเนื้อที่ 4.2 ล้านตารางกิโลเมตร
 ตั้งอยู่ระว่างละติจูดที่ 36 – 56 องศาเหนือ และลองติจูดที่ 40 – 88 องศา
ตะวันออกเอเชียกลางแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ที่มีทะเลสาบแคสเปียนคั่นอยู่ คือ
ดินแดนด้านตะวันออกของ ทะเลสาบแคสเปียน ได้แก่ คาซัคสถาน อุซเบกิซ
สถาน คีร์กิซสถาน เติร์กเมนิสถาน และ ทาจิกิสถาน กับดินแดนทางตะวันตก
ของทะเลสาบแคสเปียน ได้แก่ จอร์เจีย อาร์เมเนีย และ อาเซอร์ไบจาน
 เป็นภูมิภาคที่มีจานวนประชากรน้อยที่สุดของทวีปเอเชีย บริเวณที่มีประชากรหนาแน่น
ได้แก่ อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย ส่วนบริเวณที่มีประชากรเบาบางคือ
คาซัคสถานและเติร์กเมนิสถาน ส่วนใหญ่เป็นพวกคอเคซอยด์ หรือพวกผิวขาว ใช้
ภาษารัสเซียเป็นภาษากลาง เนื่องจากเคยอยู่ใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต
 ประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียน ประชากรส่วนใหญ่นับศาสนา
อิสลาม ส่วนประเทศที่อยู่ทางตะวันตกของทะเลสาบแคสเปียน ประชากรส่วนใหญ่นับ
ถือศาสนาคริสต์
 คาซัคสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย
 อุซเบกิสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย
 คีร์กีซสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐ
 เติร์กเมนิสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 ทาจิกิสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย
 จอร์เจีย มีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย
 อาร์เมเนีย มีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย
 อาเซอร์ไบจานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐแบบมีผู้แทน
 อากาศส่วนใหญ่ของเอเชียกลางแห้งแล้งเป็นทะเลทรายและกึ่งทะเลทรายในเขตอบอุ่น
เพราะอยู่ในเขตอิทธิพลของลมที่พัดมาจากเขตความกดอากาศสูงภายในทวีปไม่มี
ความชื้นมีแต่ความแห้งแล้ง อยู่ห่างไกลจากทะเลและมีภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงและ
เทือกเขาเป็นขอบ ทาให้ได้รับอิทธิพลความชื้นจากทะเลน้อย
 ภูมิประเทศในเอเชียกลางแบ่งออกเป็น 2 เขต
 1. เขตเทือกเขาและที่ราบสูง เทือกเขาทางตะวันออกเป็นแนวภูเขาสูงที่ต่อเนื่องมาจาก
แนวเทือกเขาในเอเชีย ส่วนเทือกเขาทางใต้ ได้แก่ เทือกเขาคอเคซัส ในประเทศ จอร์เจีย
อาร์เมเนียและอาเซอร์ไบจาน ส่วนที่ราบสูง เป็นที่ราบสูงเชิงเขาลาดลงสู่ที่ราบและ
ทะเลสาบแคสเปียนทางตะวันตก ได้แก่ ที่ราบสูงทางภาคเหนือและภาคตะวันออกใน
ประเทศคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถานและมีทะเลสาบบอลคาซ ซึ่งเป็น
ทะเลสาบบนที่ราบสูงอยู่ทางตะวันออกของภูมิภาค
 2. เขตที่ราบ ได้แก่ ที่ราบที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียน เรียกว่า ที่ราบตู
ราน ในประเทศ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน ซึ่งเป็นที่ราบต่อ
เนื่องมาจากที่ราบไซบีเรีย ในเขตที่ราบนี้มีทะเลสาบที่สาคัญคือ ทะเลสาบอูรา
 ป่าไม้
 มีน้อยเพราะพื้นที่ส่วนใหญ่แห้งแล้งเป็นทะเลทรายและกึ่งทะเลทราย แต่มี
ทุ่งหญ้าอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเลี้ยงสัตว์
 ทรัพยากรแร่ธาตุ
 น้ามันและก๊าซธรรมชาติ แหล่งผลิตสาคัญได้แก่ อาเซอร์ไบจาน เติร์กเมนิ
สถาน คาซัคสถานและคีร์กีซ
 ถ่านหิน แหล่งผลิตสาคัญ คือ คาซัคสถาน จอร์เจีย ทาจิกิสถาน
 เหล็ก แหล่งผลิตสาคัญคือ คาซัคสถาน อาเซอร์ไบจาน โครเมียม
คาซัคสถานเป็นประเทศที่ผลิตได้มากที่สุดในโลก
 ทองคา แหล่งผลิตสาคัญคือ คีร์กีซ อาร์เมเนีย
 ทองแดง แหล่งผลิตสาคัญคือ อาร์เมเนีย คาซัคสถาน
 การเพาะปลูก มีการปลูกข้าวสาลี ฝ้าย ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ในเขตที่ราบทางตะวันออก
ของทะเลสาบแคสเปียน และที่ราบลุ่มแม่น้าทางตะวันตกของทะเลสาบแคสเปียน มีการ
ปลูก พืชผลเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ข้าวสาลี องุ่น ส้ม พืชผัก
 การเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ แกะ แพะ โคเนื้อ โคนม ม้า ลา ซึ่งเป็นแหล่งเลี้ยงสัตว์ที่สาคัญของโลก
เพราะพื้นทีส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้าในการเลี้ยงสัตว์
 การอุตสหากรรม ส่วนใหญ่อยู่ประเทศ คาซัคสถาน อาร์เมเนีย และอาเซอร์ไบจาน
ได้แก่ การผลิตเหล็กและเหล็กกล้า ยานยนต์ เครื่องจักรการเกษตร ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์
สิ่งทอ
 การประมง แหล่งประมงสาคัญคือ ทะเลสาบแคสเปียน การผลิตไข่ปลาคาร์เวียร์ ที่ได้จาก
ปลาสเตอร์เจียน ในเขตเติร์กเมนิสถาน อาเซอร์ไบจานและคาซัคสถาน
 เคยเกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ เมื่อหลายประเทศในเอเชียกลางแยกตัวออกมาจาก
สหภาพโซเวียด ทาให้เกิดปัญหาที่ประเทศที่เกิดใหม่ประสบกันคือปัญหาทางด้าน
เศรษฐกิจ จึงต้องไปพึ่งโซเวียดแต่โซเวียดเองก็กาลังประสบปัญหาหนี้สินจากการสร้าง
กองกาลังทหาร จึงใช้เวลาหลายสิบปีกว่าเศรษฐกิจมั่นคง
 ปัญหาด้านการก่อการร้าย มีกลุ่มมุสลิมก่อการร้ายหัวรุนแรงของเติร์กเมนิสถานที่
ปัจจุบันลี้ภัยอยู่ในทาจิกิสถาน เป็นปัญหาที่ยังแก้ไม่ตก
 ปัญหาข้อพิพาททางดินแดน ซึ่งอาร์เมเนียกับอาร์เซอร์ไบจาน มีปัญหาเรื่องดินแดน
ซึ่งปัจจุบันตัดสินว่าเป็นของอาร์เซอร์ไบจาน แต่อาร์เมเนียยังอ้างว่าเป็นของตน
practice1

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
Sompak3111
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
พัน พัน
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Pracha Wongsrida
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
jeeraporn
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Pracha Wongsrida
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
Infinity FonFn
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
Choengchai Rattanachai
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 

What's hot (20)

วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 

Similar to practice1

Slide Presentation India
Slide Presentation IndiaSlide Presentation India
Slide Presentation India
kantoodva
 
Work6 99999
Work6 99999Work6 99999
Work6 99999
Ict Krutao
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
หรร 'ษๅ
 
อินเดีย
อินเดียอินเดีย
อินเดีย
Lilrat Witsawachatkun
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
หรร 'ษๅ
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanamon Bannarat
 
นายธนสร สิทธิสมาน ม.4/10 เลขที่ 27
นายธนสร สิทธิสมาน ม.4/10 เลขที่ 27นายธนสร สิทธิสมาน ม.4/10 เลขที่ 27
นายธนสร สิทธิสมาน ม.4/10 เลขที่ 27Stevejob2557
 

Similar to practice1 (9)

work1
work1work1
work1
 
Slide Presentation India
Slide Presentation IndiaSlide Presentation India
Slide Presentation India
 
India
IndiaIndia
India
 
Work6 99999
Work6 99999Work6 99999
Work6 99999
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
อินเดีย
อินเดียอินเดีย
อินเดีย
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
นายธนสร สิทธิสมาน ม.4/10 เลขที่ 27
นายธนสร สิทธิสมาน ม.4/10 เลขที่ 27นายธนสร สิทธิสมาน ม.4/10 เลขที่ 27
นายธนสร สิทธิสมาน ม.4/10 เลขที่ 27
 

practice1

  • 1.
  • 2.
  • 3.  ที่ตั้ง เอเชียใต้ ตั้งอยู่ละติจูดที่ 5-36 องศาเหนือ และระหว่างลองจิจูดที่ 61-90 องศาตะวันออก อยู่ระหว่างเทือกเขาหิมาลัย ทะเลอาหรับ อ่าวเบงกอล และมหาสมุทร อินเดีย มีเนื้อที่รวม 4.5 ล้าน ตร.กม. หรือ 10% ของทวีปเอเชีย  ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย  มี 7 ประเทศ ตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศคือ อินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ ภูฏาน เนปาล อยู่บนภาคพื้นสมุทร 2 ประเทศ คือ ศรีลังกา และมัลดีฟส์
  • 4.  มีจานวนประมาณ 1,100 ล้านคน ประชากรส่วนใหญ่คือ นิกรอยด์(ผิวดา) และ คอเคซอยด์(ผิวขาว) ภาษาที่สาคัญ ได้แก่ภาษาฮินดู และภาษาอังกฤษ ศาสนาที่ สาคัญ ได้แก่ ฮินดู อิสลาม คริสต์  เอเชียใต้เป็นภูมิภาคที่มีประชากรอยู่อาศัยหนาแน่นมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งคิด เปรียบเทียบเป็นสัดส่วนเท่ากับ 1 ใน 3 ของชาวเอเชียทั้งหมด หรือ 1 ใน 5 ของ ประชากรโลก อัตราความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 305 คนต่อพื้นที่ 1 ตาราง กิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง 7 เท่า
  • 5.
  • 6.  ทวีปเอเชียมีสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ทั้งลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งลักษณะทางประชากร การได้รับอิทธิพลจากต่างชาติในยุค ล่าอาณานิคมของตะวันตก ทาให้มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ ลักษณะและรูปแบบ การเมืองการปกครองของแต่ละประเทศจึงแตกต่างกันออกไป  เอเชียใต้ปัจจุบันมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา เป็นมรดกที่ อังกฤษมอบให้เป็นของขวัญแก่เอเชียใต้ และอินเดียได้ชื่อว่าเป็นประเทศเลือกตั้งตาม กฎหมาย
  • 7. เอเชียใต้มีลักษณะภูมิประเทศ คือ ทางตอนเหนือเป็นเขตเทือกเขาสูง ถัดลงมาเป็นที่ราบใหญ่เกิดมาจากการตกตะกอนของดินในแม่น้าสินธุ แม่น้าคง คาและสาขา ถัดจากที่ราบใหญ่ลงมาทางตอนกลางของคาบสมุทรอินเดียเป็น เขตที่ราบสูงหินเก่าที่มี เทือกเขาเตี้ยๆกั้นเป็นแนวอยู่ทั้งสามด้าน สาหรับชายฝั่ง คาบสมุทรจะมีที่ราบแคบๆอยู่ทั้งสองฟาก
  • 8. เอเชียใต้มีภูมิอากาศแบบ มรสุมเขตร้อนและทุ่งหญ้าเขตร้อน เนื่องจากได้รับอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและมรสุมตะวันตก เฉียงใต้แต่บริเวณที่อยู่เหนือเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ขึ้นไปจะมีอากาศแบบ เมืองหนาวภาคพื้นทวีปและมีอุณหภูมิต่ากว่าทางใต้ และช่วงเปลี่ยนฤดู ระหว่างช่วงต่อของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียง-เหนือ มักเกิดพายุหมุนเขตร้อนที่เรียกว่า "ไซโคลน"
  • 9.
  • 10.  ทุกประเทศในเอเชียใต้ต่างต้องการยกระดับวิถีชีวิตของพลเมืองให้ดีขึ้นจึง ต้องพัฒนา เศรษฐกิจ การเกษตร อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อบริโภคให้ได้ จานวนมากกว่าพลเมืองของตน  เศรษฐกิจขึ้นอยู่กับอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 25 ของประชากร มี มาตรฐานการครองชีพต่าฐานะยากจน การผลิตอาหารไม่เพียงพอกับ ประชากรเกิดความอดอยากและขาดแคลนอาหารอยู่เสมอ  สัตว์เลี้ยงที่สาคัญได้แก่ โค กระบือ แพะ เลี้ยงเพื่อให้นมเนย (ยกเว้นแพะ) ประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมมากที่สุดในภูมิภาคนี้คือ ประเทศ อินเดีย
  • 11.  การเพาะปลูก ส่วนใหญ่เป็นการเพาะปลูกแบบยังชีพ พืชที่ปลูกเป็นพืชอาหาร เช่น ข้าวเจ้า และอ้อย ซึ่งปลูกกันมากเขตที่ราบลุ่มแม่น้าคงคาของอินเดีย ส่วน ปากีสถานมีอากาศค่อนข้างแห้งแล้ง พืชที่ปลูกได้ คือ ข้าวสาลี ข้าว ฟ่าง และ ฝ้าย  การเลี้ยงสัตว์ เป็นอาชีพที่สาคัญของผู้คนในเอเชียใต้ สัตว์ที่เลี้ยงส่วนใหญ่ คือ โค กระบือ แพะ แกะ ฯลฯ โดยมากเลี้ยงไว้เพื่อใช้งานในไร่นา ใช้บรรทุกขนส่ง สินค้าในชนบท และใช้เนื้อและนมเป็นอาหาร
  • 12.  การประมง โดยทั่วไปเป็นการประมงแบบยังชีพ ในปัจจุบัน อินเดียได้ พัฒนาการประมงของตนก้าวหน้าไปมาก โดยได้รับการสนับสนุนด้านเทคโนโลยี และร่วมทุนกับประเทศอุตสาหกรรมประมงชั้นน่าอย่างญี่ปุ่นและไต้หวัน  การทาป่าไม้ ในปัจจุบันภูมิภาคเอเชียใต้สูญเสียพื้นที่ป่าไม้ไปมาก เพราะมีการ ขยายพื้นที่เพาะปลูกให้สมดุลกับจานวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น การท่าป่าไม้จึงลด ความสาคัญลง แหล่งป่าไม้ที่ยังคงสภาพความสมบูรณ์อยู่บริเวณทางตอนเหนือ ของอินเดีย เนปาล และภาคตะวันออกของบังคลาเทศ
  • 13.  การอุตสาหกรรม สภาพอุตสาหกรรมของประเทศต่างๆ ในเอเชียใต้ยังอยู่ใน ระยะเริ่มต้นและไม่พัฒนาเท่าที่ควร มีเพียงอินเดียชาติเดียวที่ก้าวหน้าไปมาก เพราะมีวัตถุดิบแร่ธาตุทั้งเหล็กและถ่านหินจานวนมาก อุตสาหกรรมที่สาคัญของ อินเดีย คือ การผลิตเหล็กและเหล็กกล้า สิ่งทอ และเคมีภัณฑ์  การพาณิชยกรรม เอเชียใต้เป็นภูมิภาคที่มีจานวนประชากรมาก ผลผลิตใน ด้านต่างๆ จึงเน้นเพื่อการบริโภคภายในภูมิภาค การค้าระหว่างประเทศส่วน ใหญ่จึงเป็นการค้ากับชาติในภูมิภาคเอเชียใต้ด้วยกัน โดยมีสินค้าเข้าและ สินค้าออกที่สาคัญ ดังนี้  1) สินค้าออก ส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์จาการเกษตรกรรม เช่น ผ้าฝ้าย ชา ปอกระเจา กระสอบ น้าตาลทราย ฯลฯ  2) สินค้าเข้า ได้แก่ เครื่องจักร เครื่องเหล็ก อุปกรณ์การไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ปุ๋ยเคมี และผลิตภัณฑ์จากอาหาร ฯลฯ
  • 14.  1.ปัญหาด้านการเมือง เกิดการลอบสังหารประธานาธิบดีหลายครั้ง เช่น นายอาซีฟ อาลี ซาร์ ดารีถูกลอบสังหารด้วยระเบิดพลีชีพ  2. ปัญหากลุ่มก่อการร้ายในประเทศ มีกลุ่มตาลีบันและกลุ่มอื่นๆคอยก่อการร้ายตามแนว ชายแดน จึงคิดแก้ไขปัญหาด้วยการเจรจาก่อนแล้วจึงค่อยใช้ความรุนแรง โดยมีสปอนเซอร์ เป็นอเมริกา  3.ปัญหาด้านอุตสาหกรรม มีจานวนโรงงานน้อยมาก มีการเติบโตภาคอุตสาหกรรมเพียงร้อย ละ10.4ต้องใช้คนงานประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินเดีย ประเทศที่ประสบปัญหานี้ เช่น ประเทศ ภูฏาน  4.ปัญหาความยากจน เนื่องมาจากส่วนใหญ่เป็นประเทศที่ปิด จึงทาการเปิดเป็นประเทศเสรี ทางเศรษฐกิจ
  • 15.
  • 16.  SAARC: South Asian Association for Reginal Cooperation: สมาคมเพื่อความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ก่อกาเนิดขึ้น ใน ค.ศ.1985 โดยผู้นากลุ่มประเทศเอเชียใต้ 7 ประเทศ ได้แก่ บังคลาเทศ ภูฐาน อินเดีย มัลดีฟส์ เนปาล ปากีสถาน ศรีลังกา เพื่อเพิ่มความร่วมมือในภูมิภาค โดยเฉพาะทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยจะมีการประชุมผู้นารัฐบาลของ ประเทศสมาชิกในทุกปี เพื่อกาหนดนโยบาย และแนวทางความร่วมมือใน ภูมิภาคตั้งอยู่ที่กรุงกาฎมัณฑุ (Kathmandu) ประเทศเนปาล
  • 17.
  • 18.  แยกตัวออกมาจากประเทศสหภาพโซเวียต เมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วย 8 ประเทศ คือ คาซัคสถาน อุซเบกิซสถาน คีร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน ทาจิกิ สถาน จอร์เจีย อาร์เมเนีย และ อาเซอร์ไบจาน มีเนื้อที่ 4.2 ล้านตารางกิโลเมตร  ตั้งอยู่ระว่างละติจูดที่ 36 – 56 องศาเหนือ และลองติจูดที่ 40 – 88 องศา ตะวันออกเอเชียกลางแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ที่มีทะเลสาบแคสเปียนคั่นอยู่ คือ ดินแดนด้านตะวันออกของ ทะเลสาบแคสเปียน ได้แก่ คาซัคสถาน อุซเบกิซ สถาน คีร์กิซสถาน เติร์กเมนิสถาน และ ทาจิกิสถาน กับดินแดนทางตะวันตก ของทะเลสาบแคสเปียน ได้แก่ จอร์เจีย อาร์เมเนีย และ อาเซอร์ไบจาน
  • 19.  เป็นภูมิภาคที่มีจานวนประชากรน้อยที่สุดของทวีปเอเชีย บริเวณที่มีประชากรหนาแน่น ได้แก่ อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย ส่วนบริเวณที่มีประชากรเบาบางคือ คาซัคสถานและเติร์กเมนิสถาน ส่วนใหญ่เป็นพวกคอเคซอยด์ หรือพวกผิวขาว ใช้ ภาษารัสเซียเป็นภาษากลาง เนื่องจากเคยอยู่ใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต  ประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียน ประชากรส่วนใหญ่นับศาสนา อิสลาม ส่วนประเทศที่อยู่ทางตะวันตกของทะเลสาบแคสเปียน ประชากรส่วนใหญ่นับ ถือศาสนาคริสต์
  • 20.
  • 21.  คาซัคสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย  อุซเบกิสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย  คีร์กีซสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐ  เติร์กเมนิสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประธานาธิบดี  ทาจิกิสถานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย  จอร์เจีย มีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย  อาร์เมเนีย มีการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตย  อาเซอร์ไบจานมีการปกครองแบบ สาธารณรัฐแบบมีผู้แทน
  • 22.  อากาศส่วนใหญ่ของเอเชียกลางแห้งแล้งเป็นทะเลทรายและกึ่งทะเลทรายในเขตอบอุ่น เพราะอยู่ในเขตอิทธิพลของลมที่พัดมาจากเขตความกดอากาศสูงภายในทวีปไม่มี ความชื้นมีแต่ความแห้งแล้ง อยู่ห่างไกลจากทะเลและมีภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงและ เทือกเขาเป็นขอบ ทาให้ได้รับอิทธิพลความชื้นจากทะเลน้อย
  • 23.
  • 24.  ภูมิประเทศในเอเชียกลางแบ่งออกเป็น 2 เขต  1. เขตเทือกเขาและที่ราบสูง เทือกเขาทางตะวันออกเป็นแนวภูเขาสูงที่ต่อเนื่องมาจาก แนวเทือกเขาในเอเชีย ส่วนเทือกเขาทางใต้ ได้แก่ เทือกเขาคอเคซัส ในประเทศ จอร์เจีย อาร์เมเนียและอาเซอร์ไบจาน ส่วนที่ราบสูง เป็นที่ราบสูงเชิงเขาลาดลงสู่ที่ราบและ ทะเลสาบแคสเปียนทางตะวันตก ได้แก่ ที่ราบสูงทางภาคเหนือและภาคตะวันออกใน ประเทศคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถานและมีทะเลสาบบอลคาซ ซึ่งเป็น ทะเลสาบบนที่ราบสูงอยู่ทางตะวันออกของภูมิภาค  2. เขตที่ราบ ได้แก่ ที่ราบที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียน เรียกว่า ที่ราบตู ราน ในประเทศ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน ซึ่งเป็นที่ราบต่อ เนื่องมาจากที่ราบไซบีเรีย ในเขตที่ราบนี้มีทะเลสาบที่สาคัญคือ ทะเลสาบอูรา
  • 25.
  • 26.  ป่าไม้  มีน้อยเพราะพื้นที่ส่วนใหญ่แห้งแล้งเป็นทะเลทรายและกึ่งทะเลทราย แต่มี ทุ่งหญ้าอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเลี้ยงสัตว์  ทรัพยากรแร่ธาตุ  น้ามันและก๊าซธรรมชาติ แหล่งผลิตสาคัญได้แก่ อาเซอร์ไบจาน เติร์กเมนิ สถาน คาซัคสถานและคีร์กีซ  ถ่านหิน แหล่งผลิตสาคัญ คือ คาซัคสถาน จอร์เจีย ทาจิกิสถาน  เหล็ก แหล่งผลิตสาคัญคือ คาซัคสถาน อาเซอร์ไบจาน โครเมียม คาซัคสถานเป็นประเทศที่ผลิตได้มากที่สุดในโลก  ทองคา แหล่งผลิตสาคัญคือ คีร์กีซ อาร์เมเนีย  ทองแดง แหล่งผลิตสาคัญคือ อาร์เมเนีย คาซัคสถาน
  • 27.  การเพาะปลูก มีการปลูกข้าวสาลี ฝ้าย ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ในเขตที่ราบทางตะวันออก ของทะเลสาบแคสเปียน และที่ราบลุ่มแม่น้าทางตะวันตกของทะเลสาบแคสเปียน มีการ ปลูก พืชผลเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ข้าวสาลี องุ่น ส้ม พืชผัก  การเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ แกะ แพะ โคเนื้อ โคนม ม้า ลา ซึ่งเป็นแหล่งเลี้ยงสัตว์ที่สาคัญของโลก เพราะพื้นทีส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้าในการเลี้ยงสัตว์  การอุตสหากรรม ส่วนใหญ่อยู่ประเทศ คาซัคสถาน อาร์เมเนีย และอาเซอร์ไบจาน ได้แก่ การผลิตเหล็กและเหล็กกล้า ยานยนต์ เครื่องจักรการเกษตร ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ สิ่งทอ  การประมง แหล่งประมงสาคัญคือ ทะเลสาบแคสเปียน การผลิตไข่ปลาคาร์เวียร์ ที่ได้จาก ปลาสเตอร์เจียน ในเขตเติร์กเมนิสถาน อาเซอร์ไบจานและคาซัคสถาน
  • 28.
  • 29.  เคยเกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ เมื่อหลายประเทศในเอเชียกลางแยกตัวออกมาจาก สหภาพโซเวียด ทาให้เกิดปัญหาที่ประเทศที่เกิดใหม่ประสบกันคือปัญหาทางด้าน เศรษฐกิจ จึงต้องไปพึ่งโซเวียดแต่โซเวียดเองก็กาลังประสบปัญหาหนี้สินจากการสร้าง กองกาลังทหาร จึงใช้เวลาหลายสิบปีกว่าเศรษฐกิจมั่นคง  ปัญหาด้านการก่อการร้าย มีกลุ่มมุสลิมก่อการร้ายหัวรุนแรงของเติร์กเมนิสถานที่ ปัจจุบันลี้ภัยอยู่ในทาจิกิสถาน เป็นปัญหาที่ยังแก้ไม่ตก  ปัญหาข้อพิพาททางดินแดน ซึ่งอาร์เมเนียกับอาร์เซอร์ไบจาน มีปัญหาเรื่องดินแดน ซึ่งปัจจุบันตัดสินว่าเป็นของอาร์เซอร์ไบจาน แต่อาร์เมเนียยังอ้างว่าเป็นของตน