SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
Download to read offline
1
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนามนุษย์ให้มีคุณภาพมีศักยภาพและสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมี
ความสุข การศึกษาช่วยพัฒนาให้คนรู้จักคิด รู้จักปรับตัว รู้จักแก้ปัญหา มีทักษะในการทางานมีค่านิยมที่ดี
และมีการพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ การศึกษาในระดับอุดมศึกษามีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาวิชาการ
วิชาชีพชั้นสูง การค้นคว้า การวิจัย นักศึกษาและผู้ปกครองจึงให้ความคาดหวังต่อการเรียนและการ
ประกอบอาชีพของนักศึกษาไว้สูง นักศึกษาต้องตั้งใจเรียนและพัฒนาตนเองอยู่เสมอเพื่อให้มีผลการเรียนอยู่
ในระดับดี เมื่อสาเร็จการศึกษาแล้วสามารถออกไปหางานทาที่ดีได้ อีกทั้งการศึกษาในระดับอุดมศึกษานั้น
นักศึกษาจะต้องรู้จักการพึ่งพาตนเอง ทาทุกสิ่งทุกอย่างด้วยตนเอง เช่น การลงทะเบียนเรียน การเลือกวิชา
เรียน การคบเพื่อน การเลือกที่พักอาศัย ตลอดจนการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่ทางสาขาวิชา ภาควิชา คณะ
วิชา ที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น นอกจากนี้ในเรื่องการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนได้เปิดโอกาสให้นักศึกษามี
ความเป็นอิสระในการเรียนรู้ นักศึกษาต้องรู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง
มากขึ้น ซึ่งต่างจากการศึกษาในโรงเรียนต้องมีครูคอยเป็นผู้ให้คาปรึกษานักศึกษาที่ปรับตัวเข้ากับ
สภาพแวดล้อมของสถาบันได้ย่อมสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ แต่ถ้านักศึกษาปรับตัวไม่ได้มัก
เกิดความเครียดและความวิตกกังวลมีปัญหาทางด้านจิตใจและอารมณ์ ได้แก่ เกิดความกดดัน เกิดความ
กระวนกระวายใจ ความสับสน ความท้อแท้ ความเบื่อหน่าย หวาดหวั่น วิตกกังวล คิดฟุ้งซ่าน ปกติแล้ว
ความเครียดและความวิตกกังวลจะขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคลและสถานการณ์ ความเครียด
หรือความวิตกกังวลเพียงเล็กน้อย จะช่วยให้นักศึกษาปรับตัวและแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ แต่ถ้านักศึกษามี
มากจนเกินไปจะส่งผลต่อนักศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และบุคลิกภาพของนักศึกษา นอกจากปัจจัย
ที่มาจากตัวนักศึกษาเองเช่น การเจ็บป่วยการพักผ่อนไม่เพียงพอการติดสุรา และยาเสพติดแล้ว ความเครียด
และความวิตกกังวลยังขึ้นอยู่กับองค์ประกอบอื่นๆ ทางการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารหลักสูตร การจัดการเรียน
การสอนและสภาพแวดล้อมเป็นต้น (กรมสุขภาพจิต, 2542)
จากข้างต้นด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
จ.ระยอง ปีการศึกษา 2557 เพื่อนาผลการวิจัยมาพัฒนาระบบการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมส่งเสริม
สุขภาพจิตและการพัฒนานักศึกษาให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป
2
ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จ.ระยอง เพื่อ
พัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาศักยภาพการเรียนของนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพรวมทั้งช่วยให้
นักศึกษาปรับตัวและแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จ.ระยอง
2. เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สมมติฐานการวิจัย
ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ที่ได้รับจากบิดามาดา บุคคลที่นักศึกษาอาศัยอยู่ด้วย
เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษา
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย : นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จานวน 30 คน
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จ.ระยอง
ประกอบด้วย ตัวแปรต้น (independent variables) คือ เพศ อายุ รายได้ที่ได้รับจากบิดามารดา บุคคลที่
นักศึกษาอาศัยอยู่ด้วย ตัวแปรตาม (dependent variables) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียน
ได้แก่ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอก ปัจจัยภายในวิทยาลัย ปัจจัยส่วนบุคคล
ขอบเขตระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
1. ทาให้ทราบปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษา
2. เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอน พัฒนาแนวทางในการป้องกันและการ
ช่วยเหลือปัญหาความเครียดและสุขภาพจิตของนักศึกษา
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. นักศึกษา หมายถึง ผู้เรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
2. ความเครียดเกี่ยวกับการเรียน หมายถึง ความกดดันที่ทาให้บุคคลเกิดความรู้สึกไม่สบายใจ เป็น
สภาวะทางจิตที่เกิดจากบุคคลเผชิญปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งจากตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดความ
แปรปรวนทางด้านร่างกาย และจิตใจ ความเครียดจะเป็นปฏิกิริยาตอบสนองทั้งร่างกายและจิตใจ เกิด
พฤติกรรมที่แสดงอกมาในรูปของความกลัว ไม่สบายใจ ความวุ่นวายใจ ทาให้บุคคลเสียสมดุลของตนเอง
เป็นแรงผลักดันให้พฤติกรรมของบุคคลเปลี่ยนไป ในขณะที่เรียน ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
3. วิทยาลัย หมายถึง วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จังหวัดระยอง
- เพศ
- อายุ
- รายได้ที่ได้รับจากบิดามารดา
- บุคคลที่นักศึกษาอาศัยอยู่ด้วย
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียด
เกี่ยวกับการเรียน
- ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอก
- ปัจจัยภายในวิทยาลับ
- ปัจจัยส่วนบุคคล
4
บทที่ 2
เอกสารและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจเพื่อมุ่งศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
จ.ระยอง ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตามลาดับดังนี้
1. ทฤษฎีสุขภาพจิต
2 ทฤษฎีบุคคลิกภาพ
3. ความเครียดกับสุขภาพจิต
4. การส่งเสริมสุขภาพจิต
5. บทบาทของบ้าน โรงเรียน และชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพจิต
6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. ทฤษฎีสุขภาพจิต
ความหมายของสุขภาพจิต
องค์การอนามัยโลก ให้ความหมายของสุขภาพจิตว่า เป็นความสามารถของบุคคลที่จะปรับตัวให้มี
ความสุขอยู่กับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ดี มีสัมพันธภาพอันดีงามกับบุคคลอื่น และดารงชีวิตอยู่ด้วยความ
สมดุลอย่างสุขสบาย รวมทั้งสนองความต้องการของตนเองในโลกที่กาลังเปลี่ยนแปลงโดยไม่มีข้อขัดแย้ง
ภายในจิตใจ ทั้งนี้คาว่า “สุขภาพจิต” มิได้หมายความเฉพาะแต่เพียงความปราศจากอาการของโรคประสาท
และโรคจิตเท่านั้น
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2548) ให้ความหมายของสุขภาพจิต ไว้ว่า เป็นสภาพความ
สมบูรณ์ของจิตใจซึ่งดูได้จากความสามารถในเรื่องการกระชับมิตร พิชิตอุปสรรค และรู้จักพอใจ ดังนี้
การกระชับมิตร หมายถึง ความสามารถในการผูกมิตรและรักษาความเป็นมิตรไว้ให้ได้ รวมทั้ง
ความสามารถในการอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างราบรื่นและเป็นสุข
พิชิตอุปสรรค หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาและปรับตัวให้อยู่ได้ หรือก่อให้เกิด
ประโยชน์ได้ในท่ามกลางความเป็นอยู่และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
รู้จักพอ หมายถึง ความสามารถในการทาใจให้ยอมรับในสิ่งที่อยากได้ อยากเป็นเท่าที่ได้ที่เป็นอยู่
จริงได้ด้วยความสบายใจ
5
จากความหมายของสุขภาพจิตที่กล่าวมา สรุปได้ว่า สุขภาพจิต หมายถึงความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย
และจิตใจ คือ ปราศจากอาการต่างๆทางจิตและประสาท และสามารถปรับตัว หรือปรับความต้องการของ
ตนเองให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคม บุคคล และสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้ดี
โดยที่ตนเองไม่เป็นทุกข์สามารถผูกมิตร มีความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในทางที่ดี และสามารถปฏิบัติหน้าที่
การงาน การแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่างสุขสบาย และสามารถตอบสนองความต้องการ
ของตนเองได้ดี โดยไม่เกิดความขัดแย้งภายใน
ความสาคัญของสุขภาพจิต
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้มีพระราชดารัสตอนหนึ่งต่อคณะจิตแพทย์ณ
พระตาหนักภูพิงราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2520 ว่า
“สุขภาพจิตและสุขภาพกายนี้ มีความสัมพันธ์ที่จะโยงกันอย่างยิ่ง พูดได้ว่าสุขภาพจิตสาคัญกว่า
สุขภาพกายด้วยซ้า เพราะว่าคนไหนที่ทางกายสมบูรณ์แข็งแรง แต่จิตใจฟั่นเฟือนไม่ได้เรื่องนั้น ถ้าทาอะไรก็
จะยุ่งกันได้ กายที่แข็งแรงนั้นก็จะไม่ประโยชน์ต่อตนเองหรือสังคมอย่างใด ส่วนคนที่สุขภาพกายไม่สู้
แข็งแรงแต่สุขภาพจิตดี หมายความว่า จิตใจดี รู้จักจิตใจของตัว และรู้จักปฏิบัติให้ถูกต้องย่อมเป็นประโยชน์
ต่อตัวเอง และเป็นประโยชน์ต่อสังคมได้มาก ในที่สุดสุขภาพจิตที่ดีก็อาจจะพามาซึ่งสุขภาพทางกายที่ดีได้”
ซึ่งจะเห็นว่า สุขภาพจิตมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์หลายด้าน เช่น ด้านการศึกษา ด้าน
อาชีพ ด้านครอบครัว ด้านเพื่อนร่วมงาน และด้านสุขภาพร่างกาย ผู้ที่มีสุขภาพจิตดีจะประสบความสาเร็จใน
ทุกด้าน ถ้าสุขภาพจิตดีร่างกายก็สดชื่น หน้าตายิ้มแย้ม สมองแจ่มใส เป็นที่สบายใจแก่ผู้พบเห็น อยากคบค้า
สมาคมด้วย ทางานสาเร็จและบรรลุเป้าหมายที่วางไว้
ลักษณะของผู้มีสุขภาพจิตดีและไม่ดี
สุขภาพจิตมีหลายระดับ ในการพิจารณาเพื่อบอกลักษณะสุขภาพจิตว่าอยู่ในรูปแบบสุขภาพจิตที่ดี
หรือไม่ดีนั้น สามารถบอกได้โดยคุณลักษณะโดยรวม แบบกว้างๆ เพื่อใช้สาหรับการประเมินอย่างคร่าวๆ
ดังนั้น การจาแนกเกณฑ์การพิจารณาสุขภาพจิตดังกล่าว จึงสามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่
ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตดี และลักษณะของผู้มีสุขภาพจิตไม่ดี ดังนี้
ลักษณะของผู้มีสุขภาพจิตที่ดี
1. มีความสามารถในด้านสติปัญญา เป็นผู้ที่สามารถคิด และเข้าใจสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง
สามารถใช้สติปัญญาคิด และทาอย่างมีเหตุผล เต็มใจที่จะเผชิญกับปัญหา ใช้สติปัญญาในการแก้ปัญหาอย่าง
เหมาะสม
2. มีการแสดงออกทางด้านอารมณ์อย่างเหมาะสม เมื่อเผชิญกับปัญหาอุปสรรค และความตึงเครียด
สามารถรักษาและควบคุมอารมณ์ ตลอดจนการแสดงออกทางอารมณ์ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
3. มีการแสดงออกทางสังคมอย่างเหมาะสม สามารถใช้ทักษะทางด้านสังคมที่เหมาะกับกาลเทศะ
6
4. มีความสามารถในการทางานอย่างเต็มประสิทธิภาพ มีความสนุกกับการทางาน ทางานด้วยความ
เต็มใจ และกระตือรือร้น
5. สามารถแสดงออกซึ่งความรักกับผู้อื่นอย่างจริงใจตรงไปตรงมา มีความรักและนับถือตนเอง มี
ความเมตตากรุณา และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
6. มีความสามารถที่จะทนต่อความบีบคั้นทางจิตใจสามารถจัดการกับความตึงเครียดของตนเอง
7. ยอมรับตนเองในทุกด้านทั้งด้านบวกและด้านลบ ยอมรับภาพลักษณ์ของตนเอง และยอมรับข้อดี
และข้อเสียของตนเอง
ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตไม่ดี
1. ไม่สามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยแสดงพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนออกไป และ
จะแสดงความผิดปกติทางจิตที่เกิดจากความผิดปกติทางสมอง โรคจิต โรคประสาท บุคลิกภาพแปรปรวน
2. มีความผิดปกติทางด้านความประพฤติ เช่น ชอบทะเลาะวิวาท ก้าวร้าว เล่นการพนัน และติดสาร
เสพติด เป็นต้น
3. ความผิดปกติทางด้านประสาท เช่น หงุดหงิด ฉุนเฉียว ขี้อิจฉา พูดเพ้อเจ้อ ไม่สามรรถตัดสินใจ
เป็นต้น
4. มีความผิดปกติทางด้านลักษณะนิสัย เช่น กินยากอยู่ยาก หลับยาก กัดเล็บ ย้าคิดย้าทา และมักมี
ปัญหากับผู้อื่น
5. แสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับวัย เช่น กิริยามารยาท การพูด และการแต่งกาย
6. มีบุคลิกภาพที่บกพร่อง เช่น ชอบเก็บตัว ไม่ชอบคบหาสมาคมกับใคร เบื่อผู้คนและสิ่งแวดล้อม
7. มีความผิดปกติทางด้านร่างกาย เช่น เจ็บป่วยบ่อยๆ เป็นโรคกระเพาะอาหารอักเสบ ปวดศีรษะ
ข้างเดียว ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เป็นต้น
บุคลิกภาพกับสุขภาพจิต
บุคลิกภาพเป็นลักษณะทางความคิดการปรับตัวของมนุษย์พัฒนาการทางบุคลิกภาพของมนุษย์
มีอิทธิพลมาจากการพัฒนาแต่ละขั้นตอนของโครงสร้างทางจิตที่เรียกว่า อิด (Id) อีโก้ (Ego) และซุปเปอร์อี
โก (Superego) ทาให้มนุษย์มีพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละช่วงวัย
บุคลิกภาพ (Personality) หมายถึง แบบแผนลักษณะจาเพาะของแต่ละบุคคล เป็นผลมาจาก
ประสบการณ์ ประกอบด้วยความรู้สึกนึกคิด การรับรู้ และพฤติกรรมการแสดงออกของแต่ละบุคคลใน
ชีวิตประจาวัน บุคคลที่มีบุคลิกภาพดี เช่น พูดจาสุภาพ แต่งกายเรียบร้อย สามารถปรับตัวเข้ากับบุคคลอื่นได้
ดี ส่วนบุคคลที่มีบุคลิกภาพเบี่ยงเบนอย่างชัดเจน จะมีลักษณะของพฤติกรรมที่ไม่ยืดหยุ่น การปรับตัวไม่
เหมาะสม ทาให้เกิดปัญหาด้านสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น มีความคิด ความเข้าใจต่อตนเองและสิ่งแวดล้อม
คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง ถือว่าเป็นบุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ
7
2. ทฤษฎีบุคลิกภาพ
ทฤษฎีบุคลิกภาพมีหลากหลาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการนาไปใช้ หรือความสาคัญของแต่ละบุคคลที่
นาไปศึกษา แต่ที่นิยมใช้มี 2 ทฤษฎี คือ
1) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ (Psychoanalytic theory) เชื่อว่าโครงสร้างของบุคคล
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ อิด (id) อีโก้ (Ego) และซุปเปอร์อีโก (Superego) ที่ทาให้เกิดเป็นพฤติกรรมของ
มนุษย์
อิด (id) เป็นส่วนที่รวมสัญชาตญาณไว้ทั้งหมด เกิดจากประสบการณ์ มีลักษณะแสวงหา
ความสุขสบาย ความพอใจของตนเองโดยไม่คานึงถึงคุณธรรม ความเป็นจริงใดๆทั้งสิ้น
อีโก้ (Ego) เป็นส่วนที่พัฒนามาจาก id ทาให้มนุษย์อยู่ในโลกของความเป็นจริง ทาหน้าช่วยให้
รู้จักแยกแยะ อยู่ในกฎเกณฑ์ของสังคม นอกจากนี้ อีโก้ยังมีหน้าที่สาคัญ คือเป็นศูนย์กลางของบุคลิกภาพ มี
หน้าที่ติดต่อกับโลกภายนอกแทน อิดและซุปเปอร์อีโก
ซุปเปอร์อีโก (Superego) เป็นส่วนของจริยธรรม คุณธรรม ความดี และการมีอุดมคติ เกิดจาก
ส่วนของ อีโกที่ได้รับการพัฒนามาจากการเลี้ยงดูของครอบครัว กฎเกณฑ์ทางสังคม การรับรู้และการเรียนรู้
จากระเบียบวินัยและค่านิยม ชีวิตที่เติบโตภายใต้สิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล อยู่ใต้บุคลิกภาพ
ซึ่งไม่สามารถติดต่อโลกภายนอกได้ต้องผ่านการกลั่นกรองจาก อีโก มาก่อน โดยระบบการทางานของ อิด
อาศัยแหล่งแห่งความสาราญ และระบบการทางานของ อีโก อาศัยหลักแห่งความจริง สาหรับซุปเปอร์อีโก
ซึ่งอยู่นอกเหนือหลักของความเป็นจริง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. อุดมคติ หมายถึง ผู้ใหญ่สั่งสอนให้จดจาไว้ว่า สิ่งใดควรทา ควรประพฤติ เด็กที่ประพฤติ
ปฏิบัติตามอุดมคติของผู้ใหญ่ จะเป็นที่ชื่นชอบของผู้ใหญ่ หรือพ่อแม่
2. ความรู้สึกสานึก หมายถึง ความรู้สึกว่าสิ่งใดดีไม่ดี หรือเป็นความชั่วต้องละเว้น สิ่งใดที่พ่อ
แม่ไม่ชอบ เคยห้ามกระทาหรือประพฤติปฏิบัติ ถ้าเด็กทาก็จะได้รับโทษ ถูกว่ากล่าวตักเตือน หรือถูก
ลงโทษ ทาให้เด็กเรียนรู้ว่า เมื่อทาตามคาสอนหรือระเบียบวินัยที่ผู้ใหญ่กาหนดให้เด็กฝึกเป็นนิสัยแล้วนั้น
จะได้รับคาชมเชย แต่การทาอะไรที่ฝืนคาสั่งสอนและข้อบังคับแล้ว จะเหมือนถูกทาทา แม้เพียงแต่คิดยัง
ไม่กระทาก็จะสานึกผิดแล้ว
ซึ่งโครงสร้างทั้ง 3 ส่วนจะมีปฏิสัมพันธ์กัน หากส่วนใดมีอานาจเหนือกว่า บุคคลจะมี
บุคลิกภาพตามโครงสร้างนั้น ในคนปกติ
2) ทฤษฎีชนิดของบุคลิกภาพ (Type theory) ของ คาล จี จุง (Carl G. Jung) เชื่อว่าบุคลิกภาพ
หรือจิตใจ ประกอบด้วยระบบที่เป็นอิสระต่อกัน แต่มีการปฏิสัมพันธ์กัน แบ่งประเภทของบุคลิกภาพเป็น 2
ชนิด คือ
2.1 ชนิดเก็บตัว(Introvert) เป็นพวกที่ชอบใช้กลไกทางจิต (Mental mechanism) ควบคุมตนเอง
ชอบเก็บตัวอยู่ตามลาพัง ไม่ไว้ใจใคร ไม่ยุ่งกับใคร
8
2.2 ชนิดเปิดเผย (Extrovert) ชอบสังคม เปิดเผย ร่าเริง ยืดหยุ่นตามสิ่งแวดล้อม
ซึ่งจะเห็นว่าบุคคลปกติมักจะมีทั้ง 2 ลักษณะผสมอยู่ ช่วยในการปรับตัวให้เข้ากับลักษณะ
สิ่งแวดล้อมได้ดี เช่น บางครั้งต้องการอยู่เงียบๆ บางครั้งสามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมกับคนอื่นได้
3. ความเครียดกับสุขภาพจิต
การดาเนินชีวิตของบุคคลในแต่ละวันย่อมพบกับปัญหา และอุปสรรคต่างๆอยู่เสมอ
ความสามารถในการแก้ปัญหา หรือการหาทางออกไม่เหมาะสม ทาให้เกิดความกดดัน หรือเกิดความเครียด
หากความรู้สึกดังกล่าวไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมก็จะนาไปสู่ปัญหาสุขภาพจิต
ความหมายของความเครียด
ความเครียด (Stress) หมายถึง ความกดดันที่ทาให้บุคคลเกิดความรู้สึกไม่สบายใจ เป็นสภาวะ
ทางจิตที่เกิดจากบุคคลเผชิญปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งจากตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดความแปรปรวน
ทางด้านร่างกายและจิตใจ ความเครียดจะเป็นปฏิกิริยาตอบสนองทั้งร่างกายและจิตใจเกิดพฤติกรรมที่แสดง
อกมาในรูปของความกลัว ไม่สบายใจ ความวุ่นวายใจ ทาให้บุคคลเสียสมดุลของตนเอง เป็นแรงผลักดันให้
พฤติกรรมของบุคคลเปลี่ยนไป (Salye, 1974)
เซลยี(Selye, 1956,p97) ผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของการศึกษาเกี่ยวกับความเครียด อธิบาย
โดยอาศัยพื้นฐานทางสรีรวิทยาและเคมีวิทยาว่า ความเครียดเป็นภาวะหนึ่งของระบบชีวิตที่เกิดกลุ่มอาการ
เฉพาะขึ้นในร่างกาย ที่ร่างกายและจิตใจมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งที่มาคุกคามขัดขวางการทางาน การ
เจริญเติบโต ความต้องการของมนุษย์ทั้งจากภายในและภายนอกร่างกาย เป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน
ร่างกาย เพื่อต่อต้านการคุกคามนั้น และอธิบายเพิ่มเติมว่าความเครียดเป็นเหตุการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับ
สิ่งมีชีวิตที่มีความรู้สึกอ่อนไหว ความเครียดในระดับหนึ่งจะทาให้เกิดการปรับตัวซึ่งมีความหมายมากว่า
การตอบสนองทางด้านร่างกาย การปรับตัวนี้มีทั้งด้านบวกและด้านลบ และเป็นสิ่งที่สามารถหลีกเลี่ยงได้
ความเครียดที่มีมากและเกิดผลยาวนานจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ สติปัญญา ทัศนคติ และ
อารมณ์
ฟาร์เมอร์,โมนาฮาน และฮาคีเลอร์ (Famer,Monaham,&Hakeler,1984, p. 14) กล่าวถึง
ความเครียดว่าเป็นระดับความวิตกกังวล ที่บุคคลรับรู้อันเนื่องมาจากภาวการณ์ต่าง ๆ ซึ่งในภาวะการณ์
เดียวกันนี้จะทาให้บุคคลมีความเครียดแตกต่างกัน
ความหมายของความเครียด มีบุคคลได้ให้ความหมายไว้ต่างกัน สามารถสรุปได้ดังนี้
1. แบบสิ่งเร้า เป็นปัจจัยภายนอก หรือเป็นสิ่งเร้าที่มีต่อบุคคล ตามทัศนะนี้ ความเครียดเป็น
แรงกด แรงบีบ หรือสิ่งเร้าที่กดดันตัวบุคคล การตอบสนองความเครียดคือ การทาให้เครียด เมื่อถูกแรง
กดดันมากไปก็เกิดผลเสียต่อสุขภาพ
9
ความหมายของความเครียดในแบบสิ่งเร้าเป็นความเครียด เป็นกระบวนการที่สภาวะแวดล้อม
หรือพลังภายนอกที่เร้าให้คนตอบสนองต่อสิ่งนั้น (Baum & Baum, 1981, p.4 อ้างถึงใน ธารารัตน์ ชิ้นทอง,
2542, หน้า 13)
ดิเซนโซ และ รอบบินส์ (DeCenzo & Robbins, 1988, p. 513) ให้ความหมายของความเครียด
ในลักษณะที่เป็นสิ่งเร้า โดยมองว่าความเครียดเป็นสิ่งที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย เป็นเงื่อนไขที่บุคคลต้อง
เผชิญกับเหตุการณ์ที่ต้องระงับความรู้สึกหรือความต้องการซึ่งมีความสาคัญแต่ไม่มีความแน่นอน
ความเครียด เป็นสภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้าภายนอก จนก่อให้เกิดการปรับตัวเพื่อจัดการกับ
สิ่งนั้น (Dore, 1990, p. 6 )
ความหมายดังกล่าวจึงพอสรุปได้ว่า ความเครียดเป็นสิ่งเร้าจากภายนอก ที่ทาให้บุคคลต้อง
ปรับตัวหรือระงับความรู้สึกเพื่อจัดการกับสิ่งนั้น
2. แบบตอบสนอง เป็นปฏิกิริยาหรือการตอบสนองต่อปัจจัยภายนอก ตามทัศนะนี้
ความเครียดคือการตอบสนองทางร่างกายหรือทางจิตของบุคคลที่มีต่อสิ่งที่ทาให้เครียด (Stressor) โดยสิ่งที่
จะทาให้เกิดความเครียดนั้นอาจเป็นเหตุการณ์ภายนอก หรือสถานการณ์ที่มีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดอันตราย
ได้ จึงเห็นได้ว่า ตามทัศนะนี้จะมุ่งเน้นที่ปฏิกิริยาของคนที่มีต่อความกดดันของสิ่งแวดล้อม การตอบสนอง
อาจเป็นด้านร่างกาย หรือด้านจิตใจ (ธารารัตน์ ชิ้นทอง, 2542, หน้า 14)
ชนิดของความเครียด
สุพานี สฤษฎ์วานิช (2552, หน้า 385) ได้แบ่งชนิดของความเครียดออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1. Eustress หรือ Constructive Stress จะเกิดขึ้นเมื่อคนเรามีความเครียดที่อยู่ในระดับที่ไม่
มากจนเกินไป มีความเครียดเล็กน้อยจะทาให้เกิดผลในเชิงบวก คือมีพลัง มีความกระตือรือร้น
กระฉับกระเฉง มีความขยันขึ้น นักกีฬา นักธุรกิจ รวมทั้งนักเรียนควรมี Eustress จะได้ตั้งใจอ่านหนังสือ
ตั้งใจทบทวนความรู้ เป็นต้น เพื่อช่วยให้มีความกระตือรือร้นที่จะทางานให้ดีที่สุด
2. Distress หรือ Destructive Stress เป็นความเครียดที่มีมากจนเกินไปซึ่งส่งผลลบต่อบุคคล
นั้น ๆ เช่น ทาให้ความดันขึ้นสูง ปวดศรีษะมาก มึน หมดพลัง และมีปัญหาในทางพฤติกรรมต่าง ๆ
เกิดขึ้น
หรืออาจแบ่งความเครียดออกตามเวลาที่เกิด คือ
1. Acute Stress เป็นความเครียดที่เกิดขึ้นในระยะเวลาหนึ่ง ๆ และร่างกายก็ตอบสนองต่อ
ความเครียดนั้นทันทีเหมือนกัน โดยการหลั่งฮอร์โมนความเครียดออกมา เมื่อความเครียดหายไปร่างกายก็
จะกลับสู่ภาวะปกติ ภาวะที่ก่อให้เกิดความเครียด เช่น ความกลัว ความเหงา หรือสถานการณ์เร่งด่วน
เป็นต้น
2. Chronic Stress เป็นความเครียดเรื้อรัง เนื่องจากเกิดสะสมมานาน โดยร่างกายไม่สามารถ
ตอบสนองหรือจัดการต่อความเครียดนั้นได้ ตัวอย่างของความเครียดเรื้อรัง ได้แก่ ความเครียดจากการ
10
ทางานไม่สมบูรณ์สักทีตามสายตาของหัวหน้า หรือความเครียดที่เกิดจากปัญหาความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลในที่ทางานที่ยังแก้ไขไม่ได้ เป็นต้น
ชนิดของความเครียด
1. Acute stress คือความเครียดที่เกิดขึ้นทันที และร่างกายก็ตอบสนองต่อความเครียดนั้นทันที
เหมือนกัน โดยมีการหลั่งฮอร์โมนความเครียด เมื่อความเครียดหายไป ร่างกายก็จะกลับสู่ปกติเหมือนเดิม
ฮอร์โมนก็จะกลับสู่ปกติ ตัวอย่างความเครียด
 เสียง
 อากาศเย็นหรือร้อน
 ชุมชนที่คนมากๆ
 ความกลัว
 ตกใจ
 หิวข้าว
 อันตราย
2. Chronic stressหรือความเครียดเรื้อรังเป็นความเครียดที่เกิดขึ้นทุกวัน และร่างกายไม่สามารถ
ตอบสนองหรือแสดงออกต่อความเครียดนั้น ซึ่งเมื่อนานวันเข้าความเครียดนั้นก็จะสะสมเป็นความเครียด
เรื้อรัง ตัวอย่างความเครียดเรื้อรัง
 ความเครียดที่ทางาน
 ความเครียดที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
 ความเครียดของแม่บ้าน
 ความเหงา
ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับความเครียด
เมื่อมีภาวะกดดันหรือความเครียดร่างกายจะฮอร์โมนที่เรียกว่า cortisol และ adrenaline ฮอร์โมน
ดังกล่าวจะทาให้ความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็วเพื่อเตรียมพร้อมให้ร่างกายแข็งแรง และมีพลังงาน
พร้อมที่จะกระทาเช่นการวิ่งหนีอันตราย การยกของหนีไฟถ้าหากได้กระทาฮอร์โมนนั้นจะถูกใช้ไป ความ
กดดัน หรือความเครียดจะหายไป แต่ความเครียดหรือความกดดันมักจะเกิดขณะที่นั่งทางาน ขับรถ กลุ่มใจ
ไม่มีเงินค่าเทอมลูก ความเครียดหรือความกดดันไม่สามารถกระทาออกมาได้เกิดโดยที่ไม่รู้ตัว ทาให้
ฮอร์โมนเหล่านั้นสะสมในร่างกายจนกระทั่งเกิดอาการทางกายและทางใจ
11
ผลเสียต่อสุขภาพ
ความเครียดเป็นสิ่งปกติที่สามารถพบได้ทุกวัน หากความเครียดนั้นเกิดจากความกลัวหรืออันตราย
ฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจะเตรียมให้ร่างกายพร้อมที่จะต่อสู้ อาการทีปรากฏก็เป็นเพียงทางกายเช่นความดัน
โลหิตสูงใจสั่น แต่สาหรับชีวิตประจาวันจะมีสักกี่คนที่จะทราบว่าเราได้รับความเครียดโดยที่เราไม่รู้ตัว
หรือไม่มีทางหลีกเลี่ยง การที่มีความเครียดสะสมเรื้อรังทาให้เกิดอาการทางกาย และทางอารมณ์ อ่าน
รายละเอียดที่นี่
หากมีอาการเครียดมากและแสดงออกทางร่างกายดังนี้
 อ่อนแรงไม่อยากจะทาอะไร
 มีอาการปวดตามตัว ปวดศีรษะ
 วิตกกังวล
 มีปัญหาเรื่องการนอน
 ไม่มีความสุขกับชีวิต
 เป็นโรคซึมเศร้า
ให้ปฏิบัติตามคาแนะนา 10 ประการ
1. ให้นอนเป็นเวลาและตื่นเป็นเวลา เวลาที่เหมาะสมสาหรับการนอนคือเวลา 22.00น.เมื่อภาวะเครียด
มาก จะทาให้ความสามารถในการกาหนดเวลาของชีวิต( Body Clock )เสียไป ทาให้เกิดปัญหานอนไม่หลับ
หรือตื่นง่าย การกาหนดเวลาหลับและเวลาตื่นจะทาให้นาฬิกาชีวิตเริ่มทางาน และเมื่อความเครียดลดลง ก็
สามารถที่จะหลับได้เหมือนปกติ ในการปรับตัวใช้เวลาประมาณ 3 สัปดาห์ บางครั้งเมื่อไปนอนแล้วไม่หลับ
เป็นเวลา 45 นาที ให้หาหนังสือเบาๆมาอ่าน เมื่อง่วงก็ไปหลับ ข้อสาคัญอีกประการหนึ่งคือให้ร่างกายได้รับ
แสงแดดยามเช้า เพื่อส่งสัญญาณให้ร่างกายปรับเวลา
2. หากเกิดอาการดังกล่าวต้องจัดเวลาให้ร่างกายได้พัก เช่นอาจจะไปพักร้อน หรืออาจจะจัดวาระงาน
งานที่ไม่สาคัญและไม่เร่งด่วนก็ให้หยุดไม่ต้องทา
3. ให้เวลากับครอบครัวในวันหยุด อาจจะไปพักผ่อนหรือรับประทานอาหารนอนบ้าน
4. ให้เลื่อนการเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆในช่วงนี้ เช่นการซื้อรถใหม่ การเปลี่ยนบ้านใหม่ การเปลี่ยนงาน
เพราะการเปลี่ยนแปลงจะทาให้เกิดความเครียด
5. หากคุณเป็นคนที่ชอบทางานหรือชอบเรียนให้ลดเวลาลงเหลือไม่เกิน 40 ชม.สัปดาห์
6. การรับประทานอาหารให้รับประทานผักให้มากเพราะจะทาให้สมองสร้าง serotoninเพิ่มสารตัวนี้
จะช่วยลดความเครียด และควรจะได้รับวิตามินและเกลือแร่ในปริมาณที่เพียงพอ
12
7. หยุดยาคลายเครียด และยาแก้โรคซึมเศร้า
8. ให้ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และอาจจะมีการเต้นราด้วยก็ดี
หากปฏิบัติตามวิธีดังกล่าวแล้วยังมีอาการของความเครียดให้ปรึกษาแพทย์
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเครียด
 ความเครียดเหมือนกันทุกคนหรือไม่ สิ่งที่กระตุ้นให้เกิดความเครียดในแต่ละคนไม่เหมือนกัน
และการตอบสนองต่อความเครียดก็แตกต่างในแต่ละคน
 ความเครียดเป็นสิ่งไม่ดีจริงหรือไม่ ความเครียดเปรียบเหมือนสายกีตาร์ตึงไปก็ไม่ดี หย่อนไปเสียก็
ไม่ไพเราะ เช่นกันเครียดมากก็มีผลต่อสุขภาพเครียดพอดีจะช่วยสร้างผลผลิต และความสุข
 จริงหรือไม่ที่ความเครียดมีอยู่ทุกแห่งคุณไม่สามารถจัดการกับมันได้แม้ว่าจะมีความเครียดทุกแห่ง
แต่คุณสามารถวางแผนที่จะจัดการกับงาน ลาดับความสาคัญ ความเร่งด่วนของงานเพื่อลดความเครียด
 จริงหรือไม่ที่ไม่มีอาการคือไม่มีความเครียด ไม่จริงเนื่องจากอาจจะมีความเครียดโดยที่ไม่มีอาการ
ก็ได้และความเครียดจะสะสมจนเกินอาการ
 ควรให้ความสนใจกับความเครียดที่มีอาการมากๆใช่หรือไม่ เมื่อเริ่มเกิดอาการความเครียดแม้ไม่
มากก็ต้องให้ความสนใจ เช่นอาการปวดศีรษะ ปวดท้องเพราะอาการเพียงเล็กน้อยจะเตือนว่าคุณต้อง
เปลี่ยนแปลงวิธีการดาเนินชีวิตเพื่อลดความเครียด
 ความเครียดคือโรคจิตใช่หรือไม่ ไม่ใช่เนื่องจากโรคจิตจะมีการแตกแยกของความคิด บุคลิก
เปลี่ยนไปไม่สามารถดาเนินชีวิตเหมือนคนปกติ
 ขณะที่มีความเครียดคุณสามารถทางานได้อีก แต่คุณต้องจัดลาดับก่อนหลังและความสาคัญของ
งาน
 ไม่เชื่อว่าการเดินจะช่วยผ่อนคลายความเครียด การเดินจะช่วยผ่อนคลายความเครียดนั้น
 ความเครียดไม่ใช่ปัญหาเพราะเพียงแค่สูบบุหรี่ความเครียดก็หายไป การสูบบุหรี่หรือดื่มสุราจะทา
ให้ลืมปัญหาเท่านั้น นอกจากไม่สามารถแก้ปัญหาแล้วยังก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพในระยะยาวอีกด้วย
สาเหตุของความเครียด (Source of Stress)
สาเหตุของความเครียดมีอยู่มากมายหลายประการแตกต่างกันออกไป เนื่องจากธรรมชาติของ
ความเครียด คือ สถานการณ์หนึ่ง ๆ ไม่ทาให้เกิดระดับความเครียดในบุคคลอย่างเท่าเทียมกัน จึงมี
นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงสาเหตุของความเครียดไว้ต่าง ๆ กันดังนี้
สุพานี สฤษฎ์วานิช (2552, หน้า 388-393) กล่าวว่า สาเหตุที่อาจทาให้เกิดความเครียดจะมีได้
หลายอย่างและอาจเกิดพร้อมกันไปได้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
13
1. ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีความสลับซับซ้อนและ
เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว คาดหมายได้ยาก และส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของเราทุกคน
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนี้
1.1 สภาพเศรษฐกิจ
สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ตกต่า ฝืดเคือง มีผลกระทบต่อการจ้างงาน กาลังซื้อของผู้คนและ
ต้นทุนของธุรกิจ ธุรกิจต่างก็มีการปิดโรงงาน เลิกจ้างทาให้เกิดการว่างงาน หรือลดกาลังคน หรือลด
ค่าตอบแทนพนักงาน และสวัสดิการต่าง ๆ ลงจนทาให้คนเกิดความเครียด มีการฆ่าตัวตาย หรือกระโดด
ตึกอยู่เนื่อง ๆ
1.2 เทคโนโลยีหรือวิทยาการ
ความก้าวหน้าของวิทยาการ มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในสังคมในด้านต่าง ๆ เช่น ทาให้
ชีวิตสะดวกขึ้น การทางานง่ายลง แต่ก็จะมาทดแทนแรงงาน หรือใช้คนทางานลดลง หรือผู้ที่ปรับตัวตาม
วิทยาการใหม่ ๆ ไม่ได้ หรือได้รับผลกระทบในทางลบก็จะเกิดความเครียด
1.3 กฎหมายและการเมือง
ข้อกาหนดต่าง ๆ ของกฎหมาย เช่น กฎหมายเลือกตั้ง กฎหมายภาษีอากร กฎหมายผังเมือง
กฎหมายจัดระเบียบสังคม กฎหมายจัดระเบียบจราจร ล้วนแต่กระทบต่อกิจกรรม และ วิถีชีวิตของคนใน
สังคมในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งเป็นโอกาสและข้อจากัดในการดาเนินชีวิต
1.4 กระแสโลกาภิวัตน์
เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโลกนี้จะส่งผลกระทบถึงกันหมด เช่น กรณีสงครามอิสราเอลกับ
ปาเลสไตล์ สงครามอินเดียกับปากีสถาน หรือกรณีอิรักกับสหรัฐอเมริกาก็ทาให้โลกเกิดความไม่สงบ เกิด
ความไร้เสถียรภาพในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เกิดผลกระทบต่อการลงทุน อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย
ราคาน้ามัน เป็นต้น
1.5 ปัญหาสังคมในเรื่องต่าง ๆ
ขณะนี้สังคมมีความเสื่อมโทรมลง มีปัญหาสังคมเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ เช่น ปัญหายาเสพ
ติด ยาบ้า ปัญหาศีลธรรม วัฒนธรรม ประเพณีที่เสื่อมทรามลง ปัญหาการจราจรติดขัด เป็นต้น ปัญหา
เหล่านี้จะทาให้คนเกิดความเครียดได้โดยทั่วหน้า
2. ปัจจัยในระดับองค์การ จะได้แก่
2.1 ปัจจัยในเรื่องงาน (Job) งานอาจก่อให้เกิดความเครียดได้หลายลักษณะ เช่น
2.1.1 เป้าหมายไม่ชัดเจน หรือข้อมูลต่าง ๆ ไม่เพียงพอ ไม่ชัดเจน
2.1.2 ภาระงาน (Workload) เช่น
2.1.2.1 งานมาก และ/หรืองานเร่งด่วน
2.1.2.2 งานซับซ้อน และยุ่งยาก
14
2.1.2.3 หรืองานน้อย งานไม่ค่อยมีคุณค่า ไม่มีความหมาย
2.1.3 สภาพหรือเงื่อนไขของทางาน (Job Condition) เช่น ลักษณะงานบางอย่างที่ทาให้
ต้องกังวล เช่น งานรักษาพยาบาล หรือลักษณะงานที่ไม่ท้าทาย จาเจ น่าเบื่อ เช่น งานของพนักงานเก็บ
ค่าผ่านทาง งานของพนักงานกดลิฟท์ หรืองานที่ไม่ค่อยมีปฏิสัมพันธ์กับคน เช่น พนักงานคอมพิวเตอร์
ซึ่งการทางานประเภทนี้นาน ๆ จะมีผลต่อสุขภาพจิต
2.1.4 การไม่สามารถควบคุมในงานนั้น ๆ จะทาให้ผู้ปฏิบัติเกิดความเครียดได้
2.1.5 การเปลี่ยนแปลงในงาน และหรือเทคโนโลยีของงาน ก็จะทาให้เกิดความเครียดได้
ถ้าผู้ปฏิบัติไม่สามารถปรับตัวได้
2.1.6 โอกาสก้าวหน้าในสายงานมีจากัด
2.1.7 งานไม่มีความมั่นคง เช่น งานก่อสร้าง งานกรรมการ งานลูกจ้างชั่วคราว เป็นต้น
2.2 บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ (Role)
หลาย ๆ องค์การไม่มีคาบรรยายลักษณะงานที่ชัดเจน เป็นทางการ จึงทาให้บทบาทหน้าที่
และความรับผิดชอบไม่ชัดเจน คลุมเครือ (Role Ambiguity) หรือกรณีที่คน ๆ นั้นมีหน้าที่งานหลายอย่าง
จึงมีหลายบทบาทที่ต้องแสดงออกและบางครั้งบทบาทเหล่านั้นมีความขัดแย้งกันด้วย (Role Conflict) คนผู้
นั้นจึงเกิดความเครียดได้
2.3 ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
ในการทางานคนก็มักจะไม่ได้ทางานคนเดียว มักจะต้องมีเพื่อนร่วมงานในแผนกเดียวกัน และ
นอกแผนกด้วย เพราะเป็นธรรมชาติของคนที่เป็นสัตว์สังคม ถ้ามีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน คน ๆ นั้นก็จะมี
ความสุข มีแรงจูงใจ และความพอใจในงาน แต่ถ้ามีความสัมพันธ์ไม่ดีต่อกัน มีปัญหา มีความไม่เข้าใจกัน
มีความขัดแย้งกัน คนเหล่านั้นก็มักจะมีความเครียด เพราะไม่อยากเจอกัน และไม่อยากทางานร่วมกัน
2.4 โครงสร้างองค์การ กฎระเบียบและนโยบายต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสม
2.4.1 โครงสร้าง เช่น มีการรวมอานาจมาก หรือมีหน่วยงานมาก ซ้าซ้อนกัน ทาให้การ
ทางานต้องล่าช้า หรือยุ่งยาก โดยไม่จาเป็น
2.4.2 กฎระเบียบ เช่น ราชการมีกฎระเบียบมาก และเป็นกฎระเบียบที่ล้าสมัย ทาให้เกิด
ขั้นตอนมาก งานล่าช้าโดยไม่จาเป็น และเป็นกรอบจากัดการทางานทาให้ขาดอิสระและไม่เกิดความคิด
สร้างสรรค์
2.4.3 นโยบาย นโยบายต่าง ๆ ไม่ชัดเจนหรือไม่เป็นธรรม เช่น การเลื่อนขั้น เลื่อน
ตาแหน่ง การโยกย้าย การขึ้นค่าตอบแทน
2.5 ปัญหาด้านผู้นา
15
หลาย ๆ กรณีความเครียดของพนักงานจะเกิดจากการที่มีการทาตัวไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้นาคือ
เป็นผู้นาที่ไม่เป็นกลาง เล่นพรรคเล่นพวก หรือเป็นผู้นาที่ไม่เก่ง ไม่มีวิสันทัศน์ หรือไม่ทาตนเป็น
แบบอย่างที่น่ายกย่อง ไม่น่าศรัทธา
2.6 สถานการณ์ปัญหาขององค์การ
ถ้าองค์การมีปัญหา เช่น ขาดสภาพคล่อง ยอดขายลดลงอย่างต่อเนื่อง สมาชิกทุกคนของ
องค์การก็มักจะเครียดไปด้วย เพราะไม่รู้อนาคตขององค์การ และของตนเองว่าจะเป็นอย่างไร
2.7 ปัญหาอื่น ๆ เช่น สภาพทางกายภาพในการทางานที่ไม่ดี เช่น แออัด ไม่เป็นส่วนตัว
อากาศร้อน เสียงดัง เป็นต้น
3. ปัจจัยระดับบุคคล จะได้แก่
3.1 ปัญหาด้านบุคลิกภาพ และลักษณะของบุคคล
คนบางคนมีบุคลิกภาพแบบ Type A ซึ่งคนพวกนี้จะเครียดได้ง่ายกว่าพวก Type B เพราะ
Type A มักจะคิดหรือจะทาอะไรหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกัน ค่อนข้างกังวล เพราะจะห่วงงานอาจจะ
เรียกว่า บ้างาน เพราะมีความรับผิดชอบสูง และชอบทาอะไรเร็ว ๆ เป็นพวก Hurry Sickmess แต่พวก
Type B ซึ่งมักจะใจเย็น ทาอะไรช้า ๆ ไม่เร่งรีบ งานเสร็จก็ดี ไม่เสร็จก็ไม่เป็นไร รอได้
3.2 ปัญหาทางด้านจิตใจ
คนบางคนมีความต้องการต่าง ๆ เกิดขึ้นในใจ และกลัวว่าจะไม่ได้ดังที่ต้องการ จะทาให้
คนคนนั้นเกิดความเครียด เช่น กลัวสอบไม่ผ่าน กลัวทางานที่มอบหมายไม่สาเร็จ หรือปมด้อยที่เกิดในใจ
เช่น ไม่สวยอย่างคนอื่น ไม่รวยเท่าคนอื่น เป็นต้น ความเครียดนี้เป็นผลโดยตรงของการใช้เหตุผลเชิง
จริยธรรม
3.3 การเปลี่ยนแปลงในชีวิต
การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ อาจทาให้คนเราเกิดความเครียดได้ เช่น เมื่อต้องเข้าโรงเรียนใหม่ เข้า
ทางานใหม่ เมื่อต้องเปลี่ยนงาน ย้ายงาน ย้ายบ้าน เมื่อต้องแต่งงาน ความตายของคนที่รัก เป็นต้น
3.4 ความแตกต่างด้านเพศ
ผู้ชายจะมีฮอร์โมนที่ทาให้เกิดความเครียดได้ง่ายกว่าผู้หญิง ผู้หญิงจึงมีอายุยืนกว่าผู้ชายโดย
เฉลี่ยถึง 10 ปี
3.5 ปัญหาส่วนบุคคล
เช่น มีปัญหาสุขภาพ มีโรคประจาตัว เจ็บป่วยเรื้อรัง ปัญหากับแฟน เช่น ทะเลาะเบาะแว้ง
กัน หรือปัญหาทางด้านการเรียน หรือปัญหาความผิดหวังบางอย่างในชีวิต เป็นต้น
3.6 ปัญหาครอบครัว
มีปัญหาเรื่องลูก เรื่องสามีหรือภรรยา เช่น ความไม่เข้าใจกัน การหย่าร้าง การตายจากกัน
หรือปัญหาอันเนื่องมาจากคนอื่น ๆ ในครอบครัวมีปัญหา เป็นต้น
16
3.7 ปัญหาทางการเงิน
เช่น มีรายได้น้อย หรือมีรายได้ไม่พอกับค่าใช้จ่ายหรือมีภาระหนี้สินมาก เป็นต้น
3.8 ปัญหาอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว บุคคลก็อาจมีปัญหาอื่น ๆ ได้
ระดับของความเครียด
ดาวคินส์ และเซลเซอร์ (Dawkins & Seltzer, 1985) ได้แบ่งระดับความเครียดในงานออกเป็น 3
ระดับ คือ
1. ระดับต่า (Mild Stress) เป็นความเครียดที่เกิดจากสาเหตุ หรือสถานการณ์ในการทางานที่เข้ามา
คุกคามบุคคลนาน ๆ ครั้ง หรือเพียงเล็กน้อย ความรู้สึกเครียดจะเกิดขึ้นและหมดไปในระยะเวลาอันสั้น
และยังช่วยกระตุ้นให้บุคคลตื่นตัวและกระตือรือร้นในการทางาน
2. ระดับปานกลาง (Moderate Stress) เป็นความเครียดที่รุนแรงกว่าระดับแรกเกิดจากสาเหตุ หรือ
สถานการณ์ในการทางานที่เข้ามาคุกคามบุคคลบ่อยครั้ง หรือนานขึ้น เป็นวิกฤตการณ์อย่างหนึ่งในชีวิตที่
ทาให้บุคคลรู้สึกว่าอยู่ในระหว่างความสาเร็จและความล้มเหลว ไม่อาจแก้ไขหรือปรับตัวในเวลาอันรวดเร็ว
มีผลทาให้มีการแสดงออกของความเครียด เช่น ปฏิเสธก้าวร้าวเงียบขรึม เนื่องจากสามารถควบคุม
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
3. ระดับสูง (Sever Stress) เป็นความเครียดที่รุนแรงมากเกิดจากสาเหตุ หรือ สถานการณ์ในการ
ทางานที่รุนแรง หรือมีหลายสาเหตุร่วมกันเข้ามาคุกคามอย่างต่อเนื่อง ความรู้สึกเครียดจะคงอยู่นานเป็น
สัปดาห์ เดือนหรือเป็นปีเป็นผลมาจากบุคคลไม่สามารถปรับตัวต่อสถานการณ์ที่คุกคามอย่างต่อเนื่อง และ
หากไม่ได้รับการช่วยเหลือในการเผชิญกับสถานการณ์จะทาให้เกิดความเหนื่อยหน่าย และปรับตัวไม่ได้
ตามมา
สุรพงศ์ อาพันธ์วงษ์ (2539, หน้า 7) กล่าวว่า ระดับความวิตกกังวลต่อสถานการณ์จะเป็น
ตัวกาหนดความเครียดว่า ควรจะรุนแรงและยาวนานเพียงใด โดยอัตโนมัติอย่างไม่รู้สึกตัว ความเครียดที่
เกิดขึ้นในระดับปกติก็จะเกิดการดิ้นรนต่อสู้ในสถานการณ์ซึ่งอยู่ในวิสัยปฏิบัติได้โดยไม่เกินความสามารถ
ดึงกาลังแฝงมาใช้อย่างเกินกาลังปกติเป็นบางคราวในช่วงระยะเวลาหนึ่งเมื่อร่างกายได้รับสัญญาณจากจิตใจ
ว่า ถึงเวลาจาเป็นจะต้องทุ่มสุดตัวแล้ว จากนักวิชาการหลายท่านกล่าวมาแล้วสรุปได้ว่าความเครียดเกิดขึ้น
ในแต่ละบุคคลนั้น มีระดับความรุนแรงต่างกัน ซึ่งอาจแบ่งความเครียดออกเป็น 3 ระดับ คือ
1. ความเครียดระดับต่า ความเครียดระดับนี้พบได้ในชีวิตประจาวันของทุกคน ไม่ทาให้เกิดความ
เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกาย อารมณ์ ความคิด และพฤติกรรม ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อการดาเนิน
ชีวิต และสิ้นสุดในระยะเวลาอันสั้น ๆ
2. ความเครียดระดับปานกลาง ความเครียดระดับนี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของ
ร่างกาย อารมณ์ ความคิด และพฤติกรรม ทาให้เกิดผลเสียต่อการดาเนินชีวิต ต้องรีบหาทางแก้ไข
ความเครียดระดับนี้เกิดนานเป็นชั่วโมง หรือเป็นวัน
17
3. ความเครียดระดับสูง ความเครียดระดับนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นสัปดาห์ เป็นเดือน หรือเป็น
ปี มีผลให้เกิดความล้มเหลวในการปรับตัว มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย และจิตใจอย่างชัดเจน การ
ดาเนินชีวิตเสียไป บุคคลไม่สามารถแก้ไขภาวะเครียดด้วยตนเองได้ ต้องได้รับการช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ
ระดับวิชาชีพ
สุจริต สุวรรณชีพ (2532, หน้า 96) กล่าวว่า ระดับของความเครียดจะมากน้อยเพียงใดอยู่กับปัจจัย
ที่สาคัญ ดังนี้
1. ความรุนแรงของความกดดัน หรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น การสูญเสียที่ร้ายแรง
2. บุคลิกภาพของแต่ละบุคคล เช่น ผู้ที่รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเอง มั่นใจในตนเองกล้าได้กล้าเสีย
รู้จักมองการณ์ไกล ยืดหยุ่นได้ มีอารมณ์ขัน ฯลฯ จะมีความเครียดไม่มากนัก
3. ประสบการณ์ในการเผชิญปัญหา และความสามารถในการแก้ปัญหา
4. การประเมินความสาคัญของปัญหา ถึงแม้จะเป็นเรื่องรุนแรง แต่คิดว่าความสาคัญต่องานไม่
มากนัก หรือมีเจตคติในลักษณะที่มองเห็นปัญหาเป็นสิ่งท้าทายความสามารถของตนเองระดับความเครียดก็
จะไม่สูง
5. ความช่วยเหลือจากภายนอก หากรู้สึกว่าจะมีภัยก็จะได้รับความช่วยเหลือ
สุภาวดี นวลมณี (2541) ได้แบ่งระดับของความเครียดจากแบบสอบถามประเมินความเครียดของ
กรมสุขภาพจิต ดังนี้
1. ระดับน้อยสุด อาจหมายความว่า ท่านตอบไม่ตรงตามความเป็นจริง หรือขาดแรงจูงใจมีความ
เฉื่อยชา มีชีวิตประจาวันที่ซ้าซากจาเจ น่าเบื่อ ปราศจากความตื่นเต้น
2. ระดับน้อย หมายถึง สามารถจัดการกับความเครียดที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน และสามารถ
ปรับตัวกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รู้สึกพึงพอใจเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก
3. ระดับปานกลาง หมายถึง ว่าเป็นความเครียดที่พบได้ในชีวิตประจาวันอาจไม่รู้ตัวว่ามี
ความเครียดหรืออาจรู้สึกได้จากการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย อารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมบ้าง
เล็กน้อย แต่ไม่ชัดเจนและยังพอทนได้ อาจต้องใช้เวลาในการปรับตัวแต่ในที่สุดท่านก็สามารถจัดการกับ
ความเครียดได้และความเครียดระดับไม่เป็นผลเสียต่อการดาเนินชีวิต ในกรณีนี้ ท่านสามารถผ่อนคลาย
ความเครียดด้วยการหากิจกรรมที่เพิ่มพลัง เช่น ออกกาลังกาย เล่นกีฬา ทาสิ่งที่สนุกสนานเพลิดเพลิน เช่น
ดูหนัง ฟังเพลง อ่านหนังสือ หรือทางานอดิเรกต่าง ๆ
4. ระดับสูง หมายถึง ความตึงเครียดในระดับค่อนข้างสูง และได้รับความเดือดร้อนเป็นอย่างมาก
จากปัญหาทางอารมณ์ที่เกิดจากปัญหาความขัดแย้ง และวิกฤตการณ์ในชีวิตเป็นสัญญาณเตือนขั้นต้นว่าท่าน
กาลังเผชิญกับภาวะวิกฤต และความขัดแย้ง ซึ่งท่านจัดการแก้ไขด้วยความลาบาก ลักษณะดังกล่าวจะเพิ่ม
ความรุนแรง ซึ่งมีผลกระทบต่อการทางาน จาเป็นต้องหาวิธีแก้ไขข้อขัดแย้งต่าง ๆ ให้ลดน้อยลงหรือหมด
ไปด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่ง
18
สิ่งแรกที่ต้องรีบจัดการคือ ต้องมีวิธีคลายเครียดที่ดีและสม่าเสมอทุกวัน วันละ 1-2 ครั้ง ครั้งละ
10 นาที โดยนั่งในท่าที่สบาย หายใจลึก ๆ ให้หน้าท้องขยาย หายใจออกช้า ๆ นับ 1-10 ไปด้วยท่านจะใช้
วิธีนั่งสมาธิหรือสวดมนต์ก็ได้ ท่านควรแก้ปัญหาให้ดีขึ้น โดยค้นหาสาเหตุของปัญหาที่ทาให้เกิดความ
ขัดแย้ง หาวิธีแก้ไขปัญหาหลาย ๆ วิธี พร้อมทั้งพิจารณาผลดี ผลเสียของแต่ละวิธี เลือกวิธีที่เหมาะสมกับ
ภาวะของตนเองมากที่สุด ทั้งนี้ต้องไม่สร้างปัญหาให้เพิ่มขึ้น หรือทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน วางแผนแก้ไข
ปัญหาเป็นลาดับขั้นตอน และลงมือแก้ปัญหา
5. ระดับมากที่สุดหรือสูงกว่าปกติ หมายถึง กาลังตกอยู่ในภาวะตึงเครียด หรือกาลังเผชิญกับ
วิกฤตการณ์ในชีวิตอย่างรุนแรง เช่น การเจ็บป่วยที่รุนแรง เรื้อรัง ความพิการ การสูญเสีย ปัญหาความ
รุนแรงในครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจซึ่งส่งผลต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่รุนแรง ซึ่งส่งผลเสียต่อ
ตนเอง และบุคคลใกล้ชิดต่อไปได้ ในระดับนี้ท่านต้องไปปรึกษา หรือใช้บริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต
ทางโทรศัพท์ ซึ่งอาจจะช่วยให้ท่านมองเห็นปัญหา และแนวทางแก้ไขที่ชัดเจน และเหมาะสมต่อไป
ผลกระทบของความเครียด
ผลกระทบของความเครียดมีหลายอย่าง ซึ่งอาจเกิดพร้อม ๆ กันได้ แต่ก็สามารถแบ่งออกได้เป็น 3
กลุ่มดังนี้ (สุพานี สฤษฎ์วานิช 2522, หน้า 393-394)
1. ผลทางด้านจิตใจและอารมณ์ (Psychological Symptoms หรือ Emotional Exhaustion) ผลของ
ความเครียดทางด้านอารมณ์และจิตใจ เช่น เกิดความวิตก กังวลใจ ไม่มีสมาธิ หลงลืม หรือ อาจทาให้
พอใจในงานลดลง เบื่องาน เป็นต้น
2. ผลทางด้านร่างกาย (Physiological Symptoms) มักจะทาให้เกิดโรคต่าง ๆ ซึ่งในทางการแพทย์
เรียกว่าเป็น Function Disease เพราะว่ามันเป็นโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากเชื้อโรค เช่น เวลาเครียดแล้ว เรา
จะเกิดอาการนอนไม่หลับ ปวดหัว ไมเกรน มึนหัว ตื้อคิดอะไรไม่ออก ปวดท้อง ท้องเสีย เป็นโรค
กระเพาะ ความดันขึ้นสูง หัวใจสั่น และอาจเป็นโรคหัวใจตามมา
3. ผลทางด้านพฤติกรรม (Behavioral Symptoms) ผลทางด้านพฤติกรรมที่เกิดขึ้นมีมากมายซึ่ง
เป็นผลเนื่องมาจากผลทางจิตใจและร่างกาย เช่น อาจทาให้คนมีการทาร้ายตนเอง เช่น กรีดแขน มีการติด
ยา (ยานอนหลับ ยาแก้เครียด ยาเสพติด เช่น ยาอี) ติดเหล้า ติดบุหรี่
3.1 พฤติกรรมเชิงก้าวร้าว เช่น เสียงดัง ไม่เก็บอารมณ์ ขี้โมโห โวยวาย และมีพฤติกรรม
สร้างปัญหาในรูปแบบต่าง ๆ เป็นต้น
3.2 มีประสิทธิภาพการทางานลดลง งานผิดพลาดเสียหายล่าช้า ผลผลิตต่าลง
3.3 มีการหยุดงาน ขาดงานสูง
3.4 และในที่สุดก็จะหยุดงานถาวร คือต้องลาออกไป หรือถูกให้ออกไป
รอบบิน (Robbins, 1996, p. 618) กล่าวว่า พนักงานที่เผชิญกับความเครียดสามารถแสดงออกมา
ได้ในหลายลักษณะ แต่ละคนก็จะแสดงออกมาในลักษณะที่แตกต่างกัน เป็นต้นว่า ความดันโลหิตสูง เป็น
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5

More Related Content

What's hot

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำguest817d3d
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 

What's hot (20)

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
3
33
3
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 

Viewers also liked

ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลDome Lonelydog
 
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1jutarattubtim
 
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557Kongkrit Pimpa
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKongkrit Pimpa
 
สร้างโปรเจ็คแบบ Video Demo
สร้างโปรเจ็คแบบ   Video Demoสร้างโปรเจ็คแบบ   Video Demo
สร้างโปรเจ็คแบบ Video Demoกิจ มาฟรี
 
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพหน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพNu_waew
 
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดโครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดPloy Purr
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการUtai Sukviwatsirikul
 
Phd thesis presentation short 19 dec 2014
Phd thesis presentation short 19 dec 2014Phd thesis presentation short 19 dec 2014
Phd thesis presentation short 19 dec 2014Nathawut Kaewsutha
 
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้านการปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้านอลงกรณ์ อารามกูล
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการBest'Peerapat Promtang
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 

Viewers also liked (20)

ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอลชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
ชุดฝึกทักษะกีฬาเรื่องการยิงประตูและการป้องกันประตูกีฬาแฮนด์บอล
 
โครงร่างง..
โครงร่างง..โครงร่างง..
โครงร่างง..
 
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
เตรียมสอบ O net 57 การงานชุด1
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
 
PPT population kriangkrai
PPT population kriangkraiPPT population kriangkrai
PPT population kriangkrai
 
1
11
1
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
สร้างโปรเจ็คแบบ Video Demo
สร้างโปรเจ็คแบบ   Video Demoสร้างโปรเจ็คแบบ   Video Demo
สร้างโปรเจ็คแบบ Video Demo
 
Basic communication skills
Basic communication skillsBasic communication skills
Basic communication skills
 
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพหน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
หน่วยที่ 3 การตกเเต่งงานนำเสนอด้วยภาพ
 
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดโครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
 
Phd thesis presentation short 19 dec 2014
Phd thesis presentation short 19 dec 2014Phd thesis presentation short 19 dec 2014
Phd thesis presentation short 19 dec 2014
 
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้านการปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
การปกครองส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ของกำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 

Similar to วิจัยบทที่ 1 5

นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุขชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุขHathaichon Nonruongrit
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
คุณภาพผู้เรียน
คุณภาพผู้เรียนคุณภาพผู้เรียน
คุณภาพผู้เรียนWee Boon
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 

Similar to วิจัยบทที่ 1 5 (20)

นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุขชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
คุณภาพผู้เรียน
คุณภาพผู้เรียนคุณภาพผู้เรียน
คุณภาพผู้เรียน
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 

More from Kongkrit Pimpa

รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557Kongkrit Pimpa
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557Kongkrit Pimpa
 
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวชมาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวชKongkrit Pimpa
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการKongkrit Pimpa
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามKongkrit Pimpa
 

More from Kongkrit Pimpa (7)

รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2557
 
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวชมาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 

วิจัยบทที่ 1 5

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนามนุษย์ให้มีคุณภาพมีศักยภาพและสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมี ความสุข การศึกษาช่วยพัฒนาให้คนรู้จักคิด รู้จักปรับตัว รู้จักแก้ปัญหา มีทักษะในการทางานมีค่านิยมที่ดี และมีการพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ การศึกษาในระดับอุดมศึกษามีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูง การค้นคว้า การวิจัย นักศึกษาและผู้ปกครองจึงให้ความคาดหวังต่อการเรียนและการ ประกอบอาชีพของนักศึกษาไว้สูง นักศึกษาต้องตั้งใจเรียนและพัฒนาตนเองอยู่เสมอเพื่อให้มีผลการเรียนอยู่ ในระดับดี เมื่อสาเร็จการศึกษาแล้วสามารถออกไปหางานทาที่ดีได้ อีกทั้งการศึกษาในระดับอุดมศึกษานั้น นักศึกษาจะต้องรู้จักการพึ่งพาตนเอง ทาทุกสิ่งทุกอย่างด้วยตนเอง เช่น การลงทะเบียนเรียน การเลือกวิชา เรียน การคบเพื่อน การเลือกที่พักอาศัย ตลอดจนการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่ทางสาขาวิชา ภาควิชา คณะ วิชา ที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น นอกจากนี้ในเรื่องการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนได้เปิดโอกาสให้นักศึกษามี ความเป็นอิสระในการเรียนรู้ นักศึกษาต้องรู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง มากขึ้น ซึ่งต่างจากการศึกษาในโรงเรียนต้องมีครูคอยเป็นผู้ให้คาปรึกษานักศึกษาที่ปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมของสถาบันได้ย่อมสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ แต่ถ้านักศึกษาปรับตัวไม่ได้มัก เกิดความเครียดและความวิตกกังวลมีปัญหาทางด้านจิตใจและอารมณ์ ได้แก่ เกิดความกดดัน เกิดความ กระวนกระวายใจ ความสับสน ความท้อแท้ ความเบื่อหน่าย หวาดหวั่น วิตกกังวล คิดฟุ้งซ่าน ปกติแล้ว ความเครียดและความวิตกกังวลจะขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคลและสถานการณ์ ความเครียด หรือความวิตกกังวลเพียงเล็กน้อย จะช่วยให้นักศึกษาปรับตัวและแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ แต่ถ้านักศึกษามี มากจนเกินไปจะส่งผลต่อนักศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และบุคลิกภาพของนักศึกษา นอกจากปัจจัย ที่มาจากตัวนักศึกษาเองเช่น การเจ็บป่วยการพักผ่อนไม่เพียงพอการติดสุรา และยาเสพติดแล้ว ความเครียด และความวิตกกังวลยังขึ้นอยู่กับองค์ประกอบอื่นๆ ทางการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารหลักสูตร การจัดการเรียน การสอนและสภาพแวดล้อมเป็นต้น (กรมสุขภาพจิต, 2542) จากข้างต้นด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียน ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จ.ระยอง ปีการศึกษา 2557 เพื่อนาผลการวิจัยมาพัฒนาระบบการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพจิตและการพัฒนานักศึกษาให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าต่อสังคมและประเทศชาติต่อไป
  • 2. 2 ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า การวิจัยนี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จ.ระยอง เพื่อ พัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาศักยภาพการเรียนของนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพรวมทั้งช่วยให้ นักศึกษาปรับตัวและแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จ.ระยอง 2. เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สมมติฐานการวิจัย ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ที่ได้รับจากบิดามาดา บุคคลที่นักศึกษาอาศัยอยู่ด้วย เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษา ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย : นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จานวน 30 คน ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จ.ระยอง ประกอบด้วย ตัวแปรต้น (independent variables) คือ เพศ อายุ รายได้ที่ได้รับจากบิดามารดา บุคคลที่ นักศึกษาอาศัยอยู่ด้วย ตัวแปรตาม (dependent variables) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียน ได้แก่ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอก ปัจจัยภายในวิทยาลัย ปัจจัยส่วนบุคคล ขอบเขตระยะเวลา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
  • 3. 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 1. ทาให้ทราบปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียนของนักศึกษา 2. เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอน พัฒนาแนวทางในการป้องกันและการ ช่วยเหลือปัญหาความเครียดและสุขภาพจิตของนักศึกษา กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม นิยามศัพท์เฉพาะ 1. นักศึกษา หมายถึง ผู้เรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช 2. ความเครียดเกี่ยวกับการเรียน หมายถึง ความกดดันที่ทาให้บุคคลเกิดความรู้สึกไม่สบายใจ เป็น สภาวะทางจิตที่เกิดจากบุคคลเผชิญปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งจากตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดความ แปรปรวนทางด้านร่างกาย และจิตใจ ความเครียดจะเป็นปฏิกิริยาตอบสนองทั้งร่างกายและจิตใจ เกิด พฤติกรรมที่แสดงอกมาในรูปของความกลัว ไม่สบายใจ ความวุ่นวายใจ ทาให้บุคคลเสียสมดุลของตนเอง เป็นแรงผลักดันให้พฤติกรรมของบุคคลเปลี่ยนไป ในขณะที่เรียน ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช 3. วิทยาลัย หมายถึง วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จังหวัดระยอง - เพศ - อายุ - รายได้ที่ได้รับจากบิดามารดา - บุคคลที่นักศึกษาอาศัยอยู่ด้วย ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียด เกี่ยวกับการเรียน - ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอก - ปัจจัยภายในวิทยาลับ - ปัจจัยส่วนบุคคล
  • 4. 4 บทที่ 2 เอกสารและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจเพื่อมุ่งศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดเกี่ยวกับการเรียน ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จ.ระยอง ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตามลาดับดังนี้ 1. ทฤษฎีสุขภาพจิต 2 ทฤษฎีบุคคลิกภาพ 3. ความเครียดกับสุขภาพจิต 4. การส่งเสริมสุขภาพจิต 5. บทบาทของบ้าน โรงเรียน และชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพจิต 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. ทฤษฎีสุขภาพจิต ความหมายของสุขภาพจิต องค์การอนามัยโลก ให้ความหมายของสุขภาพจิตว่า เป็นความสามารถของบุคคลที่จะปรับตัวให้มี ความสุขอยู่กับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ดี มีสัมพันธภาพอันดีงามกับบุคคลอื่น และดารงชีวิตอยู่ด้วยความ สมดุลอย่างสุขสบาย รวมทั้งสนองความต้องการของตนเองในโลกที่กาลังเปลี่ยนแปลงโดยไม่มีข้อขัดแย้ง ภายในจิตใจ ทั้งนี้คาว่า “สุขภาพจิต” มิได้หมายความเฉพาะแต่เพียงความปราศจากอาการของโรคประสาท และโรคจิตเท่านั้น กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2548) ให้ความหมายของสุขภาพจิต ไว้ว่า เป็นสภาพความ สมบูรณ์ของจิตใจซึ่งดูได้จากความสามารถในเรื่องการกระชับมิตร พิชิตอุปสรรค และรู้จักพอใจ ดังนี้ การกระชับมิตร หมายถึง ความสามารถในการผูกมิตรและรักษาความเป็นมิตรไว้ให้ได้ รวมทั้ง ความสามารถในการอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างราบรื่นและเป็นสุข พิชิตอุปสรรค หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาและปรับตัวให้อยู่ได้ หรือก่อให้เกิด ประโยชน์ได้ในท่ามกลางความเป็นอยู่และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม รู้จักพอ หมายถึง ความสามารถในการทาใจให้ยอมรับในสิ่งที่อยากได้ อยากเป็นเท่าที่ได้ที่เป็นอยู่ จริงได้ด้วยความสบายใจ
  • 5. 5 จากความหมายของสุขภาพจิตที่กล่าวมา สรุปได้ว่า สุขภาพจิต หมายถึงความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ คือ ปราศจากอาการต่างๆทางจิตและประสาท และสามารถปรับตัว หรือปรับความต้องการของ ตนเองให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคม บุคคล และสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้ดี โดยที่ตนเองไม่เป็นทุกข์สามารถผูกมิตร มีความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในทางที่ดี และสามารถปฏิบัติหน้าที่ การงาน การแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่างสุขสบาย และสามารถตอบสนองความต้องการ ของตนเองได้ดี โดยไม่เกิดความขัดแย้งภายใน ความสาคัญของสุขภาพจิต พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้มีพระราชดารัสตอนหนึ่งต่อคณะจิตแพทย์ณ พระตาหนักภูพิงราชนิเวศน์ เมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2520 ว่า “สุขภาพจิตและสุขภาพกายนี้ มีความสัมพันธ์ที่จะโยงกันอย่างยิ่ง พูดได้ว่าสุขภาพจิตสาคัญกว่า สุขภาพกายด้วยซ้า เพราะว่าคนไหนที่ทางกายสมบูรณ์แข็งแรง แต่จิตใจฟั่นเฟือนไม่ได้เรื่องนั้น ถ้าทาอะไรก็ จะยุ่งกันได้ กายที่แข็งแรงนั้นก็จะไม่ประโยชน์ต่อตนเองหรือสังคมอย่างใด ส่วนคนที่สุขภาพกายไม่สู้ แข็งแรงแต่สุขภาพจิตดี หมายความว่า จิตใจดี รู้จักจิตใจของตัว และรู้จักปฏิบัติให้ถูกต้องย่อมเป็นประโยชน์ ต่อตัวเอง และเป็นประโยชน์ต่อสังคมได้มาก ในที่สุดสุขภาพจิตที่ดีก็อาจจะพามาซึ่งสุขภาพทางกายที่ดีได้” ซึ่งจะเห็นว่า สุขภาพจิตมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์หลายด้าน เช่น ด้านการศึกษา ด้าน อาชีพ ด้านครอบครัว ด้านเพื่อนร่วมงาน และด้านสุขภาพร่างกาย ผู้ที่มีสุขภาพจิตดีจะประสบความสาเร็จใน ทุกด้าน ถ้าสุขภาพจิตดีร่างกายก็สดชื่น หน้าตายิ้มแย้ม สมองแจ่มใส เป็นที่สบายใจแก่ผู้พบเห็น อยากคบค้า สมาคมด้วย ทางานสาเร็จและบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ลักษณะของผู้มีสุขภาพจิตดีและไม่ดี สุขภาพจิตมีหลายระดับ ในการพิจารณาเพื่อบอกลักษณะสุขภาพจิตว่าอยู่ในรูปแบบสุขภาพจิตที่ดี หรือไม่ดีนั้น สามารถบอกได้โดยคุณลักษณะโดยรวม แบบกว้างๆ เพื่อใช้สาหรับการประเมินอย่างคร่าวๆ ดังนั้น การจาแนกเกณฑ์การพิจารณาสุขภาพจิตดังกล่าว จึงสามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตดี และลักษณะของผู้มีสุขภาพจิตไม่ดี ดังนี้ ลักษณะของผู้มีสุขภาพจิตที่ดี 1. มีความสามารถในด้านสติปัญญา เป็นผู้ที่สามารถคิด และเข้าใจสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง สามารถใช้สติปัญญาคิด และทาอย่างมีเหตุผล เต็มใจที่จะเผชิญกับปัญหา ใช้สติปัญญาในการแก้ปัญหาอย่าง เหมาะสม 2. มีการแสดงออกทางด้านอารมณ์อย่างเหมาะสม เมื่อเผชิญกับปัญหาอุปสรรค และความตึงเครียด สามารถรักษาและควบคุมอารมณ์ ตลอดจนการแสดงออกทางอารมณ์ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 3. มีการแสดงออกทางสังคมอย่างเหมาะสม สามารถใช้ทักษะทางด้านสังคมที่เหมาะกับกาลเทศะ
  • 6. 6 4. มีความสามารถในการทางานอย่างเต็มประสิทธิภาพ มีความสนุกกับการทางาน ทางานด้วยความ เต็มใจ และกระตือรือร้น 5. สามารถแสดงออกซึ่งความรักกับผู้อื่นอย่างจริงใจตรงไปตรงมา มีความรักและนับถือตนเอง มี ความเมตตากรุณา และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน 6. มีความสามารถที่จะทนต่อความบีบคั้นทางจิตใจสามารถจัดการกับความตึงเครียดของตนเอง 7. ยอมรับตนเองในทุกด้านทั้งด้านบวกและด้านลบ ยอมรับภาพลักษณ์ของตนเอง และยอมรับข้อดี และข้อเสียของตนเอง ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตไม่ดี 1. ไม่สามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยแสดงพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนออกไป และ จะแสดงความผิดปกติทางจิตที่เกิดจากความผิดปกติทางสมอง โรคจิต โรคประสาท บุคลิกภาพแปรปรวน 2. มีความผิดปกติทางด้านความประพฤติ เช่น ชอบทะเลาะวิวาท ก้าวร้าว เล่นการพนัน และติดสาร เสพติด เป็นต้น 3. ความผิดปกติทางด้านประสาท เช่น หงุดหงิด ฉุนเฉียว ขี้อิจฉา พูดเพ้อเจ้อ ไม่สามรรถตัดสินใจ เป็นต้น 4. มีความผิดปกติทางด้านลักษณะนิสัย เช่น กินยากอยู่ยาก หลับยาก กัดเล็บ ย้าคิดย้าทา และมักมี ปัญหากับผู้อื่น 5. แสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับวัย เช่น กิริยามารยาท การพูด และการแต่งกาย 6. มีบุคลิกภาพที่บกพร่อง เช่น ชอบเก็บตัว ไม่ชอบคบหาสมาคมกับใคร เบื่อผู้คนและสิ่งแวดล้อม 7. มีความผิดปกติทางด้านร่างกาย เช่น เจ็บป่วยบ่อยๆ เป็นโรคกระเพาะอาหารอักเสบ ปวดศีรษะ ข้างเดียว ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เป็นต้น บุคลิกภาพกับสุขภาพจิต บุคลิกภาพเป็นลักษณะทางความคิดการปรับตัวของมนุษย์พัฒนาการทางบุคลิกภาพของมนุษย์ มีอิทธิพลมาจากการพัฒนาแต่ละขั้นตอนของโครงสร้างทางจิตที่เรียกว่า อิด (Id) อีโก้ (Ego) และซุปเปอร์อี โก (Superego) ทาให้มนุษย์มีพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละช่วงวัย บุคลิกภาพ (Personality) หมายถึง แบบแผนลักษณะจาเพาะของแต่ละบุคคล เป็นผลมาจาก ประสบการณ์ ประกอบด้วยความรู้สึกนึกคิด การรับรู้ และพฤติกรรมการแสดงออกของแต่ละบุคคลใน ชีวิตประจาวัน บุคคลที่มีบุคลิกภาพดี เช่น พูดจาสุภาพ แต่งกายเรียบร้อย สามารถปรับตัวเข้ากับบุคคลอื่นได้ ดี ส่วนบุคคลที่มีบุคลิกภาพเบี่ยงเบนอย่างชัดเจน จะมีลักษณะของพฤติกรรมที่ไม่ยืดหยุ่น การปรับตัวไม่ เหมาะสม ทาให้เกิดปัญหาด้านสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น มีความคิด ความเข้าใจต่อตนเองและสิ่งแวดล้อม คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง ถือว่าเป็นบุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ
  • 7. 7 2. ทฤษฎีบุคลิกภาพ ทฤษฎีบุคลิกภาพมีหลากหลาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการนาไปใช้ หรือความสาคัญของแต่ละบุคคลที่ นาไปศึกษา แต่ที่นิยมใช้มี 2 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ (Psychoanalytic theory) เชื่อว่าโครงสร้างของบุคคล ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ อิด (id) อีโก้ (Ego) และซุปเปอร์อีโก (Superego) ที่ทาให้เกิดเป็นพฤติกรรมของ มนุษย์ อิด (id) เป็นส่วนที่รวมสัญชาตญาณไว้ทั้งหมด เกิดจากประสบการณ์ มีลักษณะแสวงหา ความสุขสบาย ความพอใจของตนเองโดยไม่คานึงถึงคุณธรรม ความเป็นจริงใดๆทั้งสิ้น อีโก้ (Ego) เป็นส่วนที่พัฒนามาจาก id ทาให้มนุษย์อยู่ในโลกของความเป็นจริง ทาหน้าช่วยให้ รู้จักแยกแยะ อยู่ในกฎเกณฑ์ของสังคม นอกจากนี้ อีโก้ยังมีหน้าที่สาคัญ คือเป็นศูนย์กลางของบุคลิกภาพ มี หน้าที่ติดต่อกับโลกภายนอกแทน อิดและซุปเปอร์อีโก ซุปเปอร์อีโก (Superego) เป็นส่วนของจริยธรรม คุณธรรม ความดี และการมีอุดมคติ เกิดจาก ส่วนของ อีโกที่ได้รับการพัฒนามาจากการเลี้ยงดูของครอบครัว กฎเกณฑ์ทางสังคม การรับรู้และการเรียนรู้ จากระเบียบวินัยและค่านิยม ชีวิตที่เติบโตภายใต้สิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล อยู่ใต้บุคลิกภาพ ซึ่งไม่สามารถติดต่อโลกภายนอกได้ต้องผ่านการกลั่นกรองจาก อีโก มาก่อน โดยระบบการทางานของ อิด อาศัยแหล่งแห่งความสาราญ และระบบการทางานของ อีโก อาศัยหลักแห่งความจริง สาหรับซุปเปอร์อีโก ซึ่งอยู่นอกเหนือหลักของความเป็นจริง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. อุดมคติ หมายถึง ผู้ใหญ่สั่งสอนให้จดจาไว้ว่า สิ่งใดควรทา ควรประพฤติ เด็กที่ประพฤติ ปฏิบัติตามอุดมคติของผู้ใหญ่ จะเป็นที่ชื่นชอบของผู้ใหญ่ หรือพ่อแม่ 2. ความรู้สึกสานึก หมายถึง ความรู้สึกว่าสิ่งใดดีไม่ดี หรือเป็นความชั่วต้องละเว้น สิ่งใดที่พ่อ แม่ไม่ชอบ เคยห้ามกระทาหรือประพฤติปฏิบัติ ถ้าเด็กทาก็จะได้รับโทษ ถูกว่ากล่าวตักเตือน หรือถูก ลงโทษ ทาให้เด็กเรียนรู้ว่า เมื่อทาตามคาสอนหรือระเบียบวินัยที่ผู้ใหญ่กาหนดให้เด็กฝึกเป็นนิสัยแล้วนั้น จะได้รับคาชมเชย แต่การทาอะไรที่ฝืนคาสั่งสอนและข้อบังคับแล้ว จะเหมือนถูกทาทา แม้เพียงแต่คิดยัง ไม่กระทาก็จะสานึกผิดแล้ว ซึ่งโครงสร้างทั้ง 3 ส่วนจะมีปฏิสัมพันธ์กัน หากส่วนใดมีอานาจเหนือกว่า บุคคลจะมี บุคลิกภาพตามโครงสร้างนั้น ในคนปกติ 2) ทฤษฎีชนิดของบุคลิกภาพ (Type theory) ของ คาล จี จุง (Carl G. Jung) เชื่อว่าบุคลิกภาพ หรือจิตใจ ประกอบด้วยระบบที่เป็นอิสระต่อกัน แต่มีการปฏิสัมพันธ์กัน แบ่งประเภทของบุคลิกภาพเป็น 2 ชนิด คือ 2.1 ชนิดเก็บตัว(Introvert) เป็นพวกที่ชอบใช้กลไกทางจิต (Mental mechanism) ควบคุมตนเอง ชอบเก็บตัวอยู่ตามลาพัง ไม่ไว้ใจใคร ไม่ยุ่งกับใคร
  • 8. 8 2.2 ชนิดเปิดเผย (Extrovert) ชอบสังคม เปิดเผย ร่าเริง ยืดหยุ่นตามสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเห็นว่าบุคคลปกติมักจะมีทั้ง 2 ลักษณะผสมอยู่ ช่วยในการปรับตัวให้เข้ากับลักษณะ สิ่งแวดล้อมได้ดี เช่น บางครั้งต้องการอยู่เงียบๆ บางครั้งสามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมกับคนอื่นได้ 3. ความเครียดกับสุขภาพจิต การดาเนินชีวิตของบุคคลในแต่ละวันย่อมพบกับปัญหา และอุปสรรคต่างๆอยู่เสมอ ความสามารถในการแก้ปัญหา หรือการหาทางออกไม่เหมาะสม ทาให้เกิดความกดดัน หรือเกิดความเครียด หากความรู้สึกดังกล่าวไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมก็จะนาไปสู่ปัญหาสุขภาพจิต ความหมายของความเครียด ความเครียด (Stress) หมายถึง ความกดดันที่ทาให้บุคคลเกิดความรู้สึกไม่สบายใจ เป็นสภาวะ ทางจิตที่เกิดจากบุคคลเผชิญปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งจากตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดความแปรปรวน ทางด้านร่างกายและจิตใจ ความเครียดจะเป็นปฏิกิริยาตอบสนองทั้งร่างกายและจิตใจเกิดพฤติกรรมที่แสดง อกมาในรูปของความกลัว ไม่สบายใจ ความวุ่นวายใจ ทาให้บุคคลเสียสมดุลของตนเอง เป็นแรงผลักดันให้ พฤติกรรมของบุคคลเปลี่ยนไป (Salye, 1974) เซลยี(Selye, 1956,p97) ผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของการศึกษาเกี่ยวกับความเครียด อธิบาย โดยอาศัยพื้นฐานทางสรีรวิทยาและเคมีวิทยาว่า ความเครียดเป็นภาวะหนึ่งของระบบชีวิตที่เกิดกลุ่มอาการ เฉพาะขึ้นในร่างกาย ที่ร่างกายและจิตใจมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งที่มาคุกคามขัดขวางการทางาน การ เจริญเติบโต ความต้องการของมนุษย์ทั้งจากภายในและภายนอกร่างกาย เป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน ร่างกาย เพื่อต่อต้านการคุกคามนั้น และอธิบายเพิ่มเติมว่าความเครียดเป็นเหตุการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับ สิ่งมีชีวิตที่มีความรู้สึกอ่อนไหว ความเครียดในระดับหนึ่งจะทาให้เกิดการปรับตัวซึ่งมีความหมายมากว่า การตอบสนองทางด้านร่างกาย การปรับตัวนี้มีทั้งด้านบวกและด้านลบ และเป็นสิ่งที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ความเครียดที่มีมากและเกิดผลยาวนานจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ สติปัญญา ทัศนคติ และ อารมณ์ ฟาร์เมอร์,โมนาฮาน และฮาคีเลอร์ (Famer,Monaham,&Hakeler,1984, p. 14) กล่าวถึง ความเครียดว่าเป็นระดับความวิตกกังวล ที่บุคคลรับรู้อันเนื่องมาจากภาวการณ์ต่าง ๆ ซึ่งในภาวะการณ์ เดียวกันนี้จะทาให้บุคคลมีความเครียดแตกต่างกัน ความหมายของความเครียด มีบุคคลได้ให้ความหมายไว้ต่างกัน สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. แบบสิ่งเร้า เป็นปัจจัยภายนอก หรือเป็นสิ่งเร้าที่มีต่อบุคคล ตามทัศนะนี้ ความเครียดเป็น แรงกด แรงบีบ หรือสิ่งเร้าที่กดดันตัวบุคคล การตอบสนองความเครียดคือ การทาให้เครียด เมื่อถูกแรง กดดันมากไปก็เกิดผลเสียต่อสุขภาพ
  • 9. 9 ความหมายของความเครียดในแบบสิ่งเร้าเป็นความเครียด เป็นกระบวนการที่สภาวะแวดล้อม หรือพลังภายนอกที่เร้าให้คนตอบสนองต่อสิ่งนั้น (Baum & Baum, 1981, p.4 อ้างถึงใน ธารารัตน์ ชิ้นทอง, 2542, หน้า 13) ดิเซนโซ และ รอบบินส์ (DeCenzo & Robbins, 1988, p. 513) ให้ความหมายของความเครียด ในลักษณะที่เป็นสิ่งเร้า โดยมองว่าความเครียดเป็นสิ่งที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย เป็นเงื่อนไขที่บุคคลต้อง เผชิญกับเหตุการณ์ที่ต้องระงับความรู้สึกหรือความต้องการซึ่งมีความสาคัญแต่ไม่มีความแน่นอน ความเครียด เป็นสภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้าภายนอก จนก่อให้เกิดการปรับตัวเพื่อจัดการกับ สิ่งนั้น (Dore, 1990, p. 6 ) ความหมายดังกล่าวจึงพอสรุปได้ว่า ความเครียดเป็นสิ่งเร้าจากภายนอก ที่ทาให้บุคคลต้อง ปรับตัวหรือระงับความรู้สึกเพื่อจัดการกับสิ่งนั้น 2. แบบตอบสนอง เป็นปฏิกิริยาหรือการตอบสนองต่อปัจจัยภายนอก ตามทัศนะนี้ ความเครียดคือการตอบสนองทางร่างกายหรือทางจิตของบุคคลที่มีต่อสิ่งที่ทาให้เครียด (Stressor) โดยสิ่งที่ จะทาให้เกิดความเครียดนั้นอาจเป็นเหตุการณ์ภายนอก หรือสถานการณ์ที่มีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดอันตราย ได้ จึงเห็นได้ว่า ตามทัศนะนี้จะมุ่งเน้นที่ปฏิกิริยาของคนที่มีต่อความกดดันของสิ่งแวดล้อม การตอบสนอง อาจเป็นด้านร่างกาย หรือด้านจิตใจ (ธารารัตน์ ชิ้นทอง, 2542, หน้า 14) ชนิดของความเครียด สุพานี สฤษฎ์วานิช (2552, หน้า 385) ได้แบ่งชนิดของความเครียดออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. Eustress หรือ Constructive Stress จะเกิดขึ้นเมื่อคนเรามีความเครียดที่อยู่ในระดับที่ไม่ มากจนเกินไป มีความเครียดเล็กน้อยจะทาให้เกิดผลในเชิงบวก คือมีพลัง มีความกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง มีความขยันขึ้น นักกีฬา นักธุรกิจ รวมทั้งนักเรียนควรมี Eustress จะได้ตั้งใจอ่านหนังสือ ตั้งใจทบทวนความรู้ เป็นต้น เพื่อช่วยให้มีความกระตือรือร้นที่จะทางานให้ดีที่สุด 2. Distress หรือ Destructive Stress เป็นความเครียดที่มีมากจนเกินไปซึ่งส่งผลลบต่อบุคคล นั้น ๆ เช่น ทาให้ความดันขึ้นสูง ปวดศรีษะมาก มึน หมดพลัง และมีปัญหาในทางพฤติกรรมต่าง ๆ เกิดขึ้น หรืออาจแบ่งความเครียดออกตามเวลาที่เกิด คือ 1. Acute Stress เป็นความเครียดที่เกิดขึ้นในระยะเวลาหนึ่ง ๆ และร่างกายก็ตอบสนองต่อ ความเครียดนั้นทันทีเหมือนกัน โดยการหลั่งฮอร์โมนความเครียดออกมา เมื่อความเครียดหายไปร่างกายก็ จะกลับสู่ภาวะปกติ ภาวะที่ก่อให้เกิดความเครียด เช่น ความกลัว ความเหงา หรือสถานการณ์เร่งด่วน เป็นต้น 2. Chronic Stress เป็นความเครียดเรื้อรัง เนื่องจากเกิดสะสมมานาน โดยร่างกายไม่สามารถ ตอบสนองหรือจัดการต่อความเครียดนั้นได้ ตัวอย่างของความเครียดเรื้อรัง ได้แก่ ความเครียดจากการ
  • 10. 10 ทางานไม่สมบูรณ์สักทีตามสายตาของหัวหน้า หรือความเครียดที่เกิดจากปัญหาความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลในที่ทางานที่ยังแก้ไขไม่ได้ เป็นต้น ชนิดของความเครียด 1. Acute stress คือความเครียดที่เกิดขึ้นทันที และร่างกายก็ตอบสนองต่อความเครียดนั้นทันที เหมือนกัน โดยมีการหลั่งฮอร์โมนความเครียด เมื่อความเครียดหายไป ร่างกายก็จะกลับสู่ปกติเหมือนเดิม ฮอร์โมนก็จะกลับสู่ปกติ ตัวอย่างความเครียด  เสียง  อากาศเย็นหรือร้อน  ชุมชนที่คนมากๆ  ความกลัว  ตกใจ  หิวข้าว  อันตราย 2. Chronic stressหรือความเครียดเรื้อรังเป็นความเครียดที่เกิดขึ้นทุกวัน และร่างกายไม่สามารถ ตอบสนองหรือแสดงออกต่อความเครียดนั้น ซึ่งเมื่อนานวันเข้าความเครียดนั้นก็จะสะสมเป็นความเครียด เรื้อรัง ตัวอย่างความเครียดเรื้อรัง  ความเครียดที่ทางาน  ความเครียดที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล  ความเครียดของแม่บ้าน  ความเหงา ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับความเครียด เมื่อมีภาวะกดดันหรือความเครียดร่างกายจะฮอร์โมนที่เรียกว่า cortisol และ adrenaline ฮอร์โมน ดังกล่าวจะทาให้ความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็วเพื่อเตรียมพร้อมให้ร่างกายแข็งแรง และมีพลังงาน พร้อมที่จะกระทาเช่นการวิ่งหนีอันตราย การยกของหนีไฟถ้าหากได้กระทาฮอร์โมนนั้นจะถูกใช้ไป ความ กดดัน หรือความเครียดจะหายไป แต่ความเครียดหรือความกดดันมักจะเกิดขณะที่นั่งทางาน ขับรถ กลุ่มใจ ไม่มีเงินค่าเทอมลูก ความเครียดหรือความกดดันไม่สามารถกระทาออกมาได้เกิดโดยที่ไม่รู้ตัว ทาให้ ฮอร์โมนเหล่านั้นสะสมในร่างกายจนกระทั่งเกิดอาการทางกายและทางใจ
  • 11. 11 ผลเสียต่อสุขภาพ ความเครียดเป็นสิ่งปกติที่สามารถพบได้ทุกวัน หากความเครียดนั้นเกิดจากความกลัวหรืออันตราย ฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจะเตรียมให้ร่างกายพร้อมที่จะต่อสู้ อาการทีปรากฏก็เป็นเพียงทางกายเช่นความดัน โลหิตสูงใจสั่น แต่สาหรับชีวิตประจาวันจะมีสักกี่คนที่จะทราบว่าเราได้รับความเครียดโดยที่เราไม่รู้ตัว หรือไม่มีทางหลีกเลี่ยง การที่มีความเครียดสะสมเรื้อรังทาให้เกิดอาการทางกาย และทางอารมณ์ อ่าน รายละเอียดที่นี่ หากมีอาการเครียดมากและแสดงออกทางร่างกายดังนี้  อ่อนแรงไม่อยากจะทาอะไร  มีอาการปวดตามตัว ปวดศีรษะ  วิตกกังวล  มีปัญหาเรื่องการนอน  ไม่มีความสุขกับชีวิต  เป็นโรคซึมเศร้า ให้ปฏิบัติตามคาแนะนา 10 ประการ 1. ให้นอนเป็นเวลาและตื่นเป็นเวลา เวลาที่เหมาะสมสาหรับการนอนคือเวลา 22.00น.เมื่อภาวะเครียด มาก จะทาให้ความสามารถในการกาหนดเวลาของชีวิต( Body Clock )เสียไป ทาให้เกิดปัญหานอนไม่หลับ หรือตื่นง่าย การกาหนดเวลาหลับและเวลาตื่นจะทาให้นาฬิกาชีวิตเริ่มทางาน และเมื่อความเครียดลดลง ก็ สามารถที่จะหลับได้เหมือนปกติ ในการปรับตัวใช้เวลาประมาณ 3 สัปดาห์ บางครั้งเมื่อไปนอนแล้วไม่หลับ เป็นเวลา 45 นาที ให้หาหนังสือเบาๆมาอ่าน เมื่อง่วงก็ไปหลับ ข้อสาคัญอีกประการหนึ่งคือให้ร่างกายได้รับ แสงแดดยามเช้า เพื่อส่งสัญญาณให้ร่างกายปรับเวลา 2. หากเกิดอาการดังกล่าวต้องจัดเวลาให้ร่างกายได้พัก เช่นอาจจะไปพักร้อน หรืออาจจะจัดวาระงาน งานที่ไม่สาคัญและไม่เร่งด่วนก็ให้หยุดไม่ต้องทา 3. ให้เวลากับครอบครัวในวันหยุด อาจจะไปพักผ่อนหรือรับประทานอาหารนอนบ้าน 4. ให้เลื่อนการเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆในช่วงนี้ เช่นการซื้อรถใหม่ การเปลี่ยนบ้านใหม่ การเปลี่ยนงาน เพราะการเปลี่ยนแปลงจะทาให้เกิดความเครียด 5. หากคุณเป็นคนที่ชอบทางานหรือชอบเรียนให้ลดเวลาลงเหลือไม่เกิน 40 ชม.สัปดาห์ 6. การรับประทานอาหารให้รับประทานผักให้มากเพราะจะทาให้สมองสร้าง serotoninเพิ่มสารตัวนี้ จะช่วยลดความเครียด และควรจะได้รับวิตามินและเกลือแร่ในปริมาณที่เพียงพอ
  • 12. 12 7. หยุดยาคลายเครียด และยาแก้โรคซึมเศร้า 8. ให้ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และอาจจะมีการเต้นราด้วยก็ดี หากปฏิบัติตามวิธีดังกล่าวแล้วยังมีอาการของความเครียดให้ปรึกษาแพทย์ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเครียด  ความเครียดเหมือนกันทุกคนหรือไม่ สิ่งที่กระตุ้นให้เกิดความเครียดในแต่ละคนไม่เหมือนกัน และการตอบสนองต่อความเครียดก็แตกต่างในแต่ละคน  ความเครียดเป็นสิ่งไม่ดีจริงหรือไม่ ความเครียดเปรียบเหมือนสายกีตาร์ตึงไปก็ไม่ดี หย่อนไปเสียก็ ไม่ไพเราะ เช่นกันเครียดมากก็มีผลต่อสุขภาพเครียดพอดีจะช่วยสร้างผลผลิต และความสุข  จริงหรือไม่ที่ความเครียดมีอยู่ทุกแห่งคุณไม่สามารถจัดการกับมันได้แม้ว่าจะมีความเครียดทุกแห่ง แต่คุณสามารถวางแผนที่จะจัดการกับงาน ลาดับความสาคัญ ความเร่งด่วนของงานเพื่อลดความเครียด  จริงหรือไม่ที่ไม่มีอาการคือไม่มีความเครียด ไม่จริงเนื่องจากอาจจะมีความเครียดโดยที่ไม่มีอาการ ก็ได้และความเครียดจะสะสมจนเกินอาการ  ควรให้ความสนใจกับความเครียดที่มีอาการมากๆใช่หรือไม่ เมื่อเริ่มเกิดอาการความเครียดแม้ไม่ มากก็ต้องให้ความสนใจ เช่นอาการปวดศีรษะ ปวดท้องเพราะอาการเพียงเล็กน้อยจะเตือนว่าคุณต้อง เปลี่ยนแปลงวิธีการดาเนินชีวิตเพื่อลดความเครียด  ความเครียดคือโรคจิตใช่หรือไม่ ไม่ใช่เนื่องจากโรคจิตจะมีการแตกแยกของความคิด บุคลิก เปลี่ยนไปไม่สามารถดาเนินชีวิตเหมือนคนปกติ  ขณะที่มีความเครียดคุณสามารถทางานได้อีก แต่คุณต้องจัดลาดับก่อนหลังและความสาคัญของ งาน  ไม่เชื่อว่าการเดินจะช่วยผ่อนคลายความเครียด การเดินจะช่วยผ่อนคลายความเครียดนั้น  ความเครียดไม่ใช่ปัญหาเพราะเพียงแค่สูบบุหรี่ความเครียดก็หายไป การสูบบุหรี่หรือดื่มสุราจะทา ให้ลืมปัญหาเท่านั้น นอกจากไม่สามารถแก้ปัญหาแล้วยังก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพในระยะยาวอีกด้วย สาเหตุของความเครียด (Source of Stress) สาเหตุของความเครียดมีอยู่มากมายหลายประการแตกต่างกันออกไป เนื่องจากธรรมชาติของ ความเครียด คือ สถานการณ์หนึ่ง ๆ ไม่ทาให้เกิดระดับความเครียดในบุคคลอย่างเท่าเทียมกัน จึงมี นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงสาเหตุของความเครียดไว้ต่าง ๆ กันดังนี้ สุพานี สฤษฎ์วานิช (2552, หน้า 388-393) กล่าวว่า สาเหตุที่อาจทาให้เกิดความเครียดจะมีได้ หลายอย่างและอาจเกิดพร้อมกันไปได้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
  • 13. 13 1. ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีความสลับซับซ้อนและ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว คาดหมายได้ยาก และส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของเราทุกคน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนี้ 1.1 สภาพเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ตกต่า ฝืดเคือง มีผลกระทบต่อการจ้างงาน กาลังซื้อของผู้คนและ ต้นทุนของธุรกิจ ธุรกิจต่างก็มีการปิดโรงงาน เลิกจ้างทาให้เกิดการว่างงาน หรือลดกาลังคน หรือลด ค่าตอบแทนพนักงาน และสวัสดิการต่าง ๆ ลงจนทาให้คนเกิดความเครียด มีการฆ่าตัวตาย หรือกระโดด ตึกอยู่เนื่อง ๆ 1.2 เทคโนโลยีหรือวิทยาการ ความก้าวหน้าของวิทยาการ มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในสังคมในด้านต่าง ๆ เช่น ทาให้ ชีวิตสะดวกขึ้น การทางานง่ายลง แต่ก็จะมาทดแทนแรงงาน หรือใช้คนทางานลดลง หรือผู้ที่ปรับตัวตาม วิทยาการใหม่ ๆ ไม่ได้ หรือได้รับผลกระทบในทางลบก็จะเกิดความเครียด 1.3 กฎหมายและการเมือง ข้อกาหนดต่าง ๆ ของกฎหมาย เช่น กฎหมายเลือกตั้ง กฎหมายภาษีอากร กฎหมายผังเมือง กฎหมายจัดระเบียบสังคม กฎหมายจัดระเบียบจราจร ล้วนแต่กระทบต่อกิจกรรม และ วิถีชีวิตของคนใน สังคมในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งเป็นโอกาสและข้อจากัดในการดาเนินชีวิต 1.4 กระแสโลกาภิวัตน์ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโลกนี้จะส่งผลกระทบถึงกันหมด เช่น กรณีสงครามอิสราเอลกับ ปาเลสไตล์ สงครามอินเดียกับปากีสถาน หรือกรณีอิรักกับสหรัฐอเมริกาก็ทาให้โลกเกิดความไม่สงบ เกิด ความไร้เสถียรภาพในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เกิดผลกระทบต่อการลงทุน อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย ราคาน้ามัน เป็นต้น 1.5 ปัญหาสังคมในเรื่องต่าง ๆ ขณะนี้สังคมมีความเสื่อมโทรมลง มีปัญหาสังคมเกิดขึ้นในหลายรูปแบบ เช่น ปัญหายาเสพ ติด ยาบ้า ปัญหาศีลธรรม วัฒนธรรม ประเพณีที่เสื่อมทรามลง ปัญหาการจราจรติดขัด เป็นต้น ปัญหา เหล่านี้จะทาให้คนเกิดความเครียดได้โดยทั่วหน้า 2. ปัจจัยในระดับองค์การ จะได้แก่ 2.1 ปัจจัยในเรื่องงาน (Job) งานอาจก่อให้เกิดความเครียดได้หลายลักษณะ เช่น 2.1.1 เป้าหมายไม่ชัดเจน หรือข้อมูลต่าง ๆ ไม่เพียงพอ ไม่ชัดเจน 2.1.2 ภาระงาน (Workload) เช่น 2.1.2.1 งานมาก และ/หรืองานเร่งด่วน 2.1.2.2 งานซับซ้อน และยุ่งยาก
  • 14. 14 2.1.2.3 หรืองานน้อย งานไม่ค่อยมีคุณค่า ไม่มีความหมาย 2.1.3 สภาพหรือเงื่อนไขของทางาน (Job Condition) เช่น ลักษณะงานบางอย่างที่ทาให้ ต้องกังวล เช่น งานรักษาพยาบาล หรือลักษณะงานที่ไม่ท้าทาย จาเจ น่าเบื่อ เช่น งานของพนักงานเก็บ ค่าผ่านทาง งานของพนักงานกดลิฟท์ หรืองานที่ไม่ค่อยมีปฏิสัมพันธ์กับคน เช่น พนักงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งการทางานประเภทนี้นาน ๆ จะมีผลต่อสุขภาพจิต 2.1.4 การไม่สามารถควบคุมในงานนั้น ๆ จะทาให้ผู้ปฏิบัติเกิดความเครียดได้ 2.1.5 การเปลี่ยนแปลงในงาน และหรือเทคโนโลยีของงาน ก็จะทาให้เกิดความเครียดได้ ถ้าผู้ปฏิบัติไม่สามารถปรับตัวได้ 2.1.6 โอกาสก้าวหน้าในสายงานมีจากัด 2.1.7 งานไม่มีความมั่นคง เช่น งานก่อสร้าง งานกรรมการ งานลูกจ้างชั่วคราว เป็นต้น 2.2 บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ (Role) หลาย ๆ องค์การไม่มีคาบรรยายลักษณะงานที่ชัดเจน เป็นทางการ จึงทาให้บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบไม่ชัดเจน คลุมเครือ (Role Ambiguity) หรือกรณีที่คน ๆ นั้นมีหน้าที่งานหลายอย่าง จึงมีหลายบทบาทที่ต้องแสดงออกและบางครั้งบทบาทเหล่านั้นมีความขัดแย้งกันด้วย (Role Conflict) คนผู้ นั้นจึงเกิดความเครียดได้ 2.3 ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ในการทางานคนก็มักจะไม่ได้ทางานคนเดียว มักจะต้องมีเพื่อนร่วมงานในแผนกเดียวกัน และ นอกแผนกด้วย เพราะเป็นธรรมชาติของคนที่เป็นสัตว์สังคม ถ้ามีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน คน ๆ นั้นก็จะมี ความสุข มีแรงจูงใจ และความพอใจในงาน แต่ถ้ามีความสัมพันธ์ไม่ดีต่อกัน มีปัญหา มีความไม่เข้าใจกัน มีความขัดแย้งกัน คนเหล่านั้นก็มักจะมีความเครียด เพราะไม่อยากเจอกัน และไม่อยากทางานร่วมกัน 2.4 โครงสร้างองค์การ กฎระเบียบและนโยบายต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสม 2.4.1 โครงสร้าง เช่น มีการรวมอานาจมาก หรือมีหน่วยงานมาก ซ้าซ้อนกัน ทาให้การ ทางานต้องล่าช้า หรือยุ่งยาก โดยไม่จาเป็น 2.4.2 กฎระเบียบ เช่น ราชการมีกฎระเบียบมาก และเป็นกฎระเบียบที่ล้าสมัย ทาให้เกิด ขั้นตอนมาก งานล่าช้าโดยไม่จาเป็น และเป็นกรอบจากัดการทางานทาให้ขาดอิสระและไม่เกิดความคิด สร้างสรรค์ 2.4.3 นโยบาย นโยบายต่าง ๆ ไม่ชัดเจนหรือไม่เป็นธรรม เช่น การเลื่อนขั้น เลื่อน ตาแหน่ง การโยกย้าย การขึ้นค่าตอบแทน 2.5 ปัญหาด้านผู้นา
  • 15. 15 หลาย ๆ กรณีความเครียดของพนักงานจะเกิดจากการที่มีการทาตัวไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้นาคือ เป็นผู้นาที่ไม่เป็นกลาง เล่นพรรคเล่นพวก หรือเป็นผู้นาที่ไม่เก่ง ไม่มีวิสันทัศน์ หรือไม่ทาตนเป็น แบบอย่างที่น่ายกย่อง ไม่น่าศรัทธา 2.6 สถานการณ์ปัญหาขององค์การ ถ้าองค์การมีปัญหา เช่น ขาดสภาพคล่อง ยอดขายลดลงอย่างต่อเนื่อง สมาชิกทุกคนของ องค์การก็มักจะเครียดไปด้วย เพราะไม่รู้อนาคตขององค์การ และของตนเองว่าจะเป็นอย่างไร 2.7 ปัญหาอื่น ๆ เช่น สภาพทางกายภาพในการทางานที่ไม่ดี เช่น แออัด ไม่เป็นส่วนตัว อากาศร้อน เสียงดัง เป็นต้น 3. ปัจจัยระดับบุคคล จะได้แก่ 3.1 ปัญหาด้านบุคลิกภาพ และลักษณะของบุคคล คนบางคนมีบุคลิกภาพแบบ Type A ซึ่งคนพวกนี้จะเครียดได้ง่ายกว่าพวก Type B เพราะ Type A มักจะคิดหรือจะทาอะไรหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกัน ค่อนข้างกังวล เพราะจะห่วงงานอาจจะ เรียกว่า บ้างาน เพราะมีความรับผิดชอบสูง และชอบทาอะไรเร็ว ๆ เป็นพวก Hurry Sickmess แต่พวก Type B ซึ่งมักจะใจเย็น ทาอะไรช้า ๆ ไม่เร่งรีบ งานเสร็จก็ดี ไม่เสร็จก็ไม่เป็นไร รอได้ 3.2 ปัญหาทางด้านจิตใจ คนบางคนมีความต้องการต่าง ๆ เกิดขึ้นในใจ และกลัวว่าจะไม่ได้ดังที่ต้องการ จะทาให้ คนคนนั้นเกิดความเครียด เช่น กลัวสอบไม่ผ่าน กลัวทางานที่มอบหมายไม่สาเร็จ หรือปมด้อยที่เกิดในใจ เช่น ไม่สวยอย่างคนอื่น ไม่รวยเท่าคนอื่น เป็นต้น ความเครียดนี้เป็นผลโดยตรงของการใช้เหตุผลเชิง จริยธรรม 3.3 การเปลี่ยนแปลงในชีวิต การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ อาจทาให้คนเราเกิดความเครียดได้ เช่น เมื่อต้องเข้าโรงเรียนใหม่ เข้า ทางานใหม่ เมื่อต้องเปลี่ยนงาน ย้ายงาน ย้ายบ้าน เมื่อต้องแต่งงาน ความตายของคนที่รัก เป็นต้น 3.4 ความแตกต่างด้านเพศ ผู้ชายจะมีฮอร์โมนที่ทาให้เกิดความเครียดได้ง่ายกว่าผู้หญิง ผู้หญิงจึงมีอายุยืนกว่าผู้ชายโดย เฉลี่ยถึง 10 ปี 3.5 ปัญหาส่วนบุคคล เช่น มีปัญหาสุขภาพ มีโรคประจาตัว เจ็บป่วยเรื้อรัง ปัญหากับแฟน เช่น ทะเลาะเบาะแว้ง กัน หรือปัญหาทางด้านการเรียน หรือปัญหาความผิดหวังบางอย่างในชีวิต เป็นต้น 3.6 ปัญหาครอบครัว มีปัญหาเรื่องลูก เรื่องสามีหรือภรรยา เช่น ความไม่เข้าใจกัน การหย่าร้าง การตายจากกัน หรือปัญหาอันเนื่องมาจากคนอื่น ๆ ในครอบครัวมีปัญหา เป็นต้น
  • 16. 16 3.7 ปัญหาทางการเงิน เช่น มีรายได้น้อย หรือมีรายได้ไม่พอกับค่าใช้จ่ายหรือมีภาระหนี้สินมาก เป็นต้น 3.8 ปัญหาอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว บุคคลก็อาจมีปัญหาอื่น ๆ ได้ ระดับของความเครียด ดาวคินส์ และเซลเซอร์ (Dawkins & Seltzer, 1985) ได้แบ่งระดับความเครียดในงานออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. ระดับต่า (Mild Stress) เป็นความเครียดที่เกิดจากสาเหตุ หรือสถานการณ์ในการทางานที่เข้ามา คุกคามบุคคลนาน ๆ ครั้ง หรือเพียงเล็กน้อย ความรู้สึกเครียดจะเกิดขึ้นและหมดไปในระยะเวลาอันสั้น และยังช่วยกระตุ้นให้บุคคลตื่นตัวและกระตือรือร้นในการทางาน 2. ระดับปานกลาง (Moderate Stress) เป็นความเครียดที่รุนแรงกว่าระดับแรกเกิดจากสาเหตุ หรือ สถานการณ์ในการทางานที่เข้ามาคุกคามบุคคลบ่อยครั้ง หรือนานขึ้น เป็นวิกฤตการณ์อย่างหนึ่งในชีวิตที่ ทาให้บุคคลรู้สึกว่าอยู่ในระหว่างความสาเร็จและความล้มเหลว ไม่อาจแก้ไขหรือปรับตัวในเวลาอันรวดเร็ว มีผลทาให้มีการแสดงออกของความเครียด เช่น ปฏิเสธก้าวร้าวเงียบขรึม เนื่องจากสามารถควบคุม สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ 3. ระดับสูง (Sever Stress) เป็นความเครียดที่รุนแรงมากเกิดจากสาเหตุ หรือ สถานการณ์ในการ ทางานที่รุนแรง หรือมีหลายสาเหตุร่วมกันเข้ามาคุกคามอย่างต่อเนื่อง ความรู้สึกเครียดจะคงอยู่นานเป็น สัปดาห์ เดือนหรือเป็นปีเป็นผลมาจากบุคคลไม่สามารถปรับตัวต่อสถานการณ์ที่คุกคามอย่างต่อเนื่อง และ หากไม่ได้รับการช่วยเหลือในการเผชิญกับสถานการณ์จะทาให้เกิดความเหนื่อยหน่าย และปรับตัวไม่ได้ ตามมา สุรพงศ์ อาพันธ์วงษ์ (2539, หน้า 7) กล่าวว่า ระดับความวิตกกังวลต่อสถานการณ์จะเป็น ตัวกาหนดความเครียดว่า ควรจะรุนแรงและยาวนานเพียงใด โดยอัตโนมัติอย่างไม่รู้สึกตัว ความเครียดที่ เกิดขึ้นในระดับปกติก็จะเกิดการดิ้นรนต่อสู้ในสถานการณ์ซึ่งอยู่ในวิสัยปฏิบัติได้โดยไม่เกินความสามารถ ดึงกาลังแฝงมาใช้อย่างเกินกาลังปกติเป็นบางคราวในช่วงระยะเวลาหนึ่งเมื่อร่างกายได้รับสัญญาณจากจิตใจ ว่า ถึงเวลาจาเป็นจะต้องทุ่มสุดตัวแล้ว จากนักวิชาการหลายท่านกล่าวมาแล้วสรุปได้ว่าความเครียดเกิดขึ้น ในแต่ละบุคคลนั้น มีระดับความรุนแรงต่างกัน ซึ่งอาจแบ่งความเครียดออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. ความเครียดระดับต่า ความเครียดระดับนี้พบได้ในชีวิตประจาวันของทุกคน ไม่ทาให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกาย อารมณ์ ความคิด และพฤติกรรม ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อการดาเนิน ชีวิต และสิ้นสุดในระยะเวลาอันสั้น ๆ 2. ความเครียดระดับปานกลาง ความเครียดระดับนี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของ ร่างกาย อารมณ์ ความคิด และพฤติกรรม ทาให้เกิดผลเสียต่อการดาเนินชีวิต ต้องรีบหาทางแก้ไข ความเครียดระดับนี้เกิดนานเป็นชั่วโมง หรือเป็นวัน
  • 17. 17 3. ความเครียดระดับสูง ความเครียดระดับนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นสัปดาห์ เป็นเดือน หรือเป็น ปี มีผลให้เกิดความล้มเหลวในการปรับตัว มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย และจิตใจอย่างชัดเจน การ ดาเนินชีวิตเสียไป บุคคลไม่สามารถแก้ไขภาวะเครียดด้วยตนเองได้ ต้องได้รับการช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ ระดับวิชาชีพ สุจริต สุวรรณชีพ (2532, หน้า 96) กล่าวว่า ระดับของความเครียดจะมากน้อยเพียงใดอยู่กับปัจจัย ที่สาคัญ ดังนี้ 1. ความรุนแรงของความกดดัน หรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น การสูญเสียที่ร้ายแรง 2. บุคลิกภาพของแต่ละบุคคล เช่น ผู้ที่รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเอง มั่นใจในตนเองกล้าได้กล้าเสีย รู้จักมองการณ์ไกล ยืดหยุ่นได้ มีอารมณ์ขัน ฯลฯ จะมีความเครียดไม่มากนัก 3. ประสบการณ์ในการเผชิญปัญหา และความสามารถในการแก้ปัญหา 4. การประเมินความสาคัญของปัญหา ถึงแม้จะเป็นเรื่องรุนแรง แต่คิดว่าความสาคัญต่องานไม่ มากนัก หรือมีเจตคติในลักษณะที่มองเห็นปัญหาเป็นสิ่งท้าทายความสามารถของตนเองระดับความเครียดก็ จะไม่สูง 5. ความช่วยเหลือจากภายนอก หากรู้สึกว่าจะมีภัยก็จะได้รับความช่วยเหลือ สุภาวดี นวลมณี (2541) ได้แบ่งระดับของความเครียดจากแบบสอบถามประเมินความเครียดของ กรมสุขภาพจิต ดังนี้ 1. ระดับน้อยสุด อาจหมายความว่า ท่านตอบไม่ตรงตามความเป็นจริง หรือขาดแรงจูงใจมีความ เฉื่อยชา มีชีวิตประจาวันที่ซ้าซากจาเจ น่าเบื่อ ปราศจากความตื่นเต้น 2. ระดับน้อย หมายถึง สามารถจัดการกับความเครียดที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน และสามารถ ปรับตัวกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รู้สึกพึงพอใจเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก 3. ระดับปานกลาง หมายถึง ว่าเป็นความเครียดที่พบได้ในชีวิตประจาวันอาจไม่รู้ตัวว่ามี ความเครียดหรืออาจรู้สึกได้จากการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย อารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมบ้าง เล็กน้อย แต่ไม่ชัดเจนและยังพอทนได้ อาจต้องใช้เวลาในการปรับตัวแต่ในที่สุดท่านก็สามารถจัดการกับ ความเครียดได้และความเครียดระดับไม่เป็นผลเสียต่อการดาเนินชีวิต ในกรณีนี้ ท่านสามารถผ่อนคลาย ความเครียดด้วยการหากิจกรรมที่เพิ่มพลัง เช่น ออกกาลังกาย เล่นกีฬา ทาสิ่งที่สนุกสนานเพลิดเพลิน เช่น ดูหนัง ฟังเพลง อ่านหนังสือ หรือทางานอดิเรกต่าง ๆ 4. ระดับสูง หมายถึง ความตึงเครียดในระดับค่อนข้างสูง และได้รับความเดือดร้อนเป็นอย่างมาก จากปัญหาทางอารมณ์ที่เกิดจากปัญหาความขัดแย้ง และวิกฤตการณ์ในชีวิตเป็นสัญญาณเตือนขั้นต้นว่าท่าน กาลังเผชิญกับภาวะวิกฤต และความขัดแย้ง ซึ่งท่านจัดการแก้ไขด้วยความลาบาก ลักษณะดังกล่าวจะเพิ่ม ความรุนแรง ซึ่งมีผลกระทบต่อการทางาน จาเป็นต้องหาวิธีแก้ไขข้อขัดแย้งต่าง ๆ ให้ลดน้อยลงหรือหมด ไปด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่ง
  • 18. 18 สิ่งแรกที่ต้องรีบจัดการคือ ต้องมีวิธีคลายเครียดที่ดีและสม่าเสมอทุกวัน วันละ 1-2 ครั้ง ครั้งละ 10 นาที โดยนั่งในท่าที่สบาย หายใจลึก ๆ ให้หน้าท้องขยาย หายใจออกช้า ๆ นับ 1-10 ไปด้วยท่านจะใช้ วิธีนั่งสมาธิหรือสวดมนต์ก็ได้ ท่านควรแก้ปัญหาให้ดีขึ้น โดยค้นหาสาเหตุของปัญหาที่ทาให้เกิดความ ขัดแย้ง หาวิธีแก้ไขปัญหาหลาย ๆ วิธี พร้อมทั้งพิจารณาผลดี ผลเสียของแต่ละวิธี เลือกวิธีที่เหมาะสมกับ ภาวะของตนเองมากที่สุด ทั้งนี้ต้องไม่สร้างปัญหาให้เพิ่มขึ้น หรือทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน วางแผนแก้ไข ปัญหาเป็นลาดับขั้นตอน และลงมือแก้ปัญหา 5. ระดับมากที่สุดหรือสูงกว่าปกติ หมายถึง กาลังตกอยู่ในภาวะตึงเครียด หรือกาลังเผชิญกับ วิกฤตการณ์ในชีวิตอย่างรุนแรง เช่น การเจ็บป่วยที่รุนแรง เรื้อรัง ความพิการ การสูญเสีย ปัญหาความ รุนแรงในครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจซึ่งส่งผลต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่รุนแรง ซึ่งส่งผลเสียต่อ ตนเอง และบุคคลใกล้ชิดต่อไปได้ ในระดับนี้ท่านต้องไปปรึกษา หรือใช้บริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต ทางโทรศัพท์ ซึ่งอาจจะช่วยให้ท่านมองเห็นปัญหา และแนวทางแก้ไขที่ชัดเจน และเหมาะสมต่อไป ผลกระทบของความเครียด ผลกระทบของความเครียดมีหลายอย่าง ซึ่งอาจเกิดพร้อม ๆ กันได้ แต่ก็สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มดังนี้ (สุพานี สฤษฎ์วานิช 2522, หน้า 393-394) 1. ผลทางด้านจิตใจและอารมณ์ (Psychological Symptoms หรือ Emotional Exhaustion) ผลของ ความเครียดทางด้านอารมณ์และจิตใจ เช่น เกิดความวิตก กังวลใจ ไม่มีสมาธิ หลงลืม หรือ อาจทาให้ พอใจในงานลดลง เบื่องาน เป็นต้น 2. ผลทางด้านร่างกาย (Physiological Symptoms) มักจะทาให้เกิดโรคต่าง ๆ ซึ่งในทางการแพทย์ เรียกว่าเป็น Function Disease เพราะว่ามันเป็นโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากเชื้อโรค เช่น เวลาเครียดแล้ว เรา จะเกิดอาการนอนไม่หลับ ปวดหัว ไมเกรน มึนหัว ตื้อคิดอะไรไม่ออก ปวดท้อง ท้องเสีย เป็นโรค กระเพาะ ความดันขึ้นสูง หัวใจสั่น และอาจเป็นโรคหัวใจตามมา 3. ผลทางด้านพฤติกรรม (Behavioral Symptoms) ผลทางด้านพฤติกรรมที่เกิดขึ้นมีมากมายซึ่ง เป็นผลเนื่องมาจากผลทางจิตใจและร่างกาย เช่น อาจทาให้คนมีการทาร้ายตนเอง เช่น กรีดแขน มีการติด ยา (ยานอนหลับ ยาแก้เครียด ยาเสพติด เช่น ยาอี) ติดเหล้า ติดบุหรี่ 3.1 พฤติกรรมเชิงก้าวร้าว เช่น เสียงดัง ไม่เก็บอารมณ์ ขี้โมโห โวยวาย และมีพฤติกรรม สร้างปัญหาในรูปแบบต่าง ๆ เป็นต้น 3.2 มีประสิทธิภาพการทางานลดลง งานผิดพลาดเสียหายล่าช้า ผลผลิตต่าลง 3.3 มีการหยุดงาน ขาดงานสูง 3.4 และในที่สุดก็จะหยุดงานถาวร คือต้องลาออกไป หรือถูกให้ออกไป รอบบิน (Robbins, 1996, p. 618) กล่าวว่า พนักงานที่เผชิญกับความเครียดสามารถแสดงออกมา ได้ในหลายลักษณะ แต่ละคนก็จะแสดงออกมาในลักษณะที่แตกต่างกัน เป็นต้นว่า ความดันโลหิตสูง เป็น