SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
ณัฐวุธ แก้วสุทธา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์)
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและประสิทธิผลของ
โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่อง
ปากและสภาวะอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น
1
ลาดับการนาเสนอ
1. บทนา : ที่มาและความสาคัญ
2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3. วิธีดาเนินการวิจัย
4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
5. สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
2
3
INTRODUCTION AND BACKGROUND
Year 1989 1994 2001 2007 2012
Prevalent 49.2 53.9 57.3 56.9 52.3
DMFT 1.50 1.55 1.64 1.64 1.3
Dental public health division, Ministry of public health, Thailand, 2007; 2013)
THAILAND SITUATION
•โรคฟันผุและเหงือกอักเสบ  ความชุกโรคสูงในกลุ่มวัยรุ่นตอนต้น
โรคฟันผุ (ความชุก = 52.3% ,DMFT =1.3 ซี่/คน)
โรคเหงือกอักเสบ (ความชุก = 58.9%)
ข้อมูลทางพฤติกรรม
 ส่วนใหญ่จะแปรงฟันเพียงวันละ 2 ครั้ง
 เคยรับประทานอาหารแล้วนอนโดยลืมแปรงฟัน มากถึงร้อยละ 72.3
 มีพฤติกรรมการแปรงฟันที่ถูกต้อง เพียงร้อยละ 7.7
 ในรอบปีที่ผ่านมาเคยปวดฟัน ร้อยละ 52.1
 ขาดเรียนเนื่องจากปัญหาสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 14.3
 แปรงฟันที่โรงเรียนลดลง
 จากร้อยละ 83.7 ในปี 2536 เป็นร้อยละ 26.3 ในปี 2544
 พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เอื้อต่อทันตสุขภาพมากยิ่งขึ้น
 มีแนวโน้มกินขนมมากขึ้นแต่กินอาหารมีเส้นใยลดลง
4
(กองทันตสาธารณสุข. 2551)
ผลกระทบจากโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ
 การบดเคี้ยวอาหาร
 การออกเสียง
 บุคลิกภาพ
 ผลกระทบต่อสุขภาพจิต
 ความสามารถในการทางานและการเรียน
 เป็นแหล่งของการติดเชื้อ
 ทาให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ
5
สาเหตุของปัญหา
 เน้นเฉพาะศาสตร์ทางชีวภาพ (ปัจจัยทางระบาดวิทยา)เป็นส่วนใหญ่
 ละเลยปัจจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์
 การดูแลทันตสุขภาพมักจะเป็นหน้าที่ของทันตบุคลากรอย่างเดียว
 ปัญหาทันตสุขภาพ เกิดจากพฤติกรรมไม่เหมาะสมของตัวบุคคลเองด้วย
 งานวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
ในปัจจุบันยังมีไม่มากนัก
6
โรคฟันผุ
และเหงือก
อักเสบ
ปัจจัยทาง
ระบาดวิทยา
ปัจจัยทาง
พฤติกรรม
ศาสตร์
ปัจจัยทางสังคม
นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1: วัยรุ่นตอนต้น
 12-14 ปี  มีปัญหาโรคฟันผุและเหงือกอักเสบสูง
 สามารถส่งผลกระทบของโรค ไปยัง วัยผู้ใหญ่
 มีปัญหาด้านพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก
 รัฐบาลไม่มีนโยบายที่จะมาดูแลเฝ้ าระวังและส่งเสริม
ทันตสุขภาพชัดเจน
 กระบวนการสอนทันตสุขศึกษาในโรงเรียนระดับ
มัธยมศึกษามีแนวโน้มลดลง
(กองทันตสาธารณสุข. 2545)
 เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเนื่องเป็นกลุ่มที่
สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้
(เฉลิม ตันสกุล. 2543)
7
มีปัญหาสูง & ขาดการดูแล
ในระบบสุขภาพของรัฐ
ความมุ่งหมายของการวิจัย
8
 เพื่อศึกษา
1. ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่อง
ปากของวัยรุ่นตอนต้น และขนาดอิทธิพลของตัวแปรต่างๆในแบบจาลอง
2. ประสิทธิผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
ของวัยรุ่นตอนต้นที่มีต่อพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากและสภาวะ
อนามัยช่องปาก
ขอบเขตของการวิจัย
CCS Experiment
9
•ตัวแปรที่มีผลต่อพฤติกรรม
•ข้อมูลการออกแบบกิจกรรม
•โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
ดูแลอนามัยช่องปาก
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
10
 นักเรียนที่กาลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในเขตพื้นที่การศึกษา
เขต 7 จังหวัดนครนายก จานวน 11 โรงเรียน จานวนทั้งสิ้น 1,912 คน
(ข้อมูลสารวจจานวนนักเรียนมัธยม สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 7 จังหวัดนครนายก ปีการศึกษา 2554)
•พื้นที่บริการวิชาการสังคมของ มศว
•มีปัญหาสุขภาพช่องปาก
•พื้นที่ของจังหวัด มีขนาดเล็ก
•เดินทางสะดวกใกล้กรุงเทพฯ
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
 ใช้การสุ่มแบบสองขั้นตอน (Two – stage
sampling)
 ขั้นที่ 1 ใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิตามโควตา
(Quota stratified random sampling) โดย
กาหนดขนาดของโรงเรียนเป็นตัวแปรแบ่ง
ชั้นภูมิ
 ขั้นที่ 2 จะทาการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster
random sampling) โดยสุ่มเลือกนักเรียนมา
โรงเรียนละ 2-3 ห้อง ห้องละประมาณ 40-
50 คน
 กลุ่มตัวอย่าง 391 คน จากแบบสอบถาม
จานวน 400 ฉบับ (97.75%)
 ใช้กลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการตัวอย่างในการวิจัย
ในระยะที่ 1
 สุ่มเลือกโรงเรียนจานวน 1 โรงเรียน จากจานวน 4
โรงเรียน (ระยะที่1)
 สุ่มเลือกห้องโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple random
sampling) จานวน 2 ห้อง เข้าในกลุ่มทดลอง 1 ห้อง
และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง
 มีนักเรียนที่สมัครใจและได้รับการยินยอมจาก
ผู้ปกครองให้เข้าร่วมกิจกรรมจานวน 98 คน และ
อยู่จนครบตลอดโปรแกรม จานวน 94 คน
 กลุ่มทดลอง จานวน 48 คน และกลุ่มควบคุม
จานวน 46 คน
11
การวิจัยในระยะที่ 1 การวิจัยในระยะที่ 2
ตัวแปรที่ศึกษา
12
 การวิจัยระยะที่ 1
ตัวแปรอิสระ
1ความรู้เรื่องโรคและอนามัยช่องปาก
-ความรู้ความเข้าใจ
- การนาไปใช้
2.เจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปาก
- การเห็นประโยชน์
- ความรู้สึกพอใจ
- ความพร้อมที่จะทา
3. การรับรู้ต่อภาวะคุกคามของโรค
- การรับรู้โอกาสเสี่ยงของโรคฯ
- การรับรู้ความรุนแรงของโรคฯ
4.สิ่งจูงใจให้ปฏิบัติ
-การสนับสนุนทางสังคม
-การได้รับข่าวสารที่กระตุ้นการดูแลอนามัยช่องปาก
-แบบอย่างจากเพื่อน
ตัวแปรตาม
1 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- การรับรู้ความสามารถของตนเอง
- การควบคุมตนเอง
2. พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
- การบริโภคอาหารเพื่ออนามัยช่องปาก
- การทาความสะอาดช่องปาก
3. สภาวะอนามัยช่องปาก
- ดัชนีคราบอ่อน
ตัวแปรที่ศึกษา
13
 การวิจัยระยะที่ 2
ตัวแปรอิสระ
1.ตัวแปรจัดกระทา
การได้รับ/ไม่ได้รับโปรแกรมการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น
2 ตัวแปรจัดประเภท
ปัจจัยจิตลักษณะและสถานการณ์ที่สาคัญซึ่งได้จากการวิจัย
ระยะที่ 1 จานวน 2 ตัว
การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค
การได้รับข่าวสารที่กระตุ้นการดูแลอนามัยช่องปาก
ตัวแปรตาม
ตัวแปรจิตลักษณะ
1.การรับรู้ความสามารถของตนเอง
2.การควบคุมตนเอง
ตัวแปรพฤติกรรม
1.พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่ออนามัยช่องปาก
พฤติกรรมการทาความสะอาดช่องปาก
2.สภาวะอนามัยช่องปาก
ดัชนีคราบอ่อน
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง14
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
 พฤติกรรมการบริโภคที่พึงประสงค์ต่อ
สุขภาพช่องปากโดยมุ่งเน้นไปที่การมุ่ง
ลดการบริโภคอาหารประเภทแป้ งและ
น้าตาล หรืออาหารเหนียวติดฟัน
 การลดการบริโภคอาหารประเภทแป้ งและ
น้าตาล หรืออาหารเหนียวติดฟัน
 การหลีกเลี่ยงการดื่มน้าอัดลม ขนมหวาน
ขนมซองกรุบกรอบ
 มาตรการทุกอย่างที่มุ่งเน้นให้เกิดการ
ควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ให้มากที่สุด
เท่าที่จะทาได้
 แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ด้วย
วิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง
 การเลือกใช้แปรงสีฟันที่มีขนาดพอเหมาะ
กับปากและมีขนแปรงนุ่ม
 การใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์
 แปรงฟันครบทุกบริเวณ รวมถึงการแปรง
ลิ้น
การบริโภคอาหารเพื่ออนามัยช่องปาก การทาความสะอาดช่องปาก
15
การบริโภคอาหารเพื่ออนามัยช่องปาก
16
 ใช้แบบสอบถามประเภทชนิดอาหารและความถี่ที่บริโภค
 ให้นักเรียนระบุว่า ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาตนเองได้
รับประทานอาหารแต่ละชนิด ที่บ่อยเพียงใด ตั้งแต่
“ไม่เคยกินเลย จนถึง กินเป็นประจาทุกวัน”
 มีคะแนนระหว่าง 0 ถึง 7 ตามลาดับ
 จานวนทั้งหมด 7 ข้อ คะแนนรวมมีค่าระหว่าง 0 – 49
 ผู้ที่ได้คะแนนสูง แสดงว่าเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมการบริโภค
อาหารเพื่ออนามัยช่องปากเพื่ออนามัยช่องปากดีกว่าผู้ที่ได้
คะแนนต่า
 มีค่าอานาจจาแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .45 - .56 และมีค่า
สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นชนิดความสอดคล้องภายใน
แบบอัลฟาทั้งฉบับ เท่ากับ .78
การทาความสะอาดช่องปาก
17
• Directed, Quantitative evaluation of oral
hygiene skill
 Brushing + Flossing ability
(person’s ability)
 Placement and Motion of the
cleaning device on each tooth
surface
• Clinical and Research Tools
• The mouth divided into 36 segment
• Missing segment or teeth are line out
• Possible point score
 Brushing SAI = (0-72)
 Flossing SAI = (0-48)
 OH SAI = (0-124)
•Brushing(72) + Flossing(48) +brush grasp(2) +floss grasp(2)
Placeme
nt
Motion
(Oral hygiene skill achievement index : S.A.I) ของ Richard Niederman, Thomas M Sullivans
(1981:143-156)
วัดทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี
 ประเมินทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี
 ผู้วิจัยเป็นผู้สังเกตและจดบันทึก
 ดัดแปลงจากดัชนีดัชนีวัดทักษะด้านอนามัยช่องปาก Oral
hygiene skill achievement index : S.A.I
 ประยุกต์ให้สอดคล้องกับการสอนการแปรงฟันของกรมอนามัย
คะแนนการแปรงฟัน = คะแนนตาแหน่ง+วิธีการแปรงฟัน
 เกณฑ์การประเมินทั้ง 17 บริเวณในช่องปาก และให้คะแนนแต่ละ
บุคคล
 เป็นผลรวมคะแนนทั้งหมดที่ได้ ซึ่งจะมีค่าอยู่ระหว่าง 0-34 ผู้ที่ได้
คะแนนมากแสดงว่ามีพฤติกรรมการทาความสะอาดช่องปากที่
ดีกว่าผู้ที่ได้คะแนนต่ากว่า
การทาความสะอาดช่องปาก
18
สภาวะอนามัยช่องปาก
19
การวัดดัชนีคราบอ่อน
 ตรวจฟันทุกซี่ในแต่ละบริเวณที่ทาการตรวจ(Segment) ทั้งทางด้านใกล้แก้ม (Buccal) และ
ใกล้ลิ้น (Lingual) ของฟัน
 บันทึกเฉพาะค่าที่สูงที่สุดในแต่ละบริเวณ เป็นค่าตัวแทนแต่ละบริเวณ (Segment)
 ประยุกต์ มาจากดัชนี Debris index ของ Greene & Vermillion.,1964
การคานวณ
Debris index: DI = ผลรวมของคะแนนทั้งหมดที่ได้
จานวนส่วนที่วัด
1. รวมคะแนนทุก segment ที่ตรวจ และบันทึกให้คะแนนไว้ ซึ่งจะมีค่าตั้งแต่ 0-36
คะแนน
2. ค่าของดัชนีคราบอ่อนของแต่ละคนจะมีค่าเท่ากับ ผลรวมของดัชนีคราบอ่อนจากทุก
บริเวณที่ทาการตรวจ (Segment) ทั้งทางด้านใกล้แก้ม (Buccal) และใกล้ลิ้น (Lingual)
หารด้วยจานวน segment ที่ตรวจให้คะแนน คือ 6 บริเวณ ซึ่งคะแนนของดัชนีคราบอ่อน
จะมีค่าตั้งแต่ 0-6 คะแนน
หมายเหตุ: ในการวิจัยระยะที่ 1 ใช้ดัชนีคราบอ่อน มีพิสัย (0-6) ในการวิเคราะห์ลิสเรล
ในการวิจัยระยะที่ 2 ใช้คะแนนรวม มีพิสัย (0-36) ในการเปรียบเทียบประสิทธิผลการแปรงฟัน
สาเหตุของพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
20
 แนวคิดเกี่ยวกับความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติ (KAP)
 ความรู้เรื่องโรคและอนามัยช่องปาก
 เจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปาก
 แนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Behavioral Modification)
 การรับรู้ความสามารถของตนเอง
 การควบคุมตนเอง
 ทฤษฏีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model
Theory)
 การรับรู้ต่อภาวะคุกคามของโรค
 สิ่งจูงใจให้ปฏิบัติ
KAP Models
 ความรู้ (Knowledge) เจตคติ
(Attitude) และ การปฏิบัติ (Practice)
ซึ่งทั้งสามองค์ประกอบจะมีความสัมพันธ์ซึ่งกัน
และกัน
 ความรู้มีผลต่อเจตคติ และเจตคติจะช่วยให้เกิด
การปฏิบัติที่ดีส่งผลให้เกิดสุขภาพที่ดีได้
 การจะให้บุคคลมีการปฏิบัติที่ดี ต้องคานึงถึงการ
สร้างความรู้และเจตคติที่ดีด้วย
Attitude
PracticeKnowledge
แนวคิด รูปแบบความสัมพันธ์
21
(ประภาเพ็ญ สุวรรณ. 2522)
Knowledge is a necessary, but
not sufficient, basis for behavior
change.
22
BEHAVIORAL SCIENCE RESEARCH INSTITUTE, SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม
(Social learning cognitive theory)
พฤติกรรมของมนุษย์ เกิดจากการปฏิสัมพันธ์ที่
ส่งผลซึ่งกันและกันขององค์ประกอบทางด้าน
พฤติกรรม ปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยทาง
สิ่งแวดล้อม
•Self-Belief , Cognition , Self-Efficacy,
Self-regulatory (controls), Self-
reflective process, Self Management
(parallel to the concept of perceived
behavior control in theory of planned
behavior) Perceived self efficacy is extremely relevant to
the adoption and maintenance of health
behaviors that may not always be easy to
perform
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม-พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
 เมื่อบุคคลมีทักษะที่จะปฏิบัติตัว
อย่างเหมาะสมและมีกาลังใจอย่าง
เพียงพอแล้ว ถ้าบุคคลใดมีความเชื่อใน
ความสามารถของตนเองแล้ว ก็จะส่งผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพใน
เรื่องนั้นๆ
 การที่นักเรียนมีความเชื่อมั่นว่าตนเองสามารถที่
จะกระทาพฤติกรรมเกี่ยวกับการทาความสะอาด
ช่องปากอย่างสม่าเสมอ และ เลือกรับประทาน
อาหารเฉพาะที่เป็นประโยชน์ไม่ทาอันตรายต่อ
ฟันและเหงือกได้ด้วยตนเองได้อย่างสม่าเสมอ
 การแสดงออกถึงการกระทา ในการ
สังเกตพฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ด้านสุขภาพของตนเอง พร้อมทั้ง
ตั้งเป้ าหมายและวางแผนตนเองให้มี
สุขภาพที่ดีตามแผนที่วางไว้
 มีองค์ประกอบ 3 ประการ
 การติดตามตนเอง (Self-monitoring)
 การประเมินตนเอง (Self-evaluation)
 และการเสริมแรงตนเอง (Self-reinforce)
Self Efficacy Self Control
23
Health Belief Model
Now, This concept was added (1988)
 Cues to action
 Health motivation
 Demographic variables
 Socio-psychological
 Perceived efficacy - control
to help the HBM better fit the challenges of
changing habitual unhealthy behaviors, such as
being sedentary, smoking, or over-eating.
(Rosenstock,Strecher, V. J., Becker, in 1988, 2002)
24
Hochbaum, Rosenstock& Kegels (1950)
 The original model included these four constructs:
 perceived
 susceptibility
 severity
 benefits
 barriers
 HBM: fear process as a value-
expectancy combination of 2 driving force;
 Perceive treated of the fear appeal
 Expected net gain of protective
health behavior
แบบแผนความเชื่อทางด้านสุขภาพ
 การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค
 การรับรู้ความรุนแรงของโรค
 การสนับสนุนทางสังคม
 การได้รับข่าวสารที่กระตุ้นการดูแล
อนามัยช่องปาก
 แบบอย่างจากเพื่อน
25
การรับรู้ต่อภาวะคุกคามของโรค สิ่งจูงใจให้ปฏิบัติ
เจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปาก
 การเห็นคุณประโยชน์
 ความพร้อมที่จะทา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 การรับรู้ความสามารถของตนเอง
 การควบคุมตนเอง
กรอบแนวคิดการวิจัย ระยะที่1
รูปแบบโครงสร้างเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก (ตามทฤษฎี)
27
28
แนวคิดในการสร้างโปรแกรมฯ
 แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างความรู้เรื่องโรค
ในช่องปากกับการดูแลอนามัยช่องปาก
 แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างการรับรู้
ความสามารถของตนเอง
 แนวคิดการฝึกควบคุมตนเอง
 แนวคิดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
กลุ่ม
 แนวคิดการกิจกรรมการศึกษาเชิงหรรษา
(edutainment)
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนตัวแปรทาง
จิตและพฤติกรรม
แนวคิดเสริมที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อจูงใจให้
นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่อเนื่อง
29
โปรแกรมการปรับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก
 การสร้างประสบการณ์ที่ประสบความสาเร็จ
 การให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
 การฝึกทักษะด้านการแปรงฟัน การเลือกบริโภคอาหาร
 การนาประสบการณ์เดิมของกลุ่มตัวอย่างมาเป็นข้อมูล
ย้อนกลับ
 การใช้ตัวแบบ
 การใช้ตัวแบบ การสาธิต และเล่าประสบการณ์การดูแล
สุขภาพช่องปากของตนเอง
 การใช้ตัวแบบจากสื่อโทรทัศน์
 การเสริมแรงทางบวกด้วยใช้คาพูดชักจูง
 การให้กาลังใจด้วยคาพูด กล่าวชมเชยตามความสาเร็จ
โดยครูประจาชั้นและวิทยากร
 การเตือนตนเอง
 1) การกาหนดพฤติกรรมเป้ าหมาย ให้ชัดเจนและการฝึก
แยกแยะว่าพฤติกรรมเป้ าหมายเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้น
 2) การฝึกบันทึกพฤติกรรมเป้ าหมาย
 3) การสังเกตและบันทึกพฤติกรรมด้วยตนเอง และ
 4) การประเมินผลและให้การเสริมแรง
 การทาสัญญากับตนเอง
กิจกรรมเพื่อพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเอง กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการควบคุมตนเอง
30
กรอบแนวคิดการวิจัย ระยะที่2
วิธีดาเนินการวิจัย32
วิธีดำเนินกำรวิจัย : ระยะที่ 1
 Collect data from 391 students, Nakhon-
Nayok Province, selected through the
stratified random sampling method.
 Seven latent variables of the study were
measured from 15 observed variables.
The exogenous latent variables included
1. knowledge in oral hygiene and oral diseases
2. perceived threatened diseases
3. cues to actions
The endogenous latent variables included
1. attitude toward oral health care
2. behavioral modification
3. oral hygiene care behavior
4. oral hygiene status
 The instrument used for collecting
data was
 6-point rating scale questionnaires : 13
variables
 Oral examination sheet: 2 variables
33
Material and method Instrument
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
1. การตรวจสอบความตรงตามเนื้ อหา (Content validity)
 ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบ
 นาแบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญทาง จิตวิทยา สาธารณสุขศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ และ การสร้าง
เครื่องมือวัด จานวน 4 ท่าน เป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง ครอบคลุมของเนื้ อหา
2. นาแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับนักเรียนที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จากนั้นนา
ข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงคุณภาพ ดังนี้
 แบบสอบถาม หาค่าความเชื่อมั่นด้วยวิธีสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบัค (Cronbach’s alpha
coefficient) และหาค่าอานาจจาแนกโดยหาค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวมทั้ง
ฉบับ (r) แล้วทาการปรับปรุงข้อคาถามโดยการตัดข้อคาถามที่มีค่าอานาจจาแนกต่ากว่า 0.20 และข้อ
คาถามที่มีความหมายกากวม
34
การทดสอบคุณภาพเครื่องมือ
35
แบบสอบถาม
Try out (N = 98) Final (N=391)
ค่าอานาจ
จาแนกรายข้อ
Cronbach's
Alpha
ค่าอานาจ
จาแนกรายข้อ
Cronbach's
Alpha
แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคและอนามัยช่องปาก .22 - .42 0.70 .17 - .33 0.55
แบบสอบถามเจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปาก .18 - .35 0.62 .26 - .41 0.63
แบบสอบถามการรับรู้ภาวะคุกคามของโรค .26 - .43 0.68 .29 - .41 0.70
แบบสอบถามปัจจัยสิ่งจูงใจให้ปฏิบัติ .21 - .49 0.72 .21 - .52 0.77
แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถตนเอง .36 - .50 0.78 .36 - .56 0.78
แบบสอบถามการควบคุมตนเอง .30 - .57 0.82 .30 - .56 0.82
การปรับมาตรฐานการตรวจช่องปาก
36
 ใช้ผู้ตรวจที่เป็นทันตแพทย์ที่มีประสบการณ์ตรวจ
 ปรับมาตรฐานผู้ตรวจ
 Percent observed agreement = 92.86
 Kappa = (O - E) / (100 - E) = 0.86
 การตรวจฟัน ทาในเวลาเดิมทุกครั้ง คือ ช่วงหลังอาหารเช้า ก่อน
รับประทานอาหารกลางวัน
 ไม่บอกกาหนดการตรวจฟันให้แก่นักเรียนทราบล่วงหน้า
 ถ้ามีบริเวณที่ตรวจไม่ได้ ให้คัดออกจากการศึกษา
 ทาการขูดหินน้าลายให้กลุ่มที่ถูกศึกษาก่อนเริ่มการศึกษา เนื่องจาก
หินน้าลายเกี่ยวข้องกับการสะสมตัวของ debris และการทาความ
สะอาดช่องปาก
37
BEHAVIORAL SCIENCE RESEARCH INSTITUTE, SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY
Questionnaires
The plaque debris check-up
evaluated tooth
brushing practice
The step of the collect data
การจัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูล
 1. วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
และค่าสถิติอื่นๆ เพื่อตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นด้วยโปรแกรม SPSS
 2. ทาการทดสอบแบบจาลองเพื่อหาความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น ด้วยโปรแกรม
สาเร็จรูป LISREL ด้วยวิธีการต่อไปนี้
 กาหนดข้อมูลจาเพาะของแบบจาลอง (Specification of the Model)
 ระบุความเป็นไปได้ด้วยค่าเดียวของแบบจาลอง (Identification of the
Model)
 ตรวจสอบความกลมกลืนของแบบจาลอง (Goodness – for – fit
Measures) เพื่อศึกษาภาพรวมของแบบจาลองว่ากลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์
เพียงใด
(Diamantopoulos; & Judy. 2000; Joreskog; & Sorbom. 1993; Kelloway. 1998)
38
สรุปเกณฑ์ที่ใช้ในการตรวจสอบความสอดคล้อง
39
(Hair JF & et al. 2006: 746-750)
 เกณฑ์ในการคัดเลือกเข้ากลุ่มตัวอย่าง การวิจัยระยะที่ 2
 เป็นวัยรุ่นตอนต้นไทยที่:
 ไม่เคยได้รับการฝึกอบรมเพื่อปรับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากมาก่อน
 สมัครใจเข้าร่วมโปรแกรมตลอดการฝึกอบรม ระยะเวลา 12 ชั่วโมง
 มีจดหมายตอบรับยินยอมอนุญาตจากผู้ปกครองและครูประจาชั้น
 Pretest-Posttest Randomized Experiment
Design
 วิเคราะห์ความแตกต่างของพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก การรับรู้
ความสามารถของตนเอง การควบคุมตนเอง และ สภาวะอนามัยช่องปาก
ก่อนและหลังการได้รับโปรแกรม
40
โปรแกรมการปรับพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
 สมุดบันทึกฟันดี หรือ แบบบันทึกสุขภาพฟัน
 อุปกรณ์เล่นเกมและกิจกรรมกลุ่ม
 โมเดลสอนแปรงฟัน
 ผู้สาธิต/วิทยากร
 อุปกรณ์ประเภทสื่อการสอนทันตสุขศึกษา
 แผ่นพลิก สไลด์ แผ่นพับ
 ของที่ระลึกชุดอุปกรณ์ทาความสะอาดช่องปาก
สาหรับเด็ก
 ยาสีฟัน แปรงสีฟัน และน้ายาบ้วนปาก
สื่อการสอน และอุปกรณ์
41
การดาเนินการทดลอง
42
ระยะเตรียมการ
ทดลอง
• จัดเตรียมความพร้อมของสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ วิทยากร และเอกสารที่ใช้
• ประกาศรับสมัครนักเรียนที่สมัครใจเข้าร่วมโปรแกรม
• กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านนา (นายกพิทยาคม) จานวน 2 ห้องเรียน รวมกลุ่มตัวอย่าง 94 คน ที่สมัครใจเข้าร่วม
โปรแกรม ให้ทาแบบวัดความรู้ความเข้าใจ และแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง แบบประเมินการควบคุมตนเองก่อนการทดลอง
(Pretest) กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเข้ารับบริการขูดหินน้าลายก่อนเข้าร่วมโปรแกรมทุกคน
ระยะทดลอง
• แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ใช้การสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling)
• โดยการจับฉลากเลือกห้อง เข้ากลุ่มทดลองจานวน 48 คน และกลุ่มควบคุมจานวน 46 คน
• กลุ่มควบคุม ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ – มีนาคม 2557 ดาเนินการตามแนวปฏิบัติเดิม โดยให้ทันตสุขศึกษาแบบกลุ่มในห้องเรียนเป็นเวลา 2
ชั่วโมง จานวน 3 ครั้ง ใช้เวลารวม 6 ชั่วโมง
• กลุ่มทดลอง ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ – มีนาคม 2557 เข้าโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก ทั้งหมด 7 ครั้ง ใช้เวลา
กิจกรรมทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง
ระยะหลังทดลอง
• ติดตามและประเมินผลกลุ่มทดลอง อีกครั้งหลังผ่านไป 3 เดือน (พฤษภาคม2557) จากสมุดฟันดี ว่ามีการบันทึกอย่างไร มีความต่อเนื่อง
หรือไม่ รวมถึงมีการประเมินสภาวะอนามัยช่องปากของนักเรียนทั้งหมดอีกครั้ง เพื่อประเมินประสิทธิผลของโปรแกรม
ผังขั้นตอนการจัดกิจกรรมเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
43
เชิญรับชม วิดิทัศน์สรุปโปรแกรมครับ ^^
VTR :OH Program44
45
ภาพรวมความสัมพันธ์ระหว่าง
เป้ าหมายของกิจกรรม 7 ครั้ง
ในโปรแกรม
การความคุมตนเอง
การรับรู้
ความสามารถ
ของตนเอง
ความรู้ &
เจตคติ
การจัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูล
1. ข้อมูลทั่วไปและลักษณะพื้นฐานของตัวแปร วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา
 ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พิสัย และค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
2. ตรวจสอบการแจกแจงปกติ
 ความเบ้ ความโด่ง และสถิติ Shapiro-Wilk
3. ตรวจสอบความเท่ากันของเมทริกซ์ความแปรปรวน-แปรปรวนร่วมของตัวแปร
 สถิติบอกซ์ (Box’s M) และ Levene’s Test
4. ทดสอบสมมติฐาน
 T-test
 วิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร (MANOVA)
46
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล47
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
48
56.3
43.7
0
10
20
30
40
50
60
เพศ (ร้อยละ)
เพศ ชาย
เพศ หญิง
6.6
47.3
46
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
50
ต่ำกว่ำ 2.0 2.0-2.9 3.0-4.0
ผลกำรเรียน
49
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
73.1
2 0.8 2.3
3.6
ผู้ที่ดูแลด้ำนอำหำร
คุณพ่อคุณแม่
ปู่ ย่า ตา ยาย
คุณครู
อื่นๆ เช่น ญาติ
ดูแลด้วยตนเอง
48.3
6.6
2.3
3.6
39.1
ผู้ดูแลด้ำนทำควำมสะอำดช่องปำก
คุณพ่อคุณแม่
ปู่ ย่า ตา ยาย
คุณครู
อื่นๆ เช่น ญาติ
ดูแลด้วยตนเอง
50
29.7
58.3
8.7
3.3
0
10
20
30
40
50
60
70
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา อื่นๆ
กำรศึกษำผู้ปกครอง
1
57.5
41.4
0
10
20
30
40
50
60
70
น้อยกว่า 20 บาท 20-50 บาท มากกว่า 50 บาท
เงินค่ำขนมมำโรงเรียน
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
51
20.2
32.7
19.9
27.1
0
5
10
15
20
25
30
35
ไม่เคยไปเลย 1 ครั้ง 2 ครั้ง มากกว่า 2 ครั้ง
ควำมถี่กำรไปพบหมอฟัน
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
การบริโภคอาหารของกลุ่มตัวอย่าง
52
35.5
33.5
17.1 16.6
11.8
6.4
5.1
0
5
10
15
20
25
30
35
40
ชนิดอำหำรที่บริโภคของกลุ่มตัวอย่ำง
ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
53
ตัวแปร 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
1. ความรู้ความเข้าใจ (k1) 1.000
2. การนาไปใช้ (k2) 0.254** 1.000
3. การเห็นคุณประโยชน์ (a1) 0.129* 0.157** 1.000
4. ความรู้สึกพอใจ (a2) 0.087 0.063 0.153** 1.000
5. ความพร้อมที่จะทา (a3) 0.041 0.130* 0.134** 0.099 1.000
6. การได้รับข่าวสารที่กระตุ้นฯ (m1) 0.086 0.055 0.149** 0.080 0.005 1.000
7. การสนับสนุนทางสังคม (m2) 0.129* 0.227** 0.129* 0.000 -0.041 0.330** 1.000
8. แบบอย่างจากเพื่อน (m3) 0.128* 0.209** 0.004 0.060 0.082 -0.036 0.089 1.000
9. การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค (t1) -0.028 -0.082 -0.164** -0.127* -0.108* -0.104* -0.140** -0.011 1.000
10. การรับรู้ความรุนแรงของโรค (t2) 0.127* 0.212** -0.085 0.115* 0.109* -0.185* -0.015 0.523** 0.123* 1.000
11. การรับรู้ความสามารถของตนเอง (se) 0.101* 0.217** 0.260** 0.159** 0.235** 0.252** 0.264** -0.015 -0.441** -0.094 1.000
12. การควบคุมตนเอง (sc) 0.175 0.147** 0.185** 0.123* 0.182** 0.168** 0.205** 0.006 -0.431** -0.155** 0.646** 1.000
13. การบริโภคอาหารเพื่ออนามัยช่องปาก (food) 0.067 0.091 0.082 0.050 0.286** 0.048 0.049 0.122* -0.034 0.156** 0.070 0.059 1.000
14. การทาความสะอาดช่องปาก (brush) 0.094 0.074 0.061 0.004 0.038 0.018 0.114** 0.112* -0.019 0.041 0.070 0.131** 0.075 1.000
15. ดัชนีคราบอ่อน (di) 0.006 0.074 0.093 -0.058 0.088 0.089 0.059 0.112* -0.074 0.031 0.133** 0.075 0.039 0.045 1.000
54
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
χ2 = 132.87, df = 75, p-value = 0.001, χ2/ df = 1.77; RMSEA = 0.044; RMR = 0.053; CFI = 0.94; AGFI = 0.93; GFI = 0.96
ค่าดัชนีความกลมกลืนที่ได้จากการวิเคราะห์ เกณฑ์และผลการพิจารณา
55
ดัชนี เกณฑ์ ค่าดัชนีก่อนปรับ ค่าดัชนีหลังปรับ ผลการพิจารณา
χ2 , p p > .05 308.13, 0.00 132.87, 0.00 ไม่ผ่านเกณฑ์
SRMR < .08 0.08 0.053 ผ่านเกณฑ์
RMSEA < .08 0.086 0.044 ผ่านเกณฑ์
GFI > .90 0.90 0.96 ผ่านเกณฑ์
NFI เข้าใกล้ 1 0.71 0.87 ผ่านเกณฑ์
CFI > .90 0.76 0.94 ผ่านเกณฑ์
AGFI > .90 0.86 0.93 ผ่านเกณฑ์
PNFI > .50 0.55 0.62 ผ่านเกณฑ์
χ2/df < 5.00 3.76 1.77 ผ่านเกณฑ์
คะแนนมาตรฐานของอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อมและอิทธิพลรวม
ระหว่างตัวแปรเชิงอิสระ กับตัวแปรตาม
56
ตัวแปรตำม R2
ควำม
สัมพันธ์
ตัวแปรอิสระ
ความรู้เรื่องโรค
และอนามัยช่อง
ปาก
สิ่งจูงใจให้
ปฏิบัติ
การรับรู้ต่อ
ภาวะคุกคาม
ของโรค
เจตคติที่ดีต่อ
การดูแลอนามัย
ช่องปาก
การปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
พฤติกรรมการ
ดูแลอนามัยช่อง
ปาก
เจตคติที่ดีต่อการดูแล
อนามัยช่องปาก
0.64
DE
IE
TE
0.29*
-
0.29*
-
-
-
-0.70*
-
-0.70*
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
0.83
DE
IE
TE
-
0.24*
0.24*
0.19*
-
0.19*
-
-0.58*
-0.58*
0.83*
-
0.83*
-
-
-
-
-
-
พฤติกรรมการดูแล
อนามัยช่องปาก
0.30
DE
IE
TE
-
0.13*
0.13*
-
0.10*
0.10*
-
-0.32*
-0.32*
-
0.45*
0.45*
0.54*
-
0.54*
-
-
-
สภาวะอนามัยช่องปาก 0.24
DE
IE
TE
-
0.03*
0.03*
-
0.02*
0.02*
-
-0.07*
-0.07*
-
0.10*
0.10*
-
0.12*
0.12*
0.22
-
0.22
χ2 = 132.87, df = 75, p-value = 0.001, SRMR=0.053, RMSEA = 0.044, GFI = 0.96, NFI = 0.87,
CFI = 0.94, AGFI = 0.93, PNFI = 0.62, χ2/ df = 1.77
สรุปผลการวิจัยระยะที่ 1
57
 โมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุตามสมมติฐานมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิง
ประจักษ์ โดยมีค่า χ2 = 132.87, df = 75, p-value = 0.001, χ2/ df = 1.77;
RMSEA = 0.044 ;RMR = 0.053 ; CFI = 0.94 ; AGFI = 0.93 ; GFI = 0.96
 ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก คือ ปัจจัยการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม โดยมีค่าอิทธิพล เท่ากับ .54
 ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก คือ ความรู้เรื่องโรคและ
อนามัยช่องปาก เจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปาก การรับรู้ต่อภาวะคุกคามของโรค และ
สิ่งจูงใจให้ปฏิบัติ โดยมีค่าอิทธิพลเท่ากับ .13 .45, -.32 และ .10 ตามลาดับ
 ตัวแปรความรู้เรื่องโรคและอนามัยช่องปาก เจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปาก การรับรู้
ต่อภาวะคุกคามของโรค และสิ่งจูงใจให้ปฏิบัติ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร่วมกันอธิบาย
ความแปรปรวนของพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก ได้ร้อยละ 30
การวิจัยระยะที่ 258
ตัวแปรจัดประเภทของกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรม
59
ตัวแปรจิตสังคม
(ตัวแปรจัดประเภท)
กลุ่มทดลอง (N=48)
กลุ่มควบคุม
(N=46)
รวม (N=94)
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค
กลุ่มสูง 21 45.7 25 54.3 46 48.9
กลุ่มต่า 27 56.2 21 43.8 48 51.1
การได้รับข่าวสารกระตุ้นการ
ดูแลอนามัยช่องปาก
กลุ่มสูง 27 56.2 22 47.8 49 52.1
กลุ่มต่า 21 43.8 24 52.2 45 47.9
ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และพิสัย ของตัวแปรตาม
จาแนกตามกลุ่มการทดลอง และช่วงเวลาของการวัด
60
ตัวแปร
กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม รวม
พิสัย(N=48) (N=46) (N=94)
X̅ SE X̅ SE X̅ SE
การรับรู้ความสามารถของตนเอง (0-60)
ก่อนการทดลอง 45.71 1.05 45.89 0.94 45.87 0.69 31-60
หลังการทดลอง 49.04 1.00 47.15 1.06 48.11 0.73 26-60
การควบคุมตนเอง (0-60)
ก่อนการทดลอง 44.27 0.97 45.83 1.09 45.03 0.74 24-60
หลังการทดลอง 46.60 1.08 48.34 0.92 47.45 0.74 28-60
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก (0-20)
ก่อนการทดลอง 8.42 0.20 8.81 0.26 8.61 0.16 5.3-13.1
หลังการทดลอง 10.30 0.26 9.04 0.29 9.68 0.20 5.2-14.4
สภาวะอนามัยช่องปาก (0-36)
ก่อนการทดลอง 11.71 0.64 10.28 0.78 11.01 4.91 1-25
หลังการทดลอง 4.29 0.56 10.67 0.72 7.41 5.43 0-24
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก และสภาวะอนามัยช่องปาก
ของกลุ่มทดลอง/ก่อน-หลังการทดลอง
61
8.42
10.3
0
2
4
6
8
10
12
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง
พฤติกรรมกำรดูแลอนำมัยช่องปำก
11.71
4.29
0
2
4
6
8
10
12
14
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง
สภำวะอนำมัยช่องปำก
รับรู้ความสามารถของตนเอง และการควบคุมตนเอง
ของกลุ่มทดลอง/ก่อน-หลังการทดลอง
62
45.89
47.15
45.2
45.4
45.6
45.8
46
46.2
46.4
46.6
46.8
47
47.2
47.4
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง
กำรรับรู้ควำมสำมำรถของตนเอง
45.83
48.34
44.5
45
45.5
46
46.5
47
47.5
48
48.5
49
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง
กำรควบคุมตนเอง
ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบพหุตัวแปรทางเดียว (1-way MANOVA) ของ
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก และสภาวะอนามัยช่องปาก ระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับ
โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากกับกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับโปรแกรม
63
แหล่งความแปรปรวน
ค่าสถิติ Multivariate
sig.
Wilks’ Lambda F-test
ก่อนกำรทดลอง
ระหว่างกลุ่มทดลอง - กลุ่มควบคุม 0.968 1.513 0.226
หลังกำรทดลอง
ระหว่างกลุ่มทดลอง - กลุ่มควบคุม 0.625 27.309 <0.001*
ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบพหุตัวแปร จาแนกตามรูปแบบการฝึกอบรม
การวัดหลังการทดลอง 3 เดือน
64
แหล่งความแปรปรวน อิทธิพล F-test df sig.
อิทธิพลพหุตัวแปร TC 27.309 2 <0.001*
อิทธิพลของตัวแปรเดียว
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก TC 10.631 1 0.002*
สภาวะอนามัยช่องปาก TC 49.230 1 <0.001*
ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปรของคะแนนเฉลี่ยรวมของพฤติกรรมการดูแล
อนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปาก จาแนกตามรูปแบบการฝึกอบรม การรับรู้โอกาส
เสี่ยงต่อการเป็นโรค และการได้รับข่าวสารกระตุ้นการดูแลอนามัยช่องปาก
65
แหล่งความแปรปรวน
ค่าสถิติ Multivariate
sig.
Wilks’ Lambda F-test
ระหว่ำงกลุ่ม
รูปแบบการฝึกอบรม (กลุ่มทดลอง - กลุ่มควบคุม) 0.601 28.246 <0.001*
การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค(กลุ่มสูง-กลุ่มต่า) 0.997 0.109 0.897
การได้รับข่าวสารฯ (กลุ่มสูง - กลุ่มต่า) 0.969 1.360 0.262
ปฎิสัมพันธ์ 2 ทาง
รูปแบบการฝึกอบรม X การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค 0.952 2.119 0.126
รูปแบบการฝึกอบรม X การได้รับข่าวสารฯ 0.949 2.300 0.107
ปฎิสัมพันธ์ 3 ทาง
รูปแบบการฝึกอบรม X การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคX
การได้รับข่าวสารฯ
0.987 0.540 0.585
* มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
การเปรียบเทียบรายคู่ของพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากและ
สภาวะอนามัยช่องปาก ระหว่างรูปแบบการฝึกอบรมที่แตกต่างกัน
66
10.3
9.04
8.4
8.6
8.8
9
9.2
9.4
9.6
9.8
10
10.2
10.4
กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
พฤติกรรมกำรดูแลอนำมัยช่องปำก
4.29
10.67
0
2
4
6
8
10
12
กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
สภำวะอนำมัยช่องปำก
คะแนนเฉลี่ยการบริโภคอาหารเพื่ออนามัยช่องปาก การทาความสะอาดช่องปาก
และสภาวะอนามัยช่องปาก จาแนกตามกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาและระยะเวลาที่ทดลอง
67
39.2
8.41
11.7
43.55
12.62
4.29
40.89
8.89
10.28
41.19
9.5
10.67
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
50
การบริโภคอาหารเพื่ออนามัยช่องปาก การทาความสะอาดช่องปาก สภาวะอนามัยช่องปาก
กลุ่มทดลอง (48 คน) ก่อนทดลอง
กลุ่มทดลอง (48 คน) หลังทดลอง
กลุ่มควบคุม (46 คน) ก่อนทดลอง
กลุ่มควบคุม (46 คน) หลังทดลอง
ผลการประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม
โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
68
รำยกำร คะแนนเฉลี่ย
1. กิจกรรมมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน 4.3
2. เนื้ อหาของกิจกรรมมีความเหมาะสม 4.3
3. เนื้ อหาของกิจกรรมสามารถนาไปใช้จริงได้ 4.3
4. ระยะเวลาที่ใช้ในการทากิจกรรมมีความเหมาะสม 4.5
5. กิจกรรมในโปรแกรมฯ ทาให้นักเรียนได้มีโอกาสคิดเป็น และ
วิเคราะห์ได้
4.2
6. สื่อการสอนที่ใช้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับกิจกรรมที่จะทา 4.1
7. เอกสาร/ใบงาน เขียนเข้าใจง่าย สอดคล้องกับกิจกรรมที่ทา 4.4
8. วิทยากรเอื้อให้เกิดการเรียนรู้อย่างเหมาะสม 4.4
9. ความรู้ที่ได้รับจากการทากิจกรรมในครั้งนี้ เป็นไปตามคาดหวังของ
นักเรียน
4.1
10. โดยภาพรวม นักเรียนพึงพอใจกับกิจกรรมในโปรแกรมฯนี้ 4.1
รวมเฉลี่ย 4.3
สรุปผลการวิจัย ระยะที่ 2
69
1. นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น จะมีพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่อง
ปากและสภาวะอนามัยช่องปากดีกว่าก่อนการได้รับโปรแกรมโดยคะแนนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก และคะแนน
สภาวะอนามัยช่องปากหลังการทดลอง มีค่าดีขึ้นกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01
จึงเป็นไปตำมสมมติฐำนที่ 1
2. นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น จะมีการรับรู้ความสามารถของ
ตนเอง การควบคุมตนเองสูงขึ้นกว่ากว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ในขณะที่ไม่พบความแตกต่าง
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนเองและการควบคุมตนเองในกลุ่มควบคุม
จึงเป็นไปตำมสมมติฐำนที่ 2
3. นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น จะมีพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่อง
ปากและสภาวะอนามัยช่องปากดีกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับโปรแกรม โดยคะแนนเฉลี่ยรวมของคะแนนพฤติกรรมการดูแลอนามัย
ช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปากของนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมภายหลังการทดลอง มีความแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย (F = 27.309, p <0.001) จึงเป็นไปตำมสมมติฐำนที่ 3
4. พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปากจะแปรเปลี่ยนไปตามรูปแบบการฝึกอบรม และนักเรียนที่มี
คุณลักษณะทางจิตสังคม คือ การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค การได้รับข่าวสารกระตุ้นการดูแลอนามัยช่องปากจะมี
ระดับสูงต่าเท่าใดก็ตาม เมื่อเข้าโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก จะได้ผลการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปากเช่นเดียวกัน จึงไม่เป็นไปตำมสมมติฐำนที่ 4
อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ70
อภิปรายผล
71
 สมมติฐานข้อที่ 1 แบบจาลองสมมติฐานที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมี
สมมติฐานย่อยตามเส้นทางอิทธิพลของตัวแปรต่างๆ ดังนี้
 รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้นตาม
สมมติฐานมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์
 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุตามสมมติฐานก่อนทาการปรับโมเดล ยังไม่มีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิง
ประจักษ์
 ค่าสถิติไค-สแควร์มีนัยสาคัญทางสถิติ (χ2 = 132.87, df = 75, p-value = 0.001) ซึ่งไม่เป็นไปตามเกณฑ์
 อาจเนื่องมาจากการได้รับผลกระทบจากความซับซ้อนของโมเดล กล่าวคือ ถ้าโมเดลมีเส้นอิทธิพลหรือค่าพารามิเตอร์
จานวนมากก็มีแนวโน้มที่จะมีนัยสาคัญ หรือผลกระทบจากขนาดของกลุ่มตัวอย่าง คือ ถ้าโมเดลที่ทดสอบได้มาจาก
กลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ค่าไคสแควร์ก็ยิ่งมีแนวโน้มที่จะมีนัยสาคัญ หรืออาจเป็นผลกระทบจากการที่ค่าไคสแควร์มี
ความไวต่อการละเมิดข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับการแจกแจง แบบปกติพหุตัวแปร (Multivariate
Normality) (Joreskog & Sorbom, 1996)
 โมเดลที่มีการแก้ปรับแล้วนั้น เป็นโมเดลที่ได้จึงมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์มากที่สุด ดังนั้น โมเดล
ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น ตามสมมติฐานที่ได้หลังการแก้
ปรับมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในระดับดี
อภิปรายผลตามสมมติฐานที่ 2
1. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีอิทธิพลทางตรงต่อ
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก โดยมีค่า
สัมประสิทธิ์อิทธิพล (β) เท่ากับ 0.54
 ยิ่งนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองมาก
ขึ้นเท่าใด ย่อมส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการดูแล
อนามัยช่องปาก ดีขึ้นเท่านั้น
SE  OH Beh สอดคล้องกับหลายการศึกษา
 การศึกษาของ เตือนใจ ภาคภูมิ (2543)
 ราพึง ษรบัณฑิต (2536)
 ธงชัย ปรีชา (2540)
 เยาวลักษณ์ ตรีธัญญาทรัพย์ (2538)
 SC  OH Beh สอดคล้องกับหลายการศึกษา
 พวงทอง เล็กเฟื่องฟู (2539)
 สมศักดิ์ เลิศจีระจรัส (2554)

72
สมมติฐานที่ 2.1 อภิปราย
อภิปรายผลตามสมมติฐานที่ 2
2. สิ่งจูงใจให้ปฏิบัติ มีอิทธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมการ
ดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้นผ่านการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล
(β) เท่ากับ 0.10
 ยิ่งนักเรียนมีสิ่งจูงใจให้ปฏิบัติดีขึ้น ย่อมส่งผลให้
เกิดพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากดีขึ้นเท่านั้น
 สิ่งจูงใจให้ปฏิบัติเป็นปัจจัยโดยอ้อมที่ส่งผลต่อ
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากโดยส่งผ่านการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 สอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา
 เตือนใจ เทียนทอง (2546)
 ปิยะดา ประเสริฐสม (2546)
 เบญจา สุภสีมากุล (2544)
 สุดารัตน์ สุขเจริญ (2539)
 ชุรีพร เทียนธวัช (2547)
73
สมมติฐานที่ 2.3 อภิปราย
พฤติกรรมกำร
ดูแลอนำมัย
ช่องปำก
สิ่งจูงใจให้
ปฏิบัติ
กำร
ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
อภิปรายผลตามสมมติฐานที่ 2
3. เจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปาก มีอิทธิพลทางอ้อม
ต่อพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่น
ตอนต้นผ่านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยมีค่า
สัมประสิทธิ์อิทธิพล (β) เท่ากับ 0.45
 ยิ่งนักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปากดีขึ้น
เท่าใด ย่อมส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากดี
ขึ้นเท่านั้น
 จากการศึกษาในอดีตพบว่าเจตคติเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผล
ทางอ้อมต่อพฤติกรรมทันตสุขภาพ
 คาสเซมและคณะ (Kassem et al., 2003)
 คอนเนอร์และคณะ (Conner et al., 2002)
 แบคแมนและคณะ (Backman et al.,
2002)
 โบเกอร์และคณะ (Bogers et al., 2004)
 เตือนใจ เทียนทอง (2546)
 ธงชัย ปรีชา (2540)
74
สมมติฐานที่ 2.5 อภิปราย
พฤติกรรมการ
ดูแลอนามัย
ช่องปาก
เจตคติที่ดีต่อ
การดูแล
อนามัยช่อง
ปาก การ
ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
อภิปรายผลตามสมมติฐานที่ 2
4. ความรู้เรื่องโรคและอนามัยช่องปาก มีอิทธิพลทางอ้อม
ต่อพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่น
ตอนต้น ผ่านเจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปาก
และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์
อิทธิพล (β) เท่ากับ 0.13
 ยิ่งนักเรียนมีความรู้เรื่องโรคและอนามัยช่องปากมากขึ้น
เท่าใด ย่อมส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากดี
ขึ้นเท่านั้น
 ความรู้ไม่ใช่ปัจจัยโดยตรงที่จะส่งผลให้เกิดพฤติกรรม แต่เป็น
ปัจจัยโดยอ้อมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
โดยส่งผ่านเจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปากและการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สอดคล้องกับผลการวิจัยในหลายการศึกษา
 ภัทร์ธิรา บุญเสริมส่ง (2536)
 พรทิพย์ วงศ์พิทักษ์ (2541)
 เย็นจิต ไชยฤกษ์ (2542)
 เตือนใจ ภาคภูมิ (2543)
75
สมมติฐานที่ 2.7 อภิปราย
ความรู้เรื่องโรค
และอนามัยช่อง
ปาก
พฤติกรรมการ
ดูแลอนามัยช่อง
ปาก
เจตคติที่ดีต่อ
การดูแลอนามัย
ช่องปาก
การ
ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
Knowledge is a necessary, but
not sufficient, basis for behavior
change.
อภิปรายผลตามสมมติฐานที่ 2
5. การรับรู้ต่อภาวะคุกคามของโรค มีอิทธิพลทางอ้อมต่อ
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น
ผ่านเจตคติที่ดีต่อการดูแลอนามัยช่องปากและการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพล
(β) เท่ากับ -0.32
 หากนักเรียนมีการรับรู้ต่อภาวะคุกคามของโรคมาก อาจจะส่งผล
ให้มีการรับรู้ความสามารถของตนเองในการดูแลสุขภาพของ
ตนเองน้อยลง ซึ่งจะส่งผลให้พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
น้อยลง
 สาวิณี ชาญสินธพ (2014). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้
อันตรายจากบุหรี่มือสองและพฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกใน
ครอบครัวมุสลิมที่มีผู้สูบบุหรี่ในจังหวัดนราธิวาส
 Treated variables show a lower
association with smoking cessation
than coping variable (Grindly,Zizzi&
Nasypany.2008)
 ถ้าบุคคลมีการรับรู้ความสามารถของตนในการกระทาพฤติกรรมนั้น
ต่า บุคคลก็มีแนวโน้มที่จะกระทาพฤติกรรมนั้นต่า หรืออาจไม่ทา
พฤติกรรมนั้นเลยก็ได้
 พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก เป็นพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่
ลักษณะที่ต้องทาต่อเนื่อง (Long Term Behavior) ซึ่งมี
ความแตกต่างจากพฤติกรรมเพื่อการป้ องกันโรคทั่วไปที่มีลักษณะเป็น
พฤติกรรมครั้งเดียว (one-time health related
behavior)
76
สมมติฐานที่ 2.9 อภิปราย
การรับรู้ต่อ
ภาวะคุกคาม
ของโรค
พฤติกรรมการ
ดูแลอนามัยช่อง
ปาก
เจตคติที่ดีต่อ
การดูแลอนามัย
ช่องปาก
การ
ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
Many fear appeals fail to adequate
address self efficacy
(Witte,1991,1993)
สรุปผลการวิจัย ระยะที่ 2
77
1. นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น จะมีพฤติกรรมการดูแลอนามัย
ช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปากดีกว่ำก่อนกำรได้รับโปรแกรมโดยคะแนนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก และ
คะแนนสภาวะอนามัยช่องปากหลังการทดลอง มีค่าดีขึ้นกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01
2. นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น จะมีการรับรู้ความสามารถของ
ตนเอง การควบคุมตนเองสูงขึ้นกว่ำกว่ำก่อนกำรทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ในขณะที่ไม่พบความ
แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนเองและการควบคุมตนเองในกลุ่มควบคุม
3. นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น จะมีพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่อง
ปากและสภาวะอนามัยช่องปากดีกว่ำนักเรียนที่ไม่ได้รับโปรแกรมโดยคะแนนเฉลี่ยรวมของคะแนนพฤติกรรมการดูแล
อนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปากของนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมภายหลังการทดลอง มีความ
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย (F = 27.309, p <0.001)
4. พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปากจะแปรเปลี่ยนไปตำมรูปแบบกำรฝึกอบรม และนักเรียนที่มี
คุณลักษณะทางจิตสังคม (ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค การได้รับข่าวสารกระตุ้นการดูแลอนามัยช่องปาก) จะมี
ระดับสูงต่าเท่าใดก็ตาม เมื่อเข้าโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก จะได้ผลการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปากเช่นเดียวกัน
อภิปรายผลการวิจัย
 นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่น
ตอนต้น จะมีพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่อง
ปากและสภาวะอนามัยช่องปากดีกว่าก่อนการ
ได้รับโปรแกรม
 คะแนนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก และ
คะแนนสภาวะอนามัยช่องปากหลังการทดลอง มี
ค่าดีขึ้นกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01
 โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯซึ่ง
ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
ของนักเรียน
 ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดัชนีทางกายภาย คือ
ดัชนีคราบอ่อน ให้มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นกว่า
ก่อนการได้รับโปรแกรมฯ
78
สมมุติฐานที่ 1 อภิปราย
อภิปรายผลการวิจัย
 นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่น
ตอนต้น จะมีการรับรู้ความสามารถของ
ตนเองและการควบคุมตนเองสูงกว่านักเรียน
ที่ไม่ได้รับโปรแกรม การวัดหลังการทดลอง
ทันที
 โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯมีประสิทธิภาพ
ในการเปลี่ยนแปลงการรับรู้ความสามารถของตนเอง
และการควบคุมตนเองให้มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นกว่า
นักเรียนที่ไม่ได้รับโปรแกรมฯ
 ความรู้เรื่องโรคและอนามัยช่องปากเป็นเพียงปัจจัยที่
ส่งผลโดยอ้อม
 ชุดฝึกอบรมในโปรแกรมให้ความสาคัญในกิจกรรม
เพื่อพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเองและการ
ควบคุมตนเองค่อนข้างสูง โดยมีสัดส่วนในการพัฒนา
ในเรื่องดังกล่าวถึงร้อยละ 80 ของโปรแกรม
79
สมมุติฐานที่ 2 อภิปราย
อภิปรายผลการวิจัย
 นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่น
ตอนต้น จะมีพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่อง
ปากและสภาวะอนามัยช่องปากดีกว่านักเรียน
ที่ไม่ได้รับโปรแกรม
 โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯส่งผลให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงดัชนีทางกายภาย คือ ดัชนี
คราบอ่อน ให้มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นกว่า
นักเรียนที่ไม่ได้รับโปรแกรม
 ชุดฝึกอบรมในโปรแกรมการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก จะให้
ความสาคัญในกิจกรรมเพื่อพัฒนาการรับรู้
ความสามารถของตนเองและการควบคุมตนเอง
ค่อนข้างสูง
 ลักษณะของกิจกรรมที่มีการสอดประสาน
ลักษณะการทากิจกรรมกลุ่มและการเรียนรู้เชิง
หรรษา ทาให้นักเรียนให้ความร่วมมือในการ
ปฏิบัติค่อนข้างสูง
80
สมมุติฐานที่ 3 อภิปราย
อภิปรายผลการวิจัย
 นักเรียนที่ได้รับการฝึกอบรมตามโปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัย
ช่องปาก ที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็น
โรคสูงและการได้รับข่าวสารที่กระตุ้นการ
ดูแลอนามัยช่องปากสูงจะมีพฤติกรรมการ
ดูแลอนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่อง
ปากดีกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับการฝึก มีการรับรู้
โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่า และการได้รับ
ข่าวสารที่กระตุ้นการดูแลอนามัยช่องปากต่า
 พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากและสภาวะ
อนามัยช่องปากจะแปรเปลี่ยนไปตามรูปแบบ
การฝึกอบรม
 นักเรียนที่มีคุณลักษณะทางจิตสังคมจะมี
ระดับสูงต่าเท่าใดก็ตาม เมื่อเข้าโปรแกรมการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก
จะได้ผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแล
อนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปาก
เช่นเดียวกัน
 รูปแบบการฝึกอบรม คือ การได้รับหรือ ไม่ได้
รับโปรแกรมเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่มีผลให้
เกิดความแตกต่างต่อพฤติกรรมการดูแล
อนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปาก
81
สมมุติฐานที่ 4 อภิปราย
ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติ
82
1. ควรนาเทคนิคการวิจัยในเชิงคุณภาพเข้ามาใช้เพื่อค้นหาคาตอบเกี่ยวกับสาเหตุหรือเงื่อนไขที่
เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้นเพิ่มขึ้น
2. เนื่องจากในบริบทของการเรียนและกิจกรรมของโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมี
ความแตกต่างไปจากโรงเรียนในต่างจังหวัด แบบจาลองดังกล่าวจึงอาจจะนาไปใช้อธิบาย
ปรากฏการณ์ได้มีข้อจากัด
3. ควรมีการวิจัยเพิ่มเติมเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัย
ช่องปากของวัยรุ่นตอนต้นในกลุ่มตัวอย่างในเขตชนบท ซึ่งเป็นบริบทที่แตกต่างจากการวิจัยในครั้งนี้
4. ควรมีการศึกษาแบบติดตามระยะสั้น และระยะยาว ภายหลังจากการจัดโปรแกรมการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น เพื่อพิจารณาความยั่งยืนของพฤติกรรมที่
เปลี่ยนแปลง
5. ควรนาเสนอผู้บริหารโรงเรียนให้มีการบูรณาการนาโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแล
อนามัยช่องปากฯ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมของโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยบูรณาการ
ไปกับการดูแลอนามัยร่างกายอื่นๆ
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและประสิทธิผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแล
อนามัยช่องปากและสภาวะอนามัยช่องปากของวัยรุ่นตอนต้น
ขอบคุณครับ ^_^83

More Related Content

What's hot

9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWC Triumph
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดrungtip boontiengtam
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุBallista Pg
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
ข้อสอบ PISA วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชุดที่1
ข้อสอบ PISA วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชุดที่1 ข้อสอบ PISA วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชุดที่1
ข้อสอบ PISA วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชุดที่1 StemCenter Yupparaj
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAChay Kung
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
ข้อสอบ PISA วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชุดที่1
ข้อสอบ PISA วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชุดที่1 ข้อสอบ PISA วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชุดที่1
ข้อสอบ PISA วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชุดที่1
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 

Viewers also liked

วิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปากวิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปากChuchai Sornchumni
 
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557Chuchai Sornchumni
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมrubtumproject.com
 
6 weekend WHS for community FD in FM in service training
6 weekend WHS for community FD in FM in service training6 weekend WHS for community FD in FM in service training
6 weekend WHS for community FD in FM in service trainingsoftganz
 
J. Kaminski Mahara
J. Kaminski MaharaJ. Kaminski Mahara
J. Kaminski MaharaCOHERE2012
 
Iprc2014 presentation nathawut 12 aug 2014
Iprc2014 presentation nathawut 12 aug 2014Iprc2014 presentation nathawut 12 aug 2014
Iprc2014 presentation nathawut 12 aug 2014Nathawut Kaewsutha
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...Utai Sukviwatsirikul
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)Ritthiporn Lekdee
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ดพฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ดpawineeyooin
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านAimmary
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557Chuchai Sornchumni
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5Kongkrit Pimpa
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์Ballista Pg
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กKraisee PS
 
โรคฟันผุ
โรคฟันผุโรคฟันผุ
โรคฟันผุBallista Pg
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 

Viewers also liked (20)

วิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปากวิจัยช่องปาก
วิจัยช่องปาก
 
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
การสำรวจของเครือข่ายวิจัยทางการแพทย์เรื่องเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2557
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรมบททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
 
Epidemiology of NCD
Epidemiology of NCDEpidemiology of NCD
Epidemiology of NCD
 
6 weekend WHS for community FD in FM in service training
6 weekend WHS for community FD in FM in service training6 weekend WHS for community FD in FM in service training
6 weekend WHS for community FD in FM in service training
 
J. Kaminski Mahara
J. Kaminski MaharaJ. Kaminski Mahara
J. Kaminski Mahara
 
Iprc2014 presentation nathawut 12 aug 2014
Iprc2014 presentation nathawut 12 aug 2014Iprc2014 presentation nathawut 12 aug 2014
Iprc2014 presentation nathawut 12 aug 2014
 
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความ...
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ดพฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
พฤติกรรมการบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2557
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กการบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การบริหารงานบุคคล ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
 
Plaque control53
Plaque control53Plaque control53
Plaque control53
 
โรคฟันผุ
โรคฟันผุโรคฟันผุ
โรคฟันผุ
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 

Similar to Phd thesis presentation short 19 dec 2014

twessapan,+##default.groups.name.editor##,+Natthawat+Suwakhon.pdf
twessapan,+##default.groups.name.editor##,+Natthawat+Suwakhon.pdftwessapan,+##default.groups.name.editor##,+Natthawat+Suwakhon.pdf
twessapan,+##default.groups.name.editor##,+Natthawat+Suwakhon.pdf60909
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Yuwadee
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญเผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญPrasong Somarat
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-newwarit_sara
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
Jurnalจิริสุดา ประจักษ์ พรทิพย์ 2554
Jurnalจิริสุดา ประจักษ์ พรทิพย์ 2554 Jurnalจิริสุดา ประจักษ์ พรทิพย์ 2554
Jurnalจิริสุดา ประจักษ์ พรทิพย์ 2554 Taweesak Treepop
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.dentyomaraj
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)sirinyabh
 

Similar to Phd thesis presentation short 19 dec 2014 (20)

twessapan,+##default.groups.name.editor##,+Natthawat+Suwakhon.pdf
twessapan,+##default.groups.name.editor##,+Natthawat+Suwakhon.pdftwessapan,+##default.groups.name.editor##,+Natthawat+Suwakhon.pdf
twessapan,+##default.groups.name.editor##,+Natthawat+Suwakhon.pdf
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
T1
T1T1
T1
 
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญเผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ  พาณิชย์กิจเจริญ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ โดย ผอ.สมเกียรติ พาณิชย์กิจเจริญ
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
 
โคร
โครโคร
โคร
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
Jurnalจิริสุดา ประจักษ์ พรทิพย์ 2554
Jurnalจิริสุดา ประจักษ์ พรทิพย์ 2554 Jurnalจิริสุดา ประจักษ์ พรทิพย์ 2554
Jurnalจิริสุดา ประจักษ์ พรทิพย์ 2554
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 
Hr 3565401
Hr 3565401Hr 3565401
Hr 3565401
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
Final HRM
Final HRMFinal HRM
Final HRM
 
Final HRM
Final HRMFinal HRM
Final HRM
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
 
Wanchai s
Wanchai sWanchai s
Wanchai s
 
File1
File1File1
File1
 

Phd thesis presentation short 19 dec 2014

Editor's Notes

  1. เมธินี คุปพิยานันท์ (2546) เป็นการวิจัยในเชิงทดลองที่จะเน้นไปที่ประสิทธิผลของการฝึกอบรมทางจิตพฤติกรรมของเด็กนักเรียน วรวรรณ อัศวกุล (2555) เป็นการศึกษาอิทธิพลการฝึกจิตและทักษะแก่มารดาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของบุตร ปิยานุช ดวงกางใต้ (2551) วรวรรณ อัศวกุล (2546) ที่ศึกษาปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมารดาในการบริโภคอาหารของบุตรก่อนวัยเรียน
  2. A Social Cognitive Theory of Bandura (1986) advanced a view of human functioning that accords a central role to cognitive, self-regulatory, and self-reflective processes in human adaptation and change Reciprocal causation: behavior can also influence both the environment and the person. Each of the three variables: environment, person, behavior influence each other. (p, be, e) Self efficacy: Self efficacy means learners self confidence towards learning. People are more likely to engage in certain behaviors when they believe they are capable of implementing those behaviors successfully, this means that they have high self-efficacy. Self regulation: Self-regulation is when the individual has his own ideas about what is appropriate or inappropriate behavior and chooses actions accordingly. There are several aspects of self regulation.
  3. ปี 1988 Rosenstock เพิ่ม Cues to actions มีหลายชื่อไทย ปัจจัยกระตุ้น ปัจัยชักจูง เป้นต้น
  4. Collect data from 391 students, Nakhon-Nayok Province, selected through the stratified random sampling method. Seven latent variables of the study were measured from 15 observed variables.
  5. The step of the collect data, first student do the questionnaire And second, The plaque debris check-up And the last, evaluated tooth brushing practice by S.A.I Indexes
  6. The result of this study showed that, the hypothetical a causal model was consistent with empirical data with fit statistics; χ2 = 132.87, df = 75, p-value = 0.001, χ2/ df = 1.77; RMSEA = 0.044; RMR = 0.053; CFI = 0.94; AGFI = 0.93; GFI = 0.96