SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
บทที่ 1
ที่มาและความสําคัญของปัญหา
ด้วยสภาพเศรษฐกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
อีกทั้งประเทศไทยกําลังก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN
Economic Community : AEC) ทําให้เกิดการแข่งขันทางเศรษฐกิจที่ทวี
ความรุนแรงมากยิ่งขึ้นซึ่งเป็นการท้าทายต่อธุรกิจของไทย ที่
ต้องเตรียมตัวเผชิญ และเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจ
ของตนเอง ส่งผลให้บริษัทต้องคํานึงถึงสิ่งกระทบทั้งหลายเหล่านี้
เพิ่มมากขึ้น เพื่อความอยู่รอดขององค์กร เพื่อการเติบโตแบบก้าว
กระโดด เพื่อสร้างกําลังผนึกของกิจการ และ เพื่อให้สามารถ
แข่งขันได้บริษัทจึงต้องมีการวางแผนการดําเนินการรับมือกับการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพื่อให้เกิดความผิดพลาดและลดความเสี่ยง
ต่อองค์กรในการดําเนินธุรกิจให้น้อยที่สุด ท่ามกลางสภาพการ
แข่งขันที่ทวีความรุนแรงส่งผลให้องค์กรต้องคิดค้นเพื่อเพิ่ม
ศักยภาพขีดความสามารถในการแข่งขันให้สูงขึ้น การสรรหา
นวัตกรรมใหม่ๆ ทางธุรกิจเป็นช่องทางในการเพิ่มศักยภาพของ
องค์กร นวัตกรรมจึงเป็นเครื่องมือใหม่ทางยุทธศาตร์การแข่งขัน
ทางธุรกิจ เพื่อสร้างความแตกต่าง และความได้เปรียบทางการค้า
ซึ่งนวัตกรรม ไม่จําเป็นต้องสื่อถึงการนําเทคโนโลยีที่ล้ําสมัยออกสู่
ตลาดเพียงอย่างเดียว แต่รวมไปถึงการก่อให้เกิดประโยชน์อย่าง
คุ้มค่า
การควบรวมกิจการและการเข้าซื้อกิจการ (Mergers &
Acquisition strategy: M&As)ในปัจจุบัน พบว่า จํานวนและขนาดของการ
ควบรวมกิจการมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว (Hitt, Harrison, and Ireland,
2001) ตั้งแต่ทศวรรษ 1980sที่มูลค่ารวมของการควบรวมกิจการอยู่ที่
1.3ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ และมีมูลค่าเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลใน
ทศวรรษที่ 1990sที่มูลค่ามากกว่า 11ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ
รับทําโปรเจค.net
เหตุผลสําคัญที่บริษัทต่างๆมีความจําเป็นในการควบรวมกิจการ
คือ การสร้างอํานาจในตลาด การสร้างความได้เปรียบในการเข้า
ถึงเทคโนโลยีหรือในทรัพยากรที่ตัวเองไม่มีหรือมีไม่เพียงพอ การ
เพิ่มอํานาจการต่อรองกับลูกค้าหรือคู่ค้า (supplier)การเพิ่มช่อง
ทางในการจําหน่าย รวมทั้งยังเป็นการลดความเสี่ยงในเรื่องของ
ต้นทุนการผลิตสําหรับสินค้าหรือบริการใหม่ๆที่ตนเองอาจจะไม่มี
ความสามารถเพียงพอถ้าต้องผลิตออกมาด้วยตนเอง นอกจากนี้
แล้ว การควบรวมกิจการยังช่วยจํากัดความสามารถของคู่แข่งและ
ยังกีดกันคู่แข่งให้ออกจากตลาดได้ด้วย รวมถึงยังสามารถช่วยลด
ต้นทุนของการดําเนินงานลงได้ เพราะการรวมตัวกัน จะทําให้
บริษัทมีขนาดใหญ่ขึ้นและการเพิ่มขึ้นของขนาดนี้เองจะเป็นการ
ช่วยในเรื่องของการประหยัดจากขนาดนั่นเอง (Scale & Scope
advantage)(B.Elango 2006)สําหรับบริษัทที่ถูกควบรวมกิจการนั้น ยังอาจ
ได้ประโยชน์ในเรื่องของสถานะทางการเงินด้วย เพราะบริษัทจาก
ภายนอกที่เข้ามารวมกิจการด้วยนั้น มักจะนําเงินลงทุนมาให้ด้วย
นั้นหมายถึง บริษัทจะมีความเข้มแข็งทางการเงินเพิ่มมากขึ้น
แม้ว่าการควบรวมกิจการนั้น จะก่อให้เกิดประโยชน์อย่าง
มากมายตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น แต่ก็ยังปัจจัยสําคัญส่วนหนึ่งที่
ต้องนํามาคํานึง คือ ภายหลังจากการควบรวมกิจการแล้ว อาจมี
ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการภายในองค์กรระหว่างบริษัทที่เข้ามา
รวมกับบริษัทที่ถูกควบรวมกิจการ อันเนื่องมาจากการที่มี
วัฒนธรรมองค์กรที่แตกต่างกัน หรือ ความเสี่ยงหรือความผิด
พลาดที่เกิดจากการรวมกิจการไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ตั้งแต่ต้น ซึ่งอาจส่งผลต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทในอนาคตได้
การควบรวมกิจการ เป็นธุรกรรมที่มีผลกระทบกับกลุ่มผู้
มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่ม ทั้งฝ่ายที่เป็นผู้ควบรวมและผู้ถูกควบ
รวม ดังนั้นจึงจําเป็นที่ต้องทําการศึกษาอย่างละเอียดรอบคอบ
ก่อนที่จะมีการควบรวมกิจการ ซึ่งต้องมีหลักในการพิจารณา คือ
พิจารณาเหตุผลหรือความจําเป็น กําหนดวัตถุประสงค์ที่สอดคล้อง
กับกลยุทธ์เป้าหมายธุรกิจ ทําการวางแผนการควบรวมกิจการ
รับทําโปรเจค.net
โดยการเลือกรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการตรวจสอบ
สถานะกิจการเป้าหมายทางด้านกฎหมาย การเงิน ภาษี ภาระ
ผูกพันที่นอกเหนือจากงบการเงิน และที่สําคัญคือการทําเอกสาร
ทางกฎหมายที่สําคัญเพื่อทําข้อตกลงเบื้องต้น และการกําหนด
หลักเกณฑ์ต่างๆ
ในหัวข้อของงานวิจัยนี้ มุ่งเน้นเพียงแค่ผลที่เกิดทาง
นวัตกรรมของบริษัทที่ถูกควบรวมกิจการที่อยู่ภายในประเทศไทย
เท่านั้น โดยอาศัยเครื่องมือทางวัดผลของนวัตกรรม และไม่ได้นํา
เอาปัจจัยอื่นๆที่อาจส่งผลทําให้ผลการประกอบการของธุรกิจนั้นๆ
มีกําไรหรือขาดทุนมาใช้โดยมีการสมมติฐานว่า ภายหลังจากการ
รวมกิจการแล้วนั้น จะทําให้บริษัทที่ถูกควบกิจการมีความ
แข็งแกร่งทางด้านการเงินเพิ่มมากขึ้นและยังมีผลต่อการเกิด
นวัตกรรมหลังจากการควบรวมกิจการหรือไม่ เนื่องจากการเกิด
นวัตกรรม มีผลโดยตรงต่อภาพรวมและการสร้างโอกาสในการ
แข่งขันให้กับองค์กร
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
เพื่อศึกษากระบวนการและแนวโน้มในการขยายตัวของ
ธุรกิจในประเทศไทย ในแต่ละภาคส่วนของธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
และศึกษาการเกิดนวัตกรรมหลังจากมีการควบรวมกิจการ
เนื่องจากในปัจจุบันนี้นวัตกรรมมีส่วนสําคัญมากในการดําเนินทาง
ธุรกิจ และการควบรวมกิจการก็ถือเป็นยุทธศาสตร์หลักของการ
ขยายกิจการซึ่งในที่นี้ซึ่งได้นํากรณีของการควบรวมกิจการ(Merger
& Acquisition: M&As)มาเพื่อศึกษาแนวทาง ซึ่งจากการค้นคว้ามุ่งที่จะ
ศึกษาถึงผลประโยชน์ทางการเงิน และการเกิดนวัตกรรมหลังจาก
ควบรวมกิจการ เนื่องจากในปัจจุบันการควบรวมกิจการถือเป็น
กลยุทธ์ หรือทางเลือกหนึ่งในการเปิดโอกาสทางการค้าที่โดดเด่น
เพื่อความเจริญเติบโตทางด้านธุรกิจ โดยเฉพาะในประเทศไทยได้
มีอัตราการขยายตัวในการควบรวมกิจการเพิ่มขึ้น หลังจากมีการ
รับทําโปรเจค.net
เปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศ ในงานศึกษาค้นคว้านี้
ต้องการที่จะให้เห็นผลประโยชน์ของการเกิดนวัตกรรมขององค์กร
หลังจากการขยายกิจการโดยวิธีควบรวมกิจการ (Mergers&
Acquisitions : M&A)
• เป็นการเปิดการค้าเสรีระหว่างประเทศ
• ประหยัดต่อขนาด (Scale & Scope advantage)
• เป็นการเพิ่มผลิตผลและมีการขยายตลาด
• การแลกเปลี่ยนทรัพยากร และความชํานาญ
• ควบรวมศักยภาพการผลิต
• จํากัดการแข่งขันในอุตสาหกรรม
• เพื่อการขยายธุรกิจใหม่
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

 1. ทําให้ทราบถึงแนวโน้มของการขยายตัวทางธุรกิจใน
ประเทศไทยในแต่ละภาคส่วนของธุรกิจหรืออุตสาหกรรม

 2. ทําให้ทราบถึงการเกิดนวัตกรรมหลังจากมีการควบ
รวมกิจการ

 3. เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจและขยายการ
ลงทุนในประเทศไทยโดยใช้กลยุทธ์การควบรวมกิจการเพื่อพัฒนา
นวัตกรรม

 4. ความเปลี่ยนแปลงทางด้านนวัตกรรมองค์กรจากการ
ควบรวมกิจการ
รับทําโปรเจค.net
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ศึกษาถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับบริษัทที่ถูกควบรวม
หรือถูกซื้อกิจการที่อยู่ใน
ประเทศไทย และทําการเปรียบเทียบข้อมูลทางด้าน
นวัตกรรมขององค์กรก่อนและหลังจากการควบรวมกิจการ
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ข้อจํากัดของการทําวิจัย
การรวมกิจการและการครอบงํากิจการเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่
เป็นข้อตกลงระหว่างบริษัทเป้าหมายหรือบริษัทที่ถูกครอบงํา
กิจการกับบริษัทผู้ซื้อหรือบริษัทที่ครอบงํากิจการโดยมี
วัตถุประสงค์หลักเพื่อที่จะสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจและสร้าง
ความเจริญเติบโตของธุรกิจดังนั้นในการพิจารณาผลการดําเนิน
งานจะประเมินโดยใช้ Key Performance Index(KPI)
การวัดผลดัชนีชี้วัดทางด้านนวัตกรรมหากจะเปรียบ
เทียบขีดความสามารถด้านนวัตกรรมของประเทศไทยกับต่าง
ประเทศโดยตรงยังพบ ว่าเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยาก เนื่องจากมี
หลักเกณฑ์การวัดที่แตกต่างกันยิ่งกว่านั้นดัชนีชี้วัดถึงความ
สามารถทางด้านนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเฉพาะด้านที่ยังขาด
ความชัดเจน

 
 
บริษัทที่มีการควบรวม
กิจการหรือ
ถูกซื้อกิจการ

 การเกิดของนวัตกรรม
รับทําโปรเจค.net
นอกจากนี้แล้ว การเกิดนวัตกรรมหลังจากการควบรวม
กิจการ ซึ่งในแต่ละองค์กรจะมีกลวิธีและระยะเวลาที่ใช้ในการ
พัฒนาหรือสร้างสรรค์เพื่อก่อให้เกิดนวัตกรรมอาจมีความแตกต่าง
กัน ซึ่งหากเราเปรียบเทียบหรือประเมินผลในระยะสั้นอาจทําให้มี
ผลกระทบต่อการตัดสินใจได้
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การรวมกิจการ
การรวมกิจการ คือ การนํากิจการที่แยกต่างหากจากกัน
มารวมเป็นหน่วยงานทางเศรษฐกิจเดียวกันโดยการที่กิจการหนึ่ง
รวมกับอีกกิจการหรือการที่กิจการหนึ่งเข้าควบคุมสินทรัพย์สุทธิ
และการดําเนินงานของอีกกิจการหนึ่ง "ลักษณะ" การรวมกิจการ
แบ่งได้เป็น 3 แบบ(P.A Gaughan, 2001)
1. เป็นการรวมกิจการแบบแนวนอนจะเป็นการรวม
กิจการที่มีลักษณะเหมือนกันเข้าด้วยกันอย่างเช่น บริษัทที่ปรึกษา
ทางการเงินสองแห่งมารวมกัน ธนาคารสองแห่งมารวมกันเช่น
ธนาคารนครหลวงไทยรวมกิจการกับธนาคารธนชาติหรือเมื่อก่อน
นี้ที่ IBC กับUTVมารวมกันเป็น UBCเป็นต้น
2. การรวมกิจการที่เรียกว่าแบบแนวตั้งจะเป็นการรวม
กิจการหนึ่งกับกิจการหนึ่งที่สินค้าหรือการบริหารมีความเกี่ยวข้อง
กันเช่น การรวมกันของกิจการผลิตน้ําดื่มกับกิจการผลิตขวดอย่าง
นี้เป็นต้น
3. การรวมกิจการแบบผสมเป็นการรวมกิจการแบบข้าม
หน่วยธุรกิจ คือ การรวมกิจการแบบนี้ไม่ได้สนใจว่าเป็นธุรกิจ
เดียวกันหรือไม่ เช่นการรวมกันของธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้ากับธุรกิจ
ภาพยนตร์เป็นต้น
วิธีการรวมกิจการสามารถทําได้ 4 แบบ คือ
รับทําโปรเจค.net
1. การควบกิจการหมายถึง การรวมธุรกิจโดยกิจการ
หนึ่ง ซื้อหรือรับโอนสินทรัพย์สุทธิทั้งหมดของอีกกิจการหนึ่งหรือ
หลายกิจการ
2. การรวมกิจการหมายถึง การรวมธุรกิจโดยการจัดตั้ง
กิจการขึ้นใหม่เพื่อรับโอนสินทรัพย์สุทธิทั้งหมดของกิจการที่
ดําเนินงานอยู่แล้วตั้งแต่ 2 กิจการขึ้นไป
3. การซื้อหุ้นหมายถึงการรวมธุรกิจโดยกิจการหนึ่งซื้อ
หุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดหรือบางส่วนของอีกกิจการหนึ่ง
4. การซื้อสินทรัพย์สุทธิหมายถึงการรวมธุรกิจโดย
กิจการหนึ่งซื้อสินทรัพย์สุทธิของอีกกิจการหนึ่ง

 ความสําคัญของการควบรวมกิจการ

 ความสําคัญต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

 1.เป็นกลไกที่มีส่วนทําให้หน่วยธุรกิจมีความเข้มแข็งมากยิ่ง
ขึ้นจากความสามารถในการเพิ่มมูลค่าของกิจการ

 2. ทําให้การบริหารจัดการองค์กรและการเงินของธุรกิจ
สามารถกระทําได้อย่างคุ้มทุนมากขึ้นใช้ทรัพยากรได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

 3. เพิ่มอํานาจด้านการตลาดได้มากอันจะทําให้ภาคธุรกิจ
ภายในประเทศโดยรวม สามารถเพิ่มศักยภาพการแข่งขันได้

 ความสําคัญต่อการพัฒนาตลาดทุน

 1. ในกรณีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์การควบ
รวมกิจการจะช่วยให้ภาคธุรกิจสามารถมีกิจการที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
และมูลค่าตามราคาตลาดเพิ่มสูงขึ้นในกรณีของบริษัทนอก
ตลาดหลักทรัพย์การควบรวมกิจการจะมีบทบาทต่อการปรับ
โครงสร้าง

 2. องค์กรและธุรกิจซึ่งจะช่วยให้บริษัทมีความพร้อมที่จะนํา
หุ้นของตนมาจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ได้ใน
อนาคต
รับทําโปรเจค.net
3. ช่วยส่งผลให้ตลาดทุนในประเทศมีมูลค่าตามราคาตลาด
(Market Capitalization) โดยรวมและสภาพคล่องเพิ่มขึ้น

 4. ส่งผลดีต่อการดึงดูดนักลงทุนจากตลาดต่างประเทศให้
มาลงทุนในตลาดทุนของไทยได้เพิ่มมากขึ้น

 ความสําคัญต่อกิจการ

 1. ส่งผลให้ต้นทุนการดําเนินงานลดลงจากขนาดของกิจการ
ที่ใหญ่ขึ้น (Economy of Scale)

 2. เพิ่มอํานาจต่อรองด้านการค้าที่สูงขึ้นจากส่วนแบ่งของ
ตลาดหลังการควบรวมกิจการที่เพิ่มสูงขึ้น

 3. ช่วยให้กิจการขยายตลาดเข้าสู่ธุรกิจใหม่และลดความ
เสี่ยงในการประกอบธุรกิจปัจจุบัน (ที่มา: แผนพัฒนาตลาดทุนไทย
มาตรการที่ 3: การปฏิรูปกฎหมายสําหรับการพัฒนาตลาดทุน)
รูปแบบการควบรวมกิจการ
วัตถุประสงค์ของการควบรวมกิจการ สามารถสรุปได้
ดังนี้
วัตถุประส
งค์
Horizontal Vertical Conglomerate
วัตถุประส
งค์
การควบรวมกิจการ
ในแนวนอน
การควบรวมกิจการใน
แนวตั้ง
การควบรวมกิจการ
ซึ่งไม่มี
ความสัมพันธ์กัน
ลักษณะ
รวมกิจการที่
ประกอบธุรกิจ
เหมือนกันหรืออยู่
ใน
อุตสาหกรรม
เดียวกัน
รวมกิจการที่ประกอบ
ธุรกิจใน
สายธุรกิจเดียวกัน
รวมกิจการระหว่าง
บริษัทใน
ธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้อง
กัน
โดยสิ้นเชิง
รับทําโปรเจค.net
ข้อดี
 - เกิด Economy
of Scale
 - ลดคู่แข่งใน
ตลาด
 - ต้นทุนการผลิตลด
ลง (ควบคุมต้นทุนได้
ง่าย)
 - ลดความเสี่ยงใน
การประกอบ
ธุรกิจปัจจุบัน
 - ขยายตลาดใน
ธุรกิจใหม่
การควบรวมกิจการนั้นสามารถทําได้หลายรูปแบบซึ่ง
แต่ละรูปแบบนั้นมีวิธีการ และมีข้อดี/ข้อเสีย แตกต่างกัน
ข้อดีการควบรวมกิจการ
เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการสร้างความแข็งแกร่งทาง
ธุรกิจ เสริมสร้างรายได้ แบบก้าวกระโดดลดความเสี่ยงทางธุรกิจ
สกัดกั้นคู่แข่งขันให้มีน้อยลงเพื่อส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น สร้าง
จุดแข็งในการดําเนินการทางธุรกิจเพิ่มโอกาสให้กับบริษัท ได้
ประโยชน์ทางด้านสิทธิทางปัญญา สิทธิบัตร การวิจัยงานต่างๆ  ที่
เราไปรวมกิจการมาลดต้นทุนการผลิต การบริการ ต่อหน่วยเสริม
สร้างประสิทธิภาพทางการเงิน
นอกจากนั้นการควบรวมกิจการยังถือเป็นการลดความ
เสี่ยงของบริษัท ช่วยให้เข้าถึงทรัพยากรทางการเงินและการ
บริหารมากขึ้น รวมถึงช่วยให้มีการจัดสรรทรัพยากรที่มี
ประสิทธิภาพให้องค์กร

  
ข้อเสียการควบรวมกิจการ
กิจการที่ไปรวมโดยเฉพาะการรวมแบบผสม ที่ธุรกิจไม่มี
ความเกี่ยวเนื่องกันอาจจะก่อให้เกิดความไม่ถนัด ไม่มี
ประสบการณ์ ทําให้ต้นทุนการผลิต การขาย การบริการสูงกว่าคู่
แข่งขันได้ ไม่สามารถดําเนินกิจการในอนาคตได้และจะทําให้
บริษัทของเราที่จะไปรวมแต่เดิม ที่มีความแข็งแกร่งทางการเงิน
อาจจะมีปัญหาได้
อาจเกิดการกระจุกตัวของตลาดของผู้ซื้อและผู้ขาย รวม
ถึงการผูกขาดในระยะยาว ทําให้ข้อต่อรองทางการตลาดส่งผล
รับทําโปรเจค.net
ต่อคู่ค้าและอาจกิ่ให้เกิดปัยหาต่อภาพรวมทางเศรษฐกิจและการ
จัดสรรทรัพยากรอาจไม่เหมาะสมเป็นได้
สถิติการควบรวมกิจการ – ทั่วโลก ซึ่งจะเกิดขึ้นมากใน
กลุ่มธนาคาร โทรคมนาคม และค้าปลีก
หมายเหตุ:ณ 14 กันยายน พ.ศ.2548 ที่มา: Bloomberg
สําหรับในประเทศไทยนั้น กระแสการควบรวมกิจการได้
เกิดขึ้นอย่างแพร่ ซึ่งเป็นกิจการของไทยที่รวมตัวกันเอง หรืออาจ
เป็นธุรกิจของไทยไปซื้อกิจการต่างประเทศ หลายตัวอย่างประเภท
ธุรกิจที่มีการควบรวมกิจการในประเทศไทย
- ธุรกิจห้างสรรพสินค้า Central & Robinson
- ธุรกิจประกันภัย นวกิจประกันภัย ไทยพาณิชย์ประกัน
ภัย และประกันภัยสากล
- การควบรวมกิจการระหว่างบริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ
จํากัด(มหาชน) และบริษัทไทยโอเลฟินส์ จํากัด(มหาชน) ภายใต้
การดูแลของบริษัท ปตท. จํากัด
- บริษัท ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ จํากัด (มหาชน)ที่
ประกอบธุรกิจด้านการส่งออกปลาทูน่าและกุ้งด้วยมูลค่ายอดขาย
รับทําโปรเจค.net
กว่า 60,000 ล้านบาทต่อปีจากเดิมที่อยู่ระดับ 40,000 ล้านบาท
ต่อปีโดยส่วนหนึ่งมาจากการต่อยอดธุรกิจด้วยการเข้าไปซื้อบริษัท
ชิคเก้นออฟเดอะซีซึ่งมีฐานลูกค้าใหญ่เป็นอันดับ 3 ในตลาด
สหรัฐอเมริกา
- การควบรวมกิจการของโรงพยาบาล โดยโรงพยาบาล
กรุงเทพ (รพ.พญาไท และ รพ.เปาโล
- ธุรกิจโรงภาพยนตร์ เมเจอร์และอีจีวี
- กลุ่มเทเลนอร์ จากนอร์เวย์ ทุ่งเม็ดเงินกว่า 9 พันล้าน
บาท ซื้อหุ้นใหญ่ในดีแทคจากตระกูลเบญจรงค์กุล
กราฟแสดงถึงการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ฯ และวัตถุประสงค์ใน
การเข้าซื้อบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
รับทําโปรเจค.net
ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
การรวมกิจการและการครอบงํากิจการจะก่อให้เกิดประโยชน์
ได้แก่  
    
1. การที่บริษัทผู้ที่ควบรวมกิจการเข้ามาถ่ายทอด
เทคโนโลยีในการบริหารงานที่ดีให้กับบริษัทที่ถูกรวมกิจการ  
2. เปลี่ยนแทนผู้บริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพ  
3. ต้นทุนของการดําเนินงานลดลงเพราะการรวมตัวกัน
ของสองบริษัททําให้ขนาดของกิจการหลังการรวมตัวมีขนาดใหญ่
ขึ้นและการเพิ่มขึ้นของขนาดอาจทําให้ต้นทุนการดําเนินงานของ
บริษัทลดลงซึ่งเป็นการส่งเสริมในเรื่องการประหยัดจากขนาด
(Scale and scope advantages, B.Elango (2008) 
4. การกระจายธุรกรรมของบริษัทดีขึ้นเพราะช่วยให้การ
ดําเนินงานของบริษัทมีประสิทธิภาพดีขึ้นเนื่องจากการกระจายตัว
ของบริษัทออกไปในรูปธุรกิจประเภทต่างๆ ช่วยให้การเจริญ
เติบโตของบริษัทสม่ําเสมอ
5. เป็นผลดีต่อบริษัททางด้านการบริหารการเงินเพราะ
ช่วยลดความเสี่ยงจากการดําเนินงาน (B.Elango, Charles A.
Barragato and Ariel Markelevich, (2008)
รับทําโปรเจค.net
6. ปรับกลยุทธ์ของบริษัทเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ
แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและยังเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหาร
งาน
7. ลดปัญหากิจการที่มีมูลค่าต่ํากว่าระดับที่ควรจะเป็น
Copeland and Weston (1988) ได้กําหนดแรง
ผลักดันของการรวมกิจการมี 5 ปัจจัยคือ
1. การรวมกิจการทําให้การดําเนินงานมีประสิทธิภาพ
ของกิจการเมื่อบริษัทหนึ่งเข้ารวมกับอีกบริษัทหนึ่งทําให้
ประสิทธิภาพการดําเนินงานของบริษัทผู้ถูกรวมหรือของทั้งสอง
บริษัทดีขึ้นเมื่อตลาดทราบว่าประสิทธิภาพการดําเนินงานของ
บริษัทจะดีขึ้นหลังการรวมกิจการทําให้ราคาตลาดของหุ้นของ
บริษัททั้งสองบริษัทสูงกว่าราคาที่ให้ไว้แต่เดิมการที่ประสิทธิภาพ
การดําเนินงานของกิจการดีขึ้นอาจมาจากสาเหตุบริษัทผู้เข้ารวม
กิจการได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีในการบริหารที่ดีให้กับบริษัทผู้ถูก
รวมหรือการเข้าครอบงํากิจการเพื่อเปลี่ยนผู้บริหารที่ไม่มี
ประสิทธิภาพ
2. การรวมกิจการด้วยข่าวสารข้อมูลและการส่งสัญญาณ
จากแนวความคิดนี้เกิดจากทุกคนในตลาดไม่สามารถได้รับข้อมูล
ข่าวสารที่เท่าเทียมกันเพราะตลาดไม่มีกลไกการทํางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ (information)
3. การรวมกิจการทําให้เกิดปัญหาของการที่ผู้บริหารไม่
ได้เป็นเจ้าของกิจการ (Agency problem) โดยเกิดจากหลังรวม
กิจการผู้บริหารของบริษัทที่ถูกครอบงํากิจการไม่ได้เป็นเจ้าของ
กิจการ
4. การรวมกิจการเพื่อเพิ่มอํานาจการต่อรองด้านการค้า
(Market power)
5. การรวมกิจการก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านภาษี
(Taxes) ซึ่งจากแรงผลักดันดังกล่าวข้างต้นได้ตรงกับผลงานวิจัย
ของ Weston, Chung and Hoag (1990) ที่ได้รวบรวมและจัด
กลุ่มแรงผลักดันของการรวมกิจการไว้ 7 ปัจจัยประกอบกัน (โดย
รับทําโปรเจค.net
เพิ่มแรงผลักดันจากผลงานวิจัยของ Copeland and Weston
(1988) ที่ศึกษาเกี่ยวกับการรวมกิจการอาจทําให้เกิดการจ่าย
เงินสดส่วนเกินคืนให้แก่เจ้าของกิจการและการรวมกิจการทําให้
เกิดกลไกการยักย้ายความมั่งคั่งโดยอ้อมจากเจ้าหนี้หรือลูกค้าไป
ให้แก่ผู้ถือหุ้น
การขยายตัวทางธุรกิจยุค New Economy โดยขยาย
ตัวแบบ “ควบรวมและซื้อกิจการ” (Merger &Acquisition) ได้
กลายเป็นเครื่องมือสําคัญเพื่อหวังมีความแข็งแกร่งในการต่อสู้คู่
แข่งด้วยการสร้างเครือข่ายให้พร้อมสําหรับครอบคลุมตลาดกับ
ลูกค้ากับหาทางลดต้นทุนจากขนาดที่ใหญ่กับเครดิตที่ดี ทําให้เป็น
ที่น่าเชื่อถือ
ขั้นตอนการเติบโตของธุรกิจ โดยทั่วไปจะเดินตาม 4 ขั้น
- ขั้นเริ่มต้น ซึ่งเป็นขั้นตอนการบุกเบิกเพื่อพิชิตพรมแดน
ใหม่ซึ่งช่องทางธุรกิจยังใหม่และเปิดกว้าง เมื่อทุกอย่างใหม่จึงรุก
ง่าย ทําให้โตไวไร้การแข่งขัน กับกําไรงาม ธุรกิจจึงมีการขยายตัว
จากการโตไว ทําให้มีการแตกตัวขยายเข้าสู่ธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ
กว้างไกลออกไป 
- ขั้นเติบโตพร้อมปัญหาขนาด [Scale Stage] คือ การ
โตมาได้เรื่อยจนเข้าที่ทําให้ขนาดกลายเป็นปัญหาการแข่งขัน
ขยายตัวมานานจะทําให้เหลือธุรกิจรายใหญ่เพียงไม่กี่รายในขั้นนี้
ตลาดจะถึงจุดอิ่มตัว รายใหม่ที่เข้ามาจึงหาลูกค้าได้ไม่มากและ
ยากยิ่งขึ้นทําให้ผลงานของรายใหม่ไม่จูงใจนักลงทุน ส่งผลให้
กิจการต่างๆเข้าสู่กระบวนการถูกซื้อหรือจําใจต้องควบรวมกับ
ธุรกิจประเภทเดียวกัน 
- ขั้นการปรับกระชับควบแน่น  [Focus Stage] คือขั้น
ตอนที่ใช้กลยุทธ์เร่งบุกซื้อกิจการเป็นการใหญ่ โดยเฉพาะในธุรกิจ
หลักที่สําคัญๆและที่น่าถือไว้พร้อมกับแลกเปลี่ยนธุรกิจระหว่างกัน
หรือสลัดทั้งธุรกิจรองหรือที่ตนเองทําเอาดีไม่ได้ออกไป
- ขั้นการปรับสมดุลกับพันธมิตรในขั้นนี้ยักษ์ใหญ่ที่ครอง
อุตสาหกรรมจะเหลือเพียงไม่กี่รายที่เป็นเจ้าครองส่วนแบ่งตลาด
รับทําโปรเจค.net
เกือบทั้งหมดโดยสถิติในต่างประเทศอัตราการควบแน่นมีสูงถึง
90% เรียกได้ว่าแทบจะครองทั้งประเทศหรือทั้งตลาดโลกเลยที
เดียวก็ว่าได้
ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมทางธุรกิจ

 นวัตกรรม มีความหมายอย่างกว้างและแคบ การระบุว่าสิ่ง
ใดเป็นนวัตกรรมหรือไม่นั้น มีเงื่อนไขขั้นต่ํา คือ ผลิตภัณฑ์
กระบวนการผลิต หรือวิธีการทางการตลาด ตลอดจนกระบวนการ
บริหารองค์กรนั้นๆ จะต้องมีความใหม่ต่อองค์กรหรือมีการ
ปรับปรุงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาด้วยตนเอง หรือ
เป็นการประยุกต์ใช้มาจากองค์กรอื่น

 คําว่า “นวัตกรรม (innovation)” มาจากรากศัพท์ในภาษา
ลาติน คือคําว่า “Nova” ซึ่งแปลว่า ใหม่
            เป็นการแสวงหาผลประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และสังคม
จากความคิดใหม่ นวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์ คือ การนําแนว
ความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูป
แบบใหม่ เพื่อทําให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือ "การทําในสิ่ง
ที่แตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่างๆ (Change)
ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และ
ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทําให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง
และสังคม”
นวัตกรรม (Innovation) คือ รวมไปถึงการทําใหม่ขึ้นอีกครั้ง
โดยการปรับปรุงสิ่งเก่าให้ใหม่ขึ้นมาและมีการพัฒนาศักยภาพ
ของบุคลากร หน่วยงาน ตลอดจนองค์การนั้นๆ ซึ่งนวัตกรรมไม่ใช่
การขจัดหรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป  แต่จะเป็นการปรับปรุงเสริม
แต่งและพัฒนาเพื่อความอยู่รอดของระบบ ( ที่มา : Morton,
1971)

 นวัตกรรม (Innovation) คือ เครื่องมือที่สําคัญของผู้
ประกอบการ (entrepreneur)เพื่อเป็นโอกาสที่ใช้แสวงหาผล
ประโยชน์ จากการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในรูปแบบของธุรกิจและ
รับทําโปรเจค.net
การบริการ ที่แตกต่างจากคู่แข่ง โดยอยู่ในรูปแบบของดําเนิน
งาน ความสามารถในการเรียนรู้ และความสามารถในการปฏิบัติ
(ที่มา : Peter Drucker (1985) Innovation and
entrepreneurship)

 นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง เทคโนโลยี การ
ออกแบบ การผลิต การบริหารจัดการ และการดําเนินธุรกิจ ที่
นําไปสู่การดําเนินกิจกรรมทางการตลาด เพื่อนําเสนอสินค้า/
บริการใหม่ หรือสินค้า/บริการที่ได้รับการพัฒนา (ที่มา : Chris
Freeman, 1992)

 นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง ความคิด การกระทํา
หรือวัตถุใหม่ๆ ซึ่งถูกรับรู้ว่าเป็นสิ่งใหม่ๆ ด้วยตัวบุคคลแต่ละคน
หรือหน่วยอื่นๆ ของการยอมรับในสังคม (ที่มา : Everette M.
Rogers, 1983)

 ความหมายของนวัตกรรมทางธุรกิจ

 “นวัตกรรมทางธุรกิจ” หมายถึงการทําสิ่งต่างๆด้วยวิธีใหม่ๆ
การสร้างสรรค์การพัฒนาต่อยอดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด
การจัดการการผลิตกระบวนการระบบโครงสร้างองค์กรรูปแบบ
ธุรกิจเพื่อที่จะสร้างมูลค่าใหม่ๆสาหรับลูกค้าและผลตอบแทน
ทางการเงินให้กับธุรกิจโดยเป็นที่ยอมรับต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ไม่ขัดต่อหลักศีลธรรมจรรยาบรรณขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง
โดยนวัตกรรมแบ่งจําแนกตามประเภทกว้างๆได้ 3 แบบ

 1. ศิลป์ (Artistic) เช่นการวาดภาพการเต้นรําการแสดง

 2. ธุรกิจ (Business) เช่นเงินหุ้นสินค้าแลกเปลี่ยนสินค้า
การเจรจาองค์กร

 3. สังคม (Social) เช่นรัฐบาลแบบระบอบประชาธิปไตย
ทรัพย์สินส่วนตัวศาสนาการศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีและ
วัฒนธรรมวัตกรรมทางธุรกิจ

 ประเภทของนวัตกรรมทางธุรกิจ
รับทําโปรเจค.net
ในวงการนวัตกรรม มีการแบ่งประเภทของนวัตกรรมออกมา
เป็น 6 ประเภทใหญ่ๆ คือ
(Type of Innovations) (Oslo Manual, 2004)
1.            Product Innovation(นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ )คือการ
ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นในเชิงพาณิชย์
เพื่อให้ดีขึ้นหรือเป็นสิ่งใหม่ในตลาด ซึ่งนวัตกรรมนี้อาจจะ
เป็นสิ่งใหม่ต่อโลก, ต่อประเทศหรือแม้แต่ต่อองค์กร
นวัตกรรมผลิตภัณฑ์นั้นยังสามารถแบ่งออกเป็นผลิตภัณฑ์ที่
จับต้องได้(tangible product) และผลิตภัณฑ์ที่จับต้องไม่
ได้ (intangible product)
2.       Service Innovation(นวัตกรรมด้านบริการ) เป็น
(Intangible product) หรือ การบริการ (services) โดย
ผลิตภัณฑ์นั้นจะอยู่ในรูปแบบของการให้บริการ
3.            Idea Innovation(นวัตกรรมด้านความคิด) การใช้แนว
ความคิดใหม่ๆ เพื่อนํามาปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือ
บริการ
4.            Process Innovation(นวัตกรรมกระบวนการ) เป็นการ
เปลี่ยนแนวทาง หรือ วิธีการผลิตสินค้า หรือบริการ โดยมี
การให้บริการในรูปแบบที่แตกต่างออกไปจากเดิม เช่น การ
ดําเนินงานผลิตแบบทันเวลา (Just In Time /JIT), การ
บริหารงานคุณภาพองค์กรรวม (Total Quality
Management /TQM)หรือเป็นการผลิตแบบกะทัดรัด
(Lean Production)
5.       Strategy Innovation(นวัตกรรมด้านกลยุทธ์) เป็นแผน
โดยองค์กรที่นํามาใช้ เพื่อเสริมสร้างความก้าวหน้าในทาง
เทคโนโลยี หรือบริการ และยังเป็นการนําเอากลยุทธ์ใหม่ๆ
เพื่อนํามาปรับใช้ในองค์กร โดยมุ่งเน้นการสร้างความแตก
ต่างและความได้เปรียบในการแข่งขัน
6.       Value Innovation(คุณค่านวัตกรรม) การค้นหาคุณค่า
ใหม่ๆ หรือ การสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่แตกต่างและเหนือกว่า ด้วย
รับทําโปรเจค.net
การคิดนอกกรอบ การมีแนวความคิดใหม่ๆ วิธีการใหม่ ทํา
สิ่งที่ไม่สําคัญให้มีความสําคัญและมีคุณค่ามากที่สุด
ภาพแสดงหลักสําคัญ 6 ชั้น ของนวัตกรรม เพื่อสร้างโอกาสใน
การเติบโตและโอกาสในการแข่งขันเพื่อทํากําไรให้กับองค์กร
(Making innovation work, T Davila, M Epstein, R
Shelton – 2012)

 วิวัฒนาการของนวัตกรรมทางธุรกิจ

 ซึ่งกล่าวสรุปวิวัฒนาการอันนํามาสู่การแข่งขันทาง
ธุรกิจ 5 ยุค คือ

 ยุคที่ 1 ยุคของการทํางานหนักกว่าคนอื่น

 ยุคที่ 2 การใช้ความได้เปรียบด้วยทุนที่มากกว่า
รับทําโปรเจค.net
ยุคที่ 3 การได้มาซึ่งสัมปทานทําให้ได้เปรียบกว่าคน
อื่น

 ยุคที่ 4 การใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจที่เหนือกว่า

 ยุคที่ 5 ยุคปัจจุบันที่เป็นการรวมมิตรทั้งหมด ทั้งการทํางาน
หนัก ทุน สัมปทาน ตลอดจนกลยุทธ์ทางธุรกิจ แต่ด้วยส่วนผสมที่
แตกต่างกันตามแต่ละชนิดของธุรกิจ แถมท้ายด้วยการสร้างสรรค์
นวัตกรรมทางธุรกิจ การสร้างองค์กรแบบที่เรียกว่า self inc.
และสุดท้ายคือ การสร้างธุรกิจที่เรียกว่า Creative Industry

 แนวคิดการพัฒนานวัตกรรมทางธุรกิจ

 การพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมทางธุรกิจจะมุ่งเน้นการพัฒนา
รูปแบบธุรกิจการสร้างภาพลักษณ์และตราสินค้าอันเป็นการ
สร้างสรรค์ธุรกิจนาพาชุมชนไทยสู่สากลโดยเริ่มจากการพัฒนาผู้
ประกอบการให้มีความคิดสร้างสรรค์มีทักษะในการบริหารจัดการ
และดาเนินกิจกรรมทางการตลาดการพัฒนารูปแบบธุรกิจ
(Business Model) ด้านการบริหารจัดการและการตลาดตลอด
จนการสร้างโอกาสทางการตลาดสาหรับสินค้าของธุรกิจและการ
บริหารจัดการภายในองค์กรให้มีต้นทุนที่เหมาะสมด้านการจัดวาง
ระบบควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ด้านแนวคิดการสร้างตราสินค้า
เครื่องหมายการค้าและการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงด้านแนวทาง
การสร้างจุดเด่นผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างจากของเดิมและด้านการรวม
กลุ่มธุรกิจเพื่อเสริมศักยภาพในการแข่งขัน
นวัตกรรมต้องอาศัยความหลากหลายและแตกต่างของ
แนวคิด หรือสหศาสตร์ แหล่งของนวัตกรรมคือการมองหาความ
แตกต่าง ซึ่งเราสามารถสร้างความมั่งคั่งได้จากการมองหาความ
ไม่สมดุลที่เกิดขึ้นจาก 3 แหล่ง คือ ความไม่สมดุลทางสังคม เช่น
คนยอมจ่ายเงินแพงเพื่อแลกเข้าไปศึกษาสถาบันดังๆ เพราะเป็น
ช่องทางหนึ่งในการแสวงหาสถานะทางสังคม ความไม่สมดุลทาง
เทคโนโลยี เช่น เพื่อแสดงให้เห็นว่าไม่ได้ด้อยกว่าคู่แข่งจึงบีบ
รับทําโปรเจค.net
บังคับให้ธุรกิจต้องแสวงหาเทคโนโลยีระดับเดียวกันมาประดับ
ตัวอย่างคือ ร้านโชว์ห่วยต้องซื้อเครื่องคิดเงินมาตั้งไว้เหมือนร้าน
สะดวกซื้อถึงแม้จะใช้เครื่องคิดเลขก็พอแล้ว ความไม่สมดุลในด้าน
การพัฒนา ซึ่งทําให้บริษัทที่ปรึกษาทําเงินได้มากมายจาก ISO
KPI
นวัตกรรมต้องมีคุณลักษณะอย่างน้อยดังนี้คือ ช่วยปรับปรุง
ประสิทธิภาพ(Efficiency) เพิ่มพูนประสิทธิผล(Effectiveness)
และต้องถูกตาต้องใจตลาด

 นวัตกรรม: เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

 การคิดค้นนวัตกรรม/เทคโนโลยีใหม่ๆหากต้องการให้
อุปทานเป็นตัวขับเคลื่อนอุปสงค์จึงมีความจาเป็นที่จะต้องเน้นไปที่
การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะปัจจุบัน
ประเทศไทยมีความก้าวหน้าในการพัฒนาเทคโนโลยีด้านนาโน
เทคโนโลยีเทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีวัสดุศาสตร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศโดยเทคโนโลยีดังกล่าวมีลักษณะหลอมรวม
(Convergence) กันอยู่ในผลิตภัณฑ์เพื่อสนองความต้องการของ
มนุษย์ให้มีความสะดวกสบายปลอดภัยสุขภาพดีมีอายุยืนยาวผ่าน
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างอายตนะภายในกับอายตนะภายนอก

 ประเทศไทยได้ขึ้นชื่อว่ามีองค์ประกอบ/วัตถุดิบ
(Ingredients/Inputs) ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย
ชนิด (Recipes) แต่ยังขาดองค์กรหลักที่ทาหน้าที่เป็นเจ้าภาพใน
การระดมสรรพกาลังที่มีอยู่มาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ให้แก่วิสาหกิจรายย่อยของประเทศไทยตามแนวทางห่วงโซ่อาหาร
ที่กล่าวถึงให้เป็นไปตามกลไกหรือกติกามาตรฐานสากลอันเป็นที่
ยอมรับกันโดยทั่วไปเปรียบได้กับเรามีเครื่องประกอบ/เครื่องปรุง
ในการทาอาหารที่ให้รสเปรี้ยวหวานมันเค็มเผ็ดแต่ยังขาดวิธีการ
จัดการที่ทาให้อาหารไทยและอาหารไทยประยุกต์มีรสอร่อยเป็นที่
ต้องการของผู้บริโภคทุกเพศทุกวัยทุกเชื้อชาติและทุกศาสนา
รับทําโปรเจค.net
กระบวนการจัดการและวิธีการดําเนินการสร้างนวัตกรรม
ทางธุรกิจ

 ความคิด (Thinking) หมายถึงการใช้ความรู้สึกในใจถึง
การรับรู้ในรูปแบบที่ถูกบันทึกในสมองเพื่อการเรียกใช้เช่นการยืน
บนหน้าผาเป็นสิ่งอันตราย

 ขั้นตอนหรือกระบวนการ (Procedural) หมายถึงการ
ติดตามกระบวนการหรือสูตรเช่นถ้ายืนอยู่ที่หน้าผาเมื่อนั้นถอย
หลังโดยอัตโนมัติ
สร้างสรรค์ (Creative) หมายถึงการสร้างสรรค์บางอย่างที่ไม่
เคยปรากฏมาก่อน

 การสืบค้นสํารวจ (Discovery) หมายถึงการค้นพบแหล่ง
ธรรมชาติปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือนวัตกรรมอื่นๆที่ค้นพบใน
ครั้งแรกสิ่งเดียวกันอาจถูกค้นพบโดยหลายคนหรือมากกว่าหนึ่ง
ครั้งเช่นดาวเสาร์ทองคํากาแฟสตาร์บัคฟันหลุดเป็นต้น

 สิ่งเกิดขึ้นใหม่ (Novelty) หมายถึงการสร้างสิ่งใหม่ๆหรือ
วิธีในการทาบางสิ่งเช่นการสร้างสรรค์เครื่องมือใหม่

 การกระทํา (Action) หมายถึงการกระทําที่นําให้เกิดสิ่ง
ใหม่ๆจากสิ่งที่มีอยู่เดิมเช่นการสร้างเสียงดนตรีโดยการขับร้อง
เพลงเมื่อนั้นมันคือกระบวนการกระทําไม่ใช่การสร้างขึ้นมาใหม่
หรือการกระทาด้วยวิธีเดิมแล้วพบสิ่งใหม่ๆจากการกระทา

 องศาของสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ของนวัตกรรม (Degree of
Novelty of Innovation)
องศาของสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ของนวัตกรรมคือในช่วงของการพัฒนา
ขึ้นจนถึงจุดการพัฒนาที่สิ้นสุดการพัฒนานวัตกรรมที่เพิ่มขึ้นนี้จะ
ควรอยู่ในช่วงสั้นกว่าง่ายกว่าในการดาเนินการปฏิบัติการและมี
ความเสี่ยงน้อยรวมถึงความยั่งยืนในธุรกิจการพัฒนานวัตกรรมไป
ถึงที่สุดทั่วไปนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นความซับซ้อนมากขึ้น
และความเสี่ยงสูงขึ้นซึ่งอาจทําให้ตลาดวุ่นวายและการก้าว
กระโดดการเติบโตที่รวดเร็วเกินไปดังนั้นหลายๆธุรกิจที่ประสบ
ความสําเร็จก่อนระยะเวลายาวนานที่สิ้นสุดการพัฒนาโดยการ
รับทําโปรเจค.net
ทําการพัฒนาเพิ่มขึ้นของนวัตกรรมอย่างต่อเนื่องที่เน้นการเติบโต
และการพัฒนาผสมผสานหลายๆแบบ

 กระบวนการจัดการและวิธีการดําเนินการสร้างนวัตกรรม
ทางธุรกิจ

 “นวัตกรรมทางธุรกิจ” หมายถึงการทําสิ่งต่างๆด้วยวิธีใหม่ๆ
การสร้างสรรค์การพัฒนาต่อยอดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด
การจัดการการผลิตกระบวนการระบบโครงสร้างองค์กรรูปแบบ
ธุรกิจเพื่อที่จะสร้างมูลค่าใหม่ๆสําหรับลูกค้าและผลตอบแทน
ทางการเงินให้กับธุรกิจโดยเป็นที่ยอมรับต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ไม่ขัดต่อหลักศีลธรรมจรรยาบรรณขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ
โดยนวัตกรรมแบ่งจําแนกตามประเภทกว้างๆได้ 3 แบบ

 - ศิลป์ (Artistic) เช่นการวาดภาพการเต้นรําและการแสดง

 - ธุรกิจ (Business) เช่นเงินหุ้นสินค้าแลกเปลี่ยนสินค้าการ
เจรจาและองค์กร

 - สังคม (Social) เช่นรัฐบาลแบบระบอบประชาธิปไตย
ทรัพย์สินส่วนตัวศาสนาการศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีและ
วัฒนธรรม

 ขอบเขตของนวัตกรรม (Scope of Innovation)

 ขอบเขตของนวัตกรรมถูกกําหนดโดยบริษัทหรือการขายสู่
ตลาดครั้งแรกของเทคโนโลยีที่มีอยู่และเทคโนโลยีใหม่ (เช่น
ผลิตภัณฑ์กระบวนการรูปแบบ) โดยสามารถแบ่งออกเป็น 8
ระดับตามเทคโนโลยี (เครื่องมือทักษะ) ดังต่อไปนี้
ขอบเขตตลาด เทคโนโลยีเทคโนโลยีขอบเขตตลาด
เ ด ิ
ม
ใ ห
ม่
ใหม่สําหรับบริษัท (ภายในเป็นผู้
ใช้)
1 2
รับทําโปรเจค.net
ใหม่สําหรับผู้ซื้อ / ผู้ใช้ 3 4
ใหม่สําหรับตลาดท้องถิ่น จังหวัด
หรือระดับชาติ
5 6
ใหม่สําหรับตลาดนานาชาติ 7 8

คุณค่าของนวัตกรรม (Value of Innovation)

 คุณค่าทั้งหมดของนวัตกรรมถูกวัดโดยผลกระทบด้านบวกและ
ด้านลบของสิ่งที่ได้รับออกมาหรือผลลัพธ์ที่ให้เชิงพาณิชย์และสังคม
สําหรับผู้บริโภคดังนั้นผลกระทบที่ได้ออกมามีช่วงตั้งแต่เชิงบวกถึง
เชิงลบซึ่งผลกระทบเชิงบวกจะช่วยประชาชนและปรับปรุงสังคมใน
ทางตรงกันข้างผลกระทบเชิงลบหรือนวัตกรรมที่ให้โทษจะสร้าง
ปัญหาและค่าใช่จ่ายต่อประชาชนและองค์กรการพิจารณาผลกระทบ
ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และผู้ซึ่งทําการพิจารณาโดยปกติแต่ละเฉพาะ
บุคคลในแต่ละพื้นที่จะทําการตัดสินใจบนคุณค่าของพวกเขาเองแต่
คุณค่าโดยรวมคือผลรวมของคุณค่าสาหรับทุกคนที่กระถูกกระทบ
ทุกๆสถานที่ดังนั้นคุณค่านวัตกรรมสามารถวัดในด้านการเงิน (กําไร/
ขาดทุน) จํานวนเป้าหมาย (สร้าง/ทําลาย) หรือความสุขหรือความ
ทุกข์ของบุคคลที่ได้รับผลกระทบ
นวัตกรรม ผลกระทบเชิง
บวกถึงลบ
ตัวอย่างด้าน
ผลิตภัณฑ์
ตัวอย่างด้าน
บริการ
การพัฒนา
ทางการแพทย์
สุขภาพการ
ดํารงชีวิตที่ดี
และยาวนานขึ้น
เครื่องกระตุ้น
หัวใจ
การภาพบําบัด
การศึกษาและ
การอบรม
รับความรู้และ
ทักษะใหม่ๆ
ทีวีดีวีดี การสอนการก
ระจายเสียง
รับทําโปรเจค.net
ผลประโยชน์
และ
ความพึงพอใจ
ของลูกค้า
สะดวกสบาย
สนุกสนานรู้สึก
ดี
โทรศัพท์เรือ
เหาะ
บาร์บีคิว
การวางแผน
การลงทุน
ประกันชีวิต
ความบันเทิง สนุกสนานไม่
เครียด
วีดีโอเกมส์ ครูฝึกสอนด้าน
กีฬา
การเพิ่มผลผลิต
ในอุตสาหกรรม
ผลผลิตสูงขึ้น
หรือใช้วัตถุดิบ
น้อยลง
การปรับปรุง
อุตสาหกรรม
หล่อลื่นยาน
ยนต์
การรับทราบถึง
ข้อมูลที่แท้จริง
อยู่อย่างต่อ
เนื่อง
การเพิ่มผลผลิต
ด้านบุคลากร
ผลผลิตสูงขึ้น
หรือใช้วัตถุดิบ
น้อยลง
บุคคลากรด้าน
คอมพิวเตอร์
การค้นหาทาง
อินเตอร์เน็ต
ก า ร ส ร ้ า ง
นวัตกรรมตาม
กระแสนิยมและ
คุณค่า
การนําเข้า
สําหรับกิจกรรม
สนับสนุนที่
เกี่ยวข้อง
โทรศัพท์เครื่อง
มือนาทางวิทยุ
คอมพิวเตอร์
ซอฟแวร์
การค้นหาทาง
Google
อันตรายหรือ
การทําลาย
ทรัพย์สิน
การสูญเสีย
ทางการเงิน
การออกแบบ
จุดบกพร่องหรือ
ซอฟแวร์ไวรัส
วัสดุในการ
สร้างยาพิษ
บาดเจ็บหรือ
ตายของสัตว์
และปศุสัตว์
การเจ็บปวด
และทรมาน
ยาฆ่าแมลง การทําลายสิ่ง
แวดล้อม
รับทําโปรเจค.net
บาดเจ็บหรือ
ตายของมนุษย์
การเจ็บปวด
และทรมาน
ปืนยาพิษ การละเว้น
กฎหมายความ
ปลอดภัยทาง
รถยนต์

 ดัชนีคุณค่านวัตกรรม (Innovation Value Index)

 ดัชนีคุณค่านวัตกรรมคือองค์ประกอบของนวัตกรรมที่
สามารถรวมในรูปแบบระดับสูงของผลลัพธ์และการนําเข้ารากของ
นวัตกรรมคือบุคคลผู้ซึ่งมีแนวคิดในการแก้ปัญหาต่างๆโครงการที่
วางแผนในการพัฒนาในรูปแบบของผลิตภัณฑ์บริการกระบวนการ
ธุรกิจหรือโครงสร้างองค์กรผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นโครงการเชิง
พาณิชย์ที่เป็นรูปธรรมด้วยการปฏิบัติการตามแผนงานโครงการ
คุณค่านวัตกรรม

 =
 ผลลัพธ์
 
 =
 ปัญหา x คํา
ตอบ x การดําเนินการ

 
 
 
 การนําเข้า

 เงินลงทุน x แรงงาน
x เวลา

 ปัญหา (Problem) คือขนาดของปัญหา (ประชาชนองค์กร
เงิน) ลําดับความสําคัญ (สําคัญด่วน)

 คําตอบ (Solution) คือสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ความเชี่ยวชาญ
(เทคโนโลยีประเภทการพัฒนาต้นแหล่งคุณภาพ)

 การดําเนินการ (Implement) คือทรัพย์สินทางปัญหา
(ลิขสิทธิ์สิทธิบัตรการออกแบบอุตสาหกรรมเครื่องหมายการค้า)
ขอบเขตตลาดและการขาย (ประเทศส่งออก) องค์ประกอบความ
สําเร็จ (อุปสรรคโอกาส)

 เงินลงทุน (Capital) คือแหล่งที่มาและจํานวน
รับทําโปรเจค.net
แรงงาน (Labor) คือทีมงาน (จํานวนประเภทสถานที่) หุ้น
ส่วน

 เวลา (Time) คือสถานะโครงการและระยะเวลาของ
โครงการ


 นวัตกรรมเพื่อ การจัดการ

 ในโลกเศรษฐกิจปัจจุบัน ที่เรียกกันชินปากว่า โลกแห่ง
การค้าเสรี นั้น ต้องเผชิญกับข่าว ภาวะเศรษฐกิจถดถอยของ
โลกเสรีอันบิดๆ เบี้ยวๆ นี้ทุกวัน ไม่รวมถึงภัยที่คาดไม่ถึงจาก
ไวรัสใหม่ๆ ที่นอกจากกระทบโดยตรงกับประชาชนแล้ว ยัง
กระทบกับภาคเศรษฐกิจแบบตรงๆ ด้วย เช่นภาคการท่อง
เที่ยว เป็นต้น ซึ่งภาวะถดถอยนี้ ก็คงกระทบกับ ลูกค้า และ
ธุรกิจ ของท่านอย่างแน่นอนไม่ทางตรง ก็ทางอ้อม และ ยังมี
พนักงาน ของท่าน หรือถ้าท่านเป็นพนักงานเอง ก็คงจะต้อง
ปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวัง มากยิ่งขึ้น ในการวางแผนและ
ดําเนินกิจกรรม ทางธุรกิจต่างๆ

 ปัจจุบัน มีแนวคิด หลายแนวคิด ที่เสนอทางออก สําหรับ
อนาคต ซึ่ง ได้ พูดถึง การจัดการ
 
 แนวคิดแรก คือ จากบทความของบริษัทที่ปรึกษาทางการ
เงิน “ไพรซ์ วอเตอร์เฮาร์ คูเปอร์ส” ได้แนะนํา 10 วิธีการ
บริหารในช่วงเศรษฐกิจขาลงให้กับภาคธุรกิจ ซึ่ง สองในหลาย
มาตรการนั้น น่าสนใจ ที่เดียว ที่น่าจะนํามาพิจารณาประกอบ
แผนการดําเนินงาน ซึ่ง สองข้อนั้นคือ
·       การบริหารจัดการกับต้นทุน 

 
 ให้ความสําคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน
ลดความซับซ้อนที่ไม่จําเป็น
·  บริษัทได้ขจัดความสิ้นเปลืองออกไปแล้วหรือยัง
·   การดําเนินธุรกิจนั้นเหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าแล้วหรือ
ไม่
รับทําโปรเจค.net
·   คุณสามารถใช้วิธีการจัดหาทรัพยากรที่ดีขึ้นได้หรือ
ไม่
และ
·       การบริหารจัดการข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ

 ความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้ในการบริหารมีความ
สําคัญมากกว่าที่เคยเป็น การกําหนด KPI ที่ชัดเจนสามารถ วัด
ความมีประสิทธิผลของการดําเนินที่เพิ่มมูลค่าให้แก่ลูกค้าและ
กิจการได้ การตัดสินใจต้องอยู่บนพื้นฐาน
 ของข้อเท็จจริงและ
ทันต่อเวลา
·   ส่วนใดของธุรกิจที่ควรได้รับการติดตามอย่างใกล้ชิด
·   คุณมีความมั่นใจในข้อมูลที่ได้รับมากน้อยเพียงใด
·    ธุรกิจของคุณมุ่งความสนใจไปยังการบริหารจัดการ
เงินสดหรือไม่
·  รูปแบบของรายงานที่ใช้ในกิจการได้สะท้อนภาพที่แท้
จริงของธุรกิจและสภาวะแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ และ
ข้อมูลข่าวสารดังกล่าวยังคงสมเหตุสมผลอยู่หรือไม่


 
 ซึ่งสองข้อที่นํามานี้ก็เป็นการ วางแผนแบบ
Divergent คือการคิดแบบนอกกรอบ โดยเลิก คิดแบบ การลด
ค่าใช้จ่าย โดยด้านเดียว ซึ่งมีผลอย่างมาก ต่อ ขวัญกําลังใจของ
พนักงาน ซึ่งอาจจะทําให้ ผลิตภาพ และการเพิ่มผลผลิต
(Productivity)ลดต่ํา ลงไปอีก

 
 ส่วนแนวคิด ข้อที่สอง ซึ่งจะเป็นเนื้อหาหลัก ของ
บทความนี้ คือ แนวคิดนวัตกรรมเพื่อ การจัดการเพื่อ การเติบโต
ที่ยั่งยืนในอนาคต
Key Performance Index (KPI)

 หากย้อนไปในวิธีการบริหารแบบดั้งเดิมท่านยังพอจําได้หรือ
ไม่ว่าการบริหาร (Management) องค์กรนั้นต้องประกอบไปด้วย
การวางแผน (Planning), การจัดการ (Organization), การนํา
รับทําโปรเจค.net
องค์กร (Leading) และการควบคุม (Controlling) ซึ่งการ
ควบคุมนี้เองที่มักจะทําให้ผู้บริหารในอดีตทั้งหลายเผชิญหน้ากับ
ปัญหามากมายไม่ว่าจะเนื่องจากปัจจัยมนุษย์ (Human Factor)
ที่ควบคุมยากยิ่ง, ความไม่ชัดเจนของสิ่งที่ควบคุม, ความที่ไม่
สามารถบอกถึงผลการควบคุมอย่างแน่ชัดฯลฯ
ในขณะที่ปัจจุบันการควบคุม (Controlling) จะถูกปรับ
บทบาทไปสู่การสนับสนุนให้การแนะนําปรึกษาเพื่อผลักดันจาก
ภายในให้บุคลากรในองค์กรคิดเองทําเองคิดได้ทําเป็นอย่าง
เหมาะสมจนบรรลุผลสําเร็จตามบทบาทของเขาเหล่านั้นแต่ไม่ว่า
จะเป็นการบริหารแบบเก่าหรือแบบใหม่ก็ล้วนแต่จะต้องมีกลไก
เพื่อให้สามารถติดตามความก้าวหน้าความสําเร็จพัฒนาการของ
กระบวนการและผลลัพธ์ที่สู้อุตสาหะวางแผนลงทุนลงแรงไปนั้น
ดังนั้นจึงมีการพัฒนาเครื่องมือที่ช่วยในการวัดประเมินและ
พัฒนากระบวนการและผลลัพธ์ของการดําเนินการทั้งหลายภายใน
องค์กรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการดําเนินการอันเกี่ยวเนื่องและส่งผล
ต่อกลยุทธ์และบรรลุนโยบายวิสัยทัศน์ขององค์กรเครื่องมือนั้นคือ
ดัชนีชี้วัดสมรรถนะหลัก (Key Performance Index: KPI)

 KPI วัดเพื่ออะไร?
การวัดและประเมินด้วย KPI นั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อชัดเจนใน
สถานะของตนเอง : รู้จักตนเองในปัจจุบันเกิดแรงกระตุ้นในการ
พัฒนาตนเอง : รู้จักพัฒนาตนเองผลักดันการปฏิบัติเพื่อบรรลุผล :
รู้ผลได้ของสิ่งที่ทํา(วัดในสิ่งที่ทํา - ทําในสิ่งที่วัด) ด้วยเหตุผลการ
วัดเช่นนี้จึงมิใช่เรื่องแปลกที่การวัดด้วย KPI นี้มักจะเป็นการวัดที่
เป็นผลจากกิจกรรมเพื่อสนองกลยุทธ์ (Strategic Operation)
มากกว่ากิจกรรมเพื่องานประจํา (Normal peration) หรือถูกใช้
เป็นเครื่องมือที่ผนวกเข้ากับกลไกการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic
Planning), การแปรนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (Policy
Deployment) หรือแม้แต่ Balanced Scorecard (BSC) ที่บัดนี้
KPI ดูจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือเหล่านั้นไปแล้ว
รับทําโปรเจค.net
KPI ควรวัดอะไร?

 เห็นชัดว่าหากไม่ได้มีระบบการวัดและประเมินที่ดี "ไม่ว่าจะมีการ
ดําเนินการหรือไม่การดําเนินการให้ผลดีเพียงไรผลร้ายแค่ไหน
กระบวนการไหนล้มเหลวหรือประสบความสําเร็จมากหรือน้อยใช้
ทรัพยากรไปเท่าไรคุ้มค่าหรือไม่ฯ" ก็ดูเหมือนจะไม่สามารถตอบและ
พิสูจน์ได้อย่างชัดเจนเลยเช่นนี้แล้วท่านทั้งหลายคงพอจินตนาการออก
ว่าองค์กรเช่นนี้เป็นองค์กรที่ล้มเหลวไม่ช้าต้องล้มหายตายจากไป
แน่นอน

 ถ้าท่านเห็นความสําคัญและเหตุผลที่ต้องวัดแล้วคงจะเริ่มสงสัย
ใช่หรือไม่ว่า"แล้วถ้าจะวัดจะวัดอะไรด้วยอะไร?" ดังที่เราสนใจกันว่า
KPI นั้นน่าจะถูกนํามาใช้เพื่อวัดโดยควรจะวัดตามหลักง่ายๆคือ

 "วัดแต่สิ่งสําคัญวัดแล้วชัดวัดแล้วช่วย (ตัดสินใจ)"
โดยสิ่งที่จะถูกวัดมักเป็นกระบวนการ (Process), ผลลัพธ์
(Output), ผลได้ (Outcome) ของสิ่งที่เกิดจากการวางแผนกลยุทธ์
ดังรูป
รับทําโปรเจค.net
จากรูปจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า KPI นั้นจะเข้าไปวัดผลและ
กระบวนการของสิ่งทั้งหลายจากการแปรนโยบายที่เกิดขึ้นและในหลาย
ครั้งอาจเข้าไปวัดถึงกระบวนการหลัก (คือกระบวนการเพื่อให้ได้
ผลลัพธ์ขององค์กร) และกระบวนการสนับสนุน (คือกระบวนการที่ไม่ได้
ทําให้เกิดผลลัพธ์แต่รองรับสนับสนุนกระบวนการหลัก)

 KPI สามารถวัดในลักษณะใดได้บ้าง

 เกณฑ์ข้อเสนอการพิจารณาลักษณะ KPI

 ด้านการเงิน- ไม่เกี่ยวกับการเงิน (Financial / Non-
Financial)

 ด้านระดับ/ ประเภทกิจกรรม: กิจกรรมเพื่อการพัฒนา-งาน
ประจํา (Strategic-/ Normal -Operation)

 ด้านหน้าที่ : ติดตาม-ผลักดัน-ตรวจสอบ (Monitoring: Lag-
Drive: lead)

 ด้านระบบ : ปัจจัยนําเข้า-กระบวนการ-ผลลัพธ์ (Input /
Process / Output)

 ด้านเกณฑ์เวลา: ระยะสั้น-ระยะยาว (Short-/ Long-Terms)
หรือระยะเวลาที่ใช้ (Timing)

 ด้านคุณภาพการดําเนินการ : ประสิทธิภาพ-ประสิทธิผล-
ผลิตผล (Efficiency / Effectiveness /Productivity)

 ด้านมุมมอง: เชิงบวก-ลบ (Positive / Negative Viewpoint)

 ด้านคุณลักษณะ: เชิงคุณภาพ-ปริมาณ (Quality / Quantity)
รับทําโปรเจค.net
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวิจัย

 การศึกษาการเกิดนวัตกรรมขององค์กรซึ่งในที่นี้ได้นําข้อมูล
ของบริษัทที่มีการควบรวมกิจการ (Merger & Acquisition:
M&As)มาเป็นกรณีศึกษา โดยเป็นการวิจัยเชิงสํารวจ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลประโยชน์ทางด้านนวัตกรรมขององค์กร
ทั้งทางด้านนวัตกรรมของสินค้า หรือนวัตกรรมด้านการบริการ
ภายหลังเกิดการควบรวมกิจการ(Mergers & Acquisitions :
M&A)ซึ่งการควบรวมกิจการมีประโยชน์ด้าน การเปิดการค้าเสรี
ระหว่างประเทศประหยัดต่อขนาด (Scale & Scope
advantage)เป็นการเพิ่มผลิตผลและมีการขยายตลาดการแลก
เปลี่ยนทรัพยากร และความชํานาญควบรวมศักยภาพการผลิต
จํากัดการแข่งขันในอุตสาหกรรม และเพื่อการขยายธุรกิจใหม่
โดยมีรายละเอียดในการดําเนินการศึกษา ดังต่อไปนี้
รับทําโปรเจค.net
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม
บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม

More Related Content

More from rubtumproject.com

DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์rubtumproject.com
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์rubtumproject.com
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยวrubtumproject.com
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr rubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Crubtumproject.com
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าrubtumproject.com
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งrubtumproject.com
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1rubtumproject.com
 
บทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationบทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationrubtumproject.com
 
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netคู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netrubtumproject.com
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramrubtumproject.com
 
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือการคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือrubtumproject.com
 
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจคแนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจคrubtumproject.com
 

More from rubtumproject.com (20)

DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
DFD ระบบจองรีสอร์ทออนไลน์
 
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งานระบบการจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยววิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
วิทยานิพนธ์บทที่ 4 พัฒนาการท่องเที่ยว
 
บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr บทที่ 3 ระบบ android ocr
บทที่ 3 ระบบ android ocr
 
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรมตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
ตัวอย่างบทที่่ 1-2 โปรแกรม
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา Cตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
ตัวอย่างงานเกมส์เขียนด้วยภาษา C
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้าบัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
บัญชีกำไรขาดทุนร้านซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้งตัวอย่างบทที่ 3  ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
ตัวอย่างบทที่ 3 ระบบรีเซลเลอร์เว็บโฮสติ้ง
 
ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1ตัวอย่าง DFD level 1
ตัวอย่าง DFD level 1
 
บทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplicationบทที่ 2 Mobile Aplication
บทที่ 2 Mobile Aplication
 
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.netคู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
คู่มือการทำงานร่วมกัน รับทำโปรเจค.net
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
 
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือการคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
 
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจคแนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
แนะนำการคิดหัวข้อโปรเจค
 

บททีี่ 1-5 การควบรวมกันขององค์กรนวัตกรรม

  • 1. บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ด้วยสภาพเศรษฐกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งประเทศไทยกําลังก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ทําให้เกิดการแข่งขันทางเศรษฐกิจที่ทวี ความรุนแรงมากยิ่งขึ้นซึ่งเป็นการท้าทายต่อธุรกิจของไทย ที่ ต้องเตรียมตัวเผชิญ และเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจ ของตนเอง ส่งผลให้บริษัทต้องคํานึงถึงสิ่งกระทบทั้งหลายเหล่านี้ เพิ่มมากขึ้น เพื่อความอยู่รอดขององค์กร เพื่อการเติบโตแบบก้าว กระโดด เพื่อสร้างกําลังผนึกของกิจการ และ เพื่อให้สามารถ แข่งขันได้บริษัทจึงต้องมีการวางแผนการดําเนินการรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพื่อให้เกิดความผิดพลาดและลดความเสี่ยง ต่อองค์กรในการดําเนินธุรกิจให้น้อยที่สุด ท่ามกลางสภาพการ แข่งขันที่ทวีความรุนแรงส่งผลให้องค์กรต้องคิดค้นเพื่อเพิ่ม ศักยภาพขีดความสามารถในการแข่งขันให้สูงขึ้น การสรรหา นวัตกรรมใหม่ๆ ทางธุรกิจเป็นช่องทางในการเพิ่มศักยภาพของ องค์กร นวัตกรรมจึงเป็นเครื่องมือใหม่ทางยุทธศาตร์การแข่งขัน ทางธุรกิจ เพื่อสร้างความแตกต่าง และความได้เปรียบทางการค้า ซึ่งนวัตกรรม ไม่จําเป็นต้องสื่อถึงการนําเทคโนโลยีที่ล้ําสมัยออกสู่ ตลาดเพียงอย่างเดียว แต่รวมไปถึงการก่อให้เกิดประโยชน์อย่าง คุ้มค่า การควบรวมกิจการและการเข้าซื้อกิจการ (Mergers & Acquisition strategy: M&As)ในปัจจุบัน พบว่า จํานวนและขนาดของการ ควบรวมกิจการมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว (Hitt, Harrison, and Ireland, 2001) ตั้งแต่ทศวรรษ 1980sที่มูลค่ารวมของการควบรวมกิจการอยู่ที่ 1.3ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ และมีมูลค่าเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลใน ทศวรรษที่ 1990sที่มูลค่ามากกว่า 11ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ รับทําโปรเจค.net
  • 2. เหตุผลสําคัญที่บริษัทต่างๆมีความจําเป็นในการควบรวมกิจการ คือ การสร้างอํานาจในตลาด การสร้างความได้เปรียบในการเข้า ถึงเทคโนโลยีหรือในทรัพยากรที่ตัวเองไม่มีหรือมีไม่เพียงพอ การ เพิ่มอํานาจการต่อรองกับลูกค้าหรือคู่ค้า (supplier)การเพิ่มช่อง ทางในการจําหน่าย รวมทั้งยังเป็นการลดความเสี่ยงในเรื่องของ ต้นทุนการผลิตสําหรับสินค้าหรือบริการใหม่ๆที่ตนเองอาจจะไม่มี ความสามารถเพียงพอถ้าต้องผลิตออกมาด้วยตนเอง นอกจากนี้ แล้ว การควบรวมกิจการยังช่วยจํากัดความสามารถของคู่แข่งและ ยังกีดกันคู่แข่งให้ออกจากตลาดได้ด้วย รวมถึงยังสามารถช่วยลด ต้นทุนของการดําเนินงานลงได้ เพราะการรวมตัวกัน จะทําให้ บริษัทมีขนาดใหญ่ขึ้นและการเพิ่มขึ้นของขนาดนี้เองจะเป็นการ ช่วยในเรื่องของการประหยัดจากขนาดนั่นเอง (Scale & Scope advantage)(B.Elango 2006)สําหรับบริษัทที่ถูกควบรวมกิจการนั้น ยังอาจ ได้ประโยชน์ในเรื่องของสถานะทางการเงินด้วย เพราะบริษัทจาก ภายนอกที่เข้ามารวมกิจการด้วยนั้น มักจะนําเงินลงทุนมาให้ด้วย นั้นหมายถึง บริษัทจะมีความเข้มแข็งทางการเงินเพิ่มมากขึ้น แม้ว่าการควบรวมกิจการนั้น จะก่อให้เกิดประโยชน์อย่าง มากมายตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น แต่ก็ยังปัจจัยสําคัญส่วนหนึ่งที่ ต้องนํามาคํานึง คือ ภายหลังจากการควบรวมกิจการแล้ว อาจมี ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการภายในองค์กรระหว่างบริษัทที่เข้ามา รวมกับบริษัทที่ถูกควบรวมกิจการ อันเนื่องมาจากการที่มี วัฒนธรรมองค์กรที่แตกต่างกัน หรือ ความเสี่ยงหรือความผิด พลาดที่เกิดจากการรวมกิจการไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ตั้งแต่ต้น ซึ่งอาจส่งผลต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทในอนาคตได้ การควบรวมกิจการ เป็นธุรกรรมที่มีผลกระทบกับกลุ่มผู้ มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่ม ทั้งฝ่ายที่เป็นผู้ควบรวมและผู้ถูกควบ รวม ดังนั้นจึงจําเป็นที่ต้องทําการศึกษาอย่างละเอียดรอบคอบ ก่อนที่จะมีการควบรวมกิจการ ซึ่งต้องมีหลักในการพิจารณา คือ พิจารณาเหตุผลหรือความจําเป็น กําหนดวัตถุประสงค์ที่สอดคล้อง กับกลยุทธ์เป้าหมายธุรกิจ ทําการวางแผนการควบรวมกิจการ รับทําโปรเจค.net
  • 3. โดยการเลือกรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการตรวจสอบ สถานะกิจการเป้าหมายทางด้านกฎหมาย การเงิน ภาษี ภาระ ผูกพันที่นอกเหนือจากงบการเงิน และที่สําคัญคือการทําเอกสาร ทางกฎหมายที่สําคัญเพื่อทําข้อตกลงเบื้องต้น และการกําหนด หลักเกณฑ์ต่างๆ ในหัวข้อของงานวิจัยนี้ มุ่งเน้นเพียงแค่ผลที่เกิดทาง นวัตกรรมของบริษัทที่ถูกควบรวมกิจการที่อยู่ภายในประเทศไทย เท่านั้น โดยอาศัยเครื่องมือทางวัดผลของนวัตกรรม และไม่ได้นํา เอาปัจจัยอื่นๆที่อาจส่งผลทําให้ผลการประกอบการของธุรกิจนั้นๆ มีกําไรหรือขาดทุนมาใช้โดยมีการสมมติฐานว่า ภายหลังจากการ รวมกิจการแล้วนั้น จะทําให้บริษัทที่ถูกควบกิจการมีความ แข็งแกร่งทางด้านการเงินเพิ่มมากขึ้นและยังมีผลต่อการเกิด นวัตกรรมหลังจากการควบรวมกิจการหรือไม่ เนื่องจากการเกิด นวัตกรรม มีผลโดยตรงต่อภาพรวมและการสร้างโอกาสในการ แข่งขันให้กับองค์กร วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อศึกษากระบวนการและแนวโน้มในการขยายตัวของ ธุรกิจในประเทศไทย ในแต่ละภาคส่วนของธุรกิจหรืออุตสาหกรรม และศึกษาการเกิดนวัตกรรมหลังจากมีการควบรวมกิจการ เนื่องจากในปัจจุบันนี้นวัตกรรมมีส่วนสําคัญมากในการดําเนินทาง ธุรกิจ และการควบรวมกิจการก็ถือเป็นยุทธศาสตร์หลักของการ ขยายกิจการซึ่งในที่นี้ซึ่งได้นํากรณีของการควบรวมกิจการ(Merger & Acquisition: M&As)มาเพื่อศึกษาแนวทาง ซึ่งจากการค้นคว้ามุ่งที่จะ ศึกษาถึงผลประโยชน์ทางการเงิน และการเกิดนวัตกรรมหลังจาก ควบรวมกิจการ เนื่องจากในปัจจุบันการควบรวมกิจการถือเป็น กลยุทธ์ หรือทางเลือกหนึ่งในการเปิดโอกาสทางการค้าที่โดดเด่น เพื่อความเจริญเติบโตทางด้านธุรกิจ โดยเฉพาะในประเทศไทยได้ มีอัตราการขยายตัวในการควบรวมกิจการเพิ่มขึ้น หลังจากมีการ รับทําโปรเจค.net
  • 4. เปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศ ในงานศึกษาค้นคว้านี้ ต้องการที่จะให้เห็นผลประโยชน์ของการเกิดนวัตกรรมขององค์กร หลังจากการขยายกิจการโดยวิธีควบรวมกิจการ (Mergers& Acquisitions : M&A) • เป็นการเปิดการค้าเสรีระหว่างประเทศ • ประหยัดต่อขนาด (Scale & Scope advantage) • เป็นการเพิ่มผลิตผลและมีการขยายตลาด • การแลกเปลี่ยนทรัพยากร และความชํานาญ • ควบรวมศักยภาพการผลิต • จํากัดการแข่งขันในอุตสาหกรรม • เพื่อการขยายธุรกิจใหม่ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทําให้ทราบถึงแนวโน้มของการขยายตัวทางธุรกิจใน ประเทศไทยในแต่ละภาคส่วนของธุรกิจหรืออุตสาหกรรม 2. ทําให้ทราบถึงการเกิดนวัตกรรมหลังจากมีการควบ รวมกิจการ 3. เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจและขยายการ ลงทุนในประเทศไทยโดยใช้กลยุทธ์การควบรวมกิจการเพื่อพัฒนา นวัตกรรม 4. ความเปลี่ยนแปลงทางด้านนวัตกรรมองค์กรจากการ ควบรวมกิจการ รับทําโปรเจค.net
  • 5. กรอบแนวคิดในการวิจัย ศึกษาถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับบริษัทที่ถูกควบรวม หรือถูกซื้อกิจการที่อยู่ใน ประเทศไทย และทําการเปรียบเทียบข้อมูลทางด้าน นวัตกรรมขององค์กรก่อนและหลังจากการควบรวมกิจการ ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ข้อจํากัดของการทําวิจัย การรวมกิจการและการครอบงํากิจการเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ เป็นข้อตกลงระหว่างบริษัทเป้าหมายหรือบริษัทที่ถูกครอบงํา กิจการกับบริษัทผู้ซื้อหรือบริษัทที่ครอบงํากิจการโดยมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อที่จะสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจและสร้าง ความเจริญเติบโตของธุรกิจดังนั้นในการพิจารณาผลการดําเนิน งานจะประเมินโดยใช้ Key Performance Index(KPI) การวัดผลดัชนีชี้วัดทางด้านนวัตกรรมหากจะเปรียบ เทียบขีดความสามารถด้านนวัตกรรมของประเทศไทยกับต่าง ประเทศโดยตรงยังพบ ว่าเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยาก เนื่องจากมี หลักเกณฑ์การวัดที่แตกต่างกันยิ่งกว่านั้นดัชนีชี้วัดถึงความ สามารถทางด้านนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเฉพาะด้านที่ยังขาด ความชัดเจน บริษัทที่มีการควบรวม กิจการหรือ ถูกซื้อกิจการ การเกิดของนวัตกรรม รับทําโปรเจค.net
  • 6. นอกจากนี้แล้ว การเกิดนวัตกรรมหลังจากการควบรวม กิจการ ซึ่งในแต่ละองค์กรจะมีกลวิธีและระยะเวลาที่ใช้ในการ พัฒนาหรือสร้างสรรค์เพื่อก่อให้เกิดนวัตกรรมอาจมีความแตกต่าง กัน ซึ่งหากเราเปรียบเทียบหรือประเมินผลในระยะสั้นอาจทําให้มี ผลกระทบต่อการตัดสินใจได้ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การรวมกิจการ การรวมกิจการ คือ การนํากิจการที่แยกต่างหากจากกัน มารวมเป็นหน่วยงานทางเศรษฐกิจเดียวกันโดยการที่กิจการหนึ่ง รวมกับอีกกิจการหรือการที่กิจการหนึ่งเข้าควบคุมสินทรัพย์สุทธิ และการดําเนินงานของอีกกิจการหนึ่ง "ลักษณะ" การรวมกิจการ แบ่งได้เป็น 3 แบบ(P.A Gaughan, 2001) 1. เป็นการรวมกิจการแบบแนวนอนจะเป็นการรวม กิจการที่มีลักษณะเหมือนกันเข้าด้วยกันอย่างเช่น บริษัทที่ปรึกษา ทางการเงินสองแห่งมารวมกัน ธนาคารสองแห่งมารวมกันเช่น ธนาคารนครหลวงไทยรวมกิจการกับธนาคารธนชาติหรือเมื่อก่อน นี้ที่ IBC กับUTVมารวมกันเป็น UBCเป็นต้น 2. การรวมกิจการที่เรียกว่าแบบแนวตั้งจะเป็นการรวม กิจการหนึ่งกับกิจการหนึ่งที่สินค้าหรือการบริหารมีความเกี่ยวข้อง กันเช่น การรวมกันของกิจการผลิตน้ําดื่มกับกิจการผลิตขวดอย่าง นี้เป็นต้น 3. การรวมกิจการแบบผสมเป็นการรวมกิจการแบบข้าม หน่วยธุรกิจ คือ การรวมกิจการแบบนี้ไม่ได้สนใจว่าเป็นธุรกิจ เดียวกันหรือไม่ เช่นการรวมกันของธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้ากับธุรกิจ ภาพยนตร์เป็นต้น วิธีการรวมกิจการสามารถทําได้ 4 แบบ คือ รับทําโปรเจค.net
  • 7. 1. การควบกิจการหมายถึง การรวมธุรกิจโดยกิจการ หนึ่ง ซื้อหรือรับโอนสินทรัพย์สุทธิทั้งหมดของอีกกิจการหนึ่งหรือ หลายกิจการ 2. การรวมกิจการหมายถึง การรวมธุรกิจโดยการจัดตั้ง กิจการขึ้นใหม่เพื่อรับโอนสินทรัพย์สุทธิทั้งหมดของกิจการที่ ดําเนินงานอยู่แล้วตั้งแต่ 2 กิจการขึ้นไป 3. การซื้อหุ้นหมายถึงการรวมธุรกิจโดยกิจการหนึ่งซื้อ หุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดหรือบางส่วนของอีกกิจการหนึ่ง 4. การซื้อสินทรัพย์สุทธิหมายถึงการรวมธุรกิจโดย กิจการหนึ่งซื้อสินทรัพย์สุทธิของอีกกิจการหนึ่ง ความสําคัญของการควบรวมกิจการ ความสําคัญต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 1.เป็นกลไกที่มีส่วนทําให้หน่วยธุรกิจมีความเข้มแข็งมากยิ่ง ขึ้นจากความสามารถในการเพิ่มมูลค่าของกิจการ 2. ทําให้การบริหารจัดการองค์กรและการเงินของธุรกิจ สามารถกระทําได้อย่างคุ้มทุนมากขึ้นใช้ทรัพยากรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. เพิ่มอํานาจด้านการตลาดได้มากอันจะทําให้ภาคธุรกิจ ภายในประเทศโดยรวม สามารถเพิ่มศักยภาพการแข่งขันได้ ความสําคัญต่อการพัฒนาตลาดทุน 1. ในกรณีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์การควบ รวมกิจการจะช่วยให้ภาคธุรกิจสามารถมีกิจการที่มีขนาดใหญ่ขึ้น และมูลค่าตามราคาตลาดเพิ่มสูงขึ้นในกรณีของบริษัทนอก ตลาดหลักทรัพย์การควบรวมกิจการจะมีบทบาทต่อการปรับ โครงสร้าง 2. องค์กรและธุรกิจซึ่งจะช่วยให้บริษัทมีความพร้อมที่จะนํา หุ้นของตนมาจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ได้ใน อนาคต รับทําโปรเจค.net
  • 8. 3. ช่วยส่งผลให้ตลาดทุนในประเทศมีมูลค่าตามราคาตลาด (Market Capitalization) โดยรวมและสภาพคล่องเพิ่มขึ้น 4. ส่งผลดีต่อการดึงดูดนักลงทุนจากตลาดต่างประเทศให้ มาลงทุนในตลาดทุนของไทยได้เพิ่มมากขึ้น ความสําคัญต่อกิจการ 1. ส่งผลให้ต้นทุนการดําเนินงานลดลงจากขนาดของกิจการ ที่ใหญ่ขึ้น (Economy of Scale) 2. เพิ่มอํานาจต่อรองด้านการค้าที่สูงขึ้นจากส่วนแบ่งของ ตลาดหลังการควบรวมกิจการที่เพิ่มสูงขึ้น 3. ช่วยให้กิจการขยายตลาดเข้าสู่ธุรกิจใหม่และลดความ เสี่ยงในการประกอบธุรกิจปัจจุบัน (ที่มา: แผนพัฒนาตลาดทุนไทย มาตรการที่ 3: การปฏิรูปกฎหมายสําหรับการพัฒนาตลาดทุน) รูปแบบการควบรวมกิจการ วัตถุประสงค์ของการควบรวมกิจการ สามารถสรุปได้ ดังนี้ วัตถุประส งค์ Horizontal Vertical Conglomerate วัตถุประส งค์ การควบรวมกิจการ ในแนวนอน การควบรวมกิจการใน แนวตั้ง การควบรวมกิจการ ซึ่งไม่มี ความสัมพันธ์กัน ลักษณะ รวมกิจการที่ ประกอบธุรกิจ เหมือนกันหรืออยู่ ใน อุตสาหกรรม เดียวกัน รวมกิจการที่ประกอบ ธุรกิจใน สายธุรกิจเดียวกัน รวมกิจการระหว่าง บริษัทใน ธุรกิจที่ไม่เกี่ยวข้อง กัน โดยสิ้นเชิง รับทําโปรเจค.net
  • 9. ข้อดี  - เกิด Economy of Scale  - ลดคู่แข่งใน ตลาด  - ต้นทุนการผลิตลด ลง (ควบคุมต้นทุนได้ ง่าย)  - ลดความเสี่ยงใน การประกอบ ธุรกิจปัจจุบัน  - ขยายตลาดใน ธุรกิจใหม่ การควบรวมกิจการนั้นสามารถทําได้หลายรูปแบบซึ่ง แต่ละรูปแบบนั้นมีวิธีการ และมีข้อดี/ข้อเสีย แตกต่างกัน ข้อดีการควบรวมกิจการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการสร้างความแข็งแกร่งทาง ธุรกิจ เสริมสร้างรายได้ แบบก้าวกระโดดลดความเสี่ยงทางธุรกิจ สกัดกั้นคู่แข่งขันให้มีน้อยลงเพื่อส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น สร้าง จุดแข็งในการดําเนินการทางธุรกิจเพิ่มโอกาสให้กับบริษัท ได้ ประโยชน์ทางด้านสิทธิทางปัญญา สิทธิบัตร การวิจัยงานต่างๆ  ที่ เราไปรวมกิจการมาลดต้นทุนการผลิต การบริการ ต่อหน่วยเสริม สร้างประสิทธิภาพทางการเงิน นอกจากนั้นการควบรวมกิจการยังถือเป็นการลดความ เสี่ยงของบริษัท ช่วยให้เข้าถึงทรัพยากรทางการเงินและการ บริหารมากขึ้น รวมถึงช่วยให้มีการจัดสรรทรัพยากรที่มี ประสิทธิภาพให้องค์กร   ข้อเสียการควบรวมกิจการ กิจการที่ไปรวมโดยเฉพาะการรวมแบบผสม ที่ธุรกิจไม่มี ความเกี่ยวเนื่องกันอาจจะก่อให้เกิดความไม่ถนัด ไม่มี ประสบการณ์ ทําให้ต้นทุนการผลิต การขาย การบริการสูงกว่าคู่ แข่งขันได้ ไม่สามารถดําเนินกิจการในอนาคตได้และจะทําให้ บริษัทของเราที่จะไปรวมแต่เดิม ที่มีความแข็งแกร่งทางการเงิน อาจจะมีปัญหาได้ อาจเกิดการกระจุกตัวของตลาดของผู้ซื้อและผู้ขาย รวม ถึงการผูกขาดในระยะยาว ทําให้ข้อต่อรองทางการตลาดส่งผล รับทําโปรเจค.net
  • 10. ต่อคู่ค้าและอาจกิ่ให้เกิดปัยหาต่อภาพรวมทางเศรษฐกิจและการ จัดสรรทรัพยากรอาจไม่เหมาะสมเป็นได้ สถิติการควบรวมกิจการ – ทั่วโลก ซึ่งจะเกิดขึ้นมากใน กลุ่มธนาคาร โทรคมนาคม และค้าปลีก หมายเหตุ:ณ 14 กันยายน พ.ศ.2548 ที่มา: Bloomberg สําหรับในประเทศไทยนั้น กระแสการควบรวมกิจการได้ เกิดขึ้นอย่างแพร่ ซึ่งเป็นกิจการของไทยที่รวมตัวกันเอง หรืออาจ เป็นธุรกิจของไทยไปซื้อกิจการต่างประเทศ หลายตัวอย่างประเภท ธุรกิจที่มีการควบรวมกิจการในประเทศไทย - ธุรกิจห้างสรรพสินค้า Central & Robinson - ธุรกิจประกันภัย นวกิจประกันภัย ไทยพาณิชย์ประกัน ภัย และประกันภัยสากล - การควบรวมกิจการระหว่างบริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จํากัด(มหาชน) และบริษัทไทยโอเลฟินส์ จํากัด(มหาชน) ภายใต้ การดูแลของบริษัท ปตท. จํากัด - บริษัท ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ จํากัด (มหาชน)ที่ ประกอบธุรกิจด้านการส่งออกปลาทูน่าและกุ้งด้วยมูลค่ายอดขาย รับทําโปรเจค.net
  • 11. กว่า 60,000 ล้านบาทต่อปีจากเดิมที่อยู่ระดับ 40,000 ล้านบาท ต่อปีโดยส่วนหนึ่งมาจากการต่อยอดธุรกิจด้วยการเข้าไปซื้อบริษัท ชิคเก้นออฟเดอะซีซึ่งมีฐานลูกค้าใหญ่เป็นอันดับ 3 ในตลาด สหรัฐอเมริกา - การควบรวมกิจการของโรงพยาบาล โดยโรงพยาบาล กรุงเทพ (รพ.พญาไท และ รพ.เปาโล - ธุรกิจโรงภาพยนตร์ เมเจอร์และอีจีวี - กลุ่มเทเลนอร์ จากนอร์เวย์ ทุ่งเม็ดเงินกว่า 9 พันล้าน บาท ซื้อหุ้นใหญ่ในดีแทคจากตระกูลเบญจรงค์กุล กราฟแสดงถึงการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ฯ และวัตถุประสงค์ใน การเข้าซื้อบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รับทําโปรเจค.net
  • 12. ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การรวมกิจการและการครอบงํากิจการจะก่อให้เกิดประโยชน์ ได้แก่      1. การที่บริษัทผู้ที่ควบรวมกิจการเข้ามาถ่ายทอด เทคโนโลยีในการบริหารงานที่ดีให้กับบริษัทที่ถูกรวมกิจการ  2. เปลี่ยนแทนผู้บริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพ  3. ต้นทุนของการดําเนินงานลดลงเพราะการรวมตัวกัน ของสองบริษัททําให้ขนาดของกิจการหลังการรวมตัวมีขนาดใหญ่ ขึ้นและการเพิ่มขึ้นของขนาดอาจทําให้ต้นทุนการดําเนินงานของ บริษัทลดลงซึ่งเป็นการส่งเสริมในเรื่องการประหยัดจากขนาด (Scale and scope advantages, B.Elango (2008) 4. การกระจายธุรกรรมของบริษัทดีขึ้นเพราะช่วยให้การ ดําเนินงานของบริษัทมีประสิทธิภาพดีขึ้นเนื่องจากการกระจายตัว ของบริษัทออกไปในรูปธุรกิจประเภทต่างๆ ช่วยให้การเจริญ เติบโตของบริษัทสม่ําเสมอ 5. เป็นผลดีต่อบริษัททางด้านการบริหารการเงินเพราะ ช่วยลดความเสี่ยงจากการดําเนินงาน (B.Elango, Charles A. Barragato and Ariel Markelevich, (2008) รับทําโปรเจค.net
  • 13. 6. ปรับกลยุทธ์ของบริษัทเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและยังเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหาร งาน 7. ลดปัญหากิจการที่มีมูลค่าต่ํากว่าระดับที่ควรจะเป็น Copeland and Weston (1988) ได้กําหนดแรง ผลักดันของการรวมกิจการมี 5 ปัจจัยคือ 1. การรวมกิจการทําให้การดําเนินงานมีประสิทธิภาพ ของกิจการเมื่อบริษัทหนึ่งเข้ารวมกับอีกบริษัทหนึ่งทําให้ ประสิทธิภาพการดําเนินงานของบริษัทผู้ถูกรวมหรือของทั้งสอง บริษัทดีขึ้นเมื่อตลาดทราบว่าประสิทธิภาพการดําเนินงานของ บริษัทจะดีขึ้นหลังการรวมกิจการทําให้ราคาตลาดของหุ้นของ บริษัททั้งสองบริษัทสูงกว่าราคาที่ให้ไว้แต่เดิมการที่ประสิทธิภาพ การดําเนินงานของกิจการดีขึ้นอาจมาจากสาเหตุบริษัทผู้เข้ารวม กิจการได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีในการบริหารที่ดีให้กับบริษัทผู้ถูก รวมหรือการเข้าครอบงํากิจการเพื่อเปลี่ยนผู้บริหารที่ไม่มี ประสิทธิภาพ 2. การรวมกิจการด้วยข่าวสารข้อมูลและการส่งสัญญาณ จากแนวความคิดนี้เกิดจากทุกคนในตลาดไม่สามารถได้รับข้อมูล ข่าวสารที่เท่าเทียมกันเพราะตลาดไม่มีกลไกการทํางานอย่างมี ประสิทธิภาพ (information) 3. การรวมกิจการทําให้เกิดปัญหาของการที่ผู้บริหารไม่ ได้เป็นเจ้าของกิจการ (Agency problem) โดยเกิดจากหลังรวม กิจการผู้บริหารของบริษัทที่ถูกครอบงํากิจการไม่ได้เป็นเจ้าของ กิจการ 4. การรวมกิจการเพื่อเพิ่มอํานาจการต่อรองด้านการค้า (Market power) 5. การรวมกิจการก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านภาษี (Taxes) ซึ่งจากแรงผลักดันดังกล่าวข้างต้นได้ตรงกับผลงานวิจัย ของ Weston, Chung and Hoag (1990) ที่ได้รวบรวมและจัด กลุ่มแรงผลักดันของการรวมกิจการไว้ 7 ปัจจัยประกอบกัน (โดย รับทําโปรเจค.net
  • 14. เพิ่มแรงผลักดันจากผลงานวิจัยของ Copeland and Weston (1988) ที่ศึกษาเกี่ยวกับการรวมกิจการอาจทําให้เกิดการจ่าย เงินสดส่วนเกินคืนให้แก่เจ้าของกิจการและการรวมกิจการทําให้ เกิดกลไกการยักย้ายความมั่งคั่งโดยอ้อมจากเจ้าหนี้หรือลูกค้าไป ให้แก่ผู้ถือหุ้น การขยายตัวทางธุรกิจยุค New Economy โดยขยาย ตัวแบบ “ควบรวมและซื้อกิจการ” (Merger &Acquisition) ได้ กลายเป็นเครื่องมือสําคัญเพื่อหวังมีความแข็งแกร่งในการต่อสู้คู่ แข่งด้วยการสร้างเครือข่ายให้พร้อมสําหรับครอบคลุมตลาดกับ ลูกค้ากับหาทางลดต้นทุนจากขนาดที่ใหญ่กับเครดิตที่ดี ทําให้เป็น ที่น่าเชื่อถือ ขั้นตอนการเติบโตของธุรกิจ โดยทั่วไปจะเดินตาม 4 ขั้น - ขั้นเริ่มต้น ซึ่งเป็นขั้นตอนการบุกเบิกเพื่อพิชิตพรมแดน ใหม่ซึ่งช่องทางธุรกิจยังใหม่และเปิดกว้าง เมื่อทุกอย่างใหม่จึงรุก ง่าย ทําให้โตไวไร้การแข่งขัน กับกําไรงาม ธุรกิจจึงมีการขยายตัว จากการโตไว ทําให้มีการแตกตัวขยายเข้าสู่ธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ กว้างไกลออกไป  - ขั้นเติบโตพร้อมปัญหาขนาด [Scale Stage] คือ การ โตมาได้เรื่อยจนเข้าที่ทําให้ขนาดกลายเป็นปัญหาการแข่งขัน ขยายตัวมานานจะทําให้เหลือธุรกิจรายใหญ่เพียงไม่กี่รายในขั้นนี้ ตลาดจะถึงจุดอิ่มตัว รายใหม่ที่เข้ามาจึงหาลูกค้าได้ไม่มากและ ยากยิ่งขึ้นทําให้ผลงานของรายใหม่ไม่จูงใจนักลงทุน ส่งผลให้ กิจการต่างๆเข้าสู่กระบวนการถูกซื้อหรือจําใจต้องควบรวมกับ ธุรกิจประเภทเดียวกัน  - ขั้นการปรับกระชับควบแน่น  [Focus Stage] คือขั้น ตอนที่ใช้กลยุทธ์เร่งบุกซื้อกิจการเป็นการใหญ่ โดยเฉพาะในธุรกิจ หลักที่สําคัญๆและที่น่าถือไว้พร้อมกับแลกเปลี่ยนธุรกิจระหว่างกัน หรือสลัดทั้งธุรกิจรองหรือที่ตนเองทําเอาดีไม่ได้ออกไป - ขั้นการปรับสมดุลกับพันธมิตรในขั้นนี้ยักษ์ใหญ่ที่ครอง อุตสาหกรรมจะเหลือเพียงไม่กี่รายที่เป็นเจ้าครองส่วนแบ่งตลาด รับทําโปรเจค.net
  • 15. เกือบทั้งหมดโดยสถิติในต่างประเทศอัตราการควบแน่นมีสูงถึง 90% เรียกได้ว่าแทบจะครองทั้งประเทศหรือทั้งตลาดโลกเลยที เดียวก็ว่าได้ ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมทางธุรกิจ นวัตกรรม มีความหมายอย่างกว้างและแคบ การระบุว่าสิ่ง ใดเป็นนวัตกรรมหรือไม่นั้น มีเงื่อนไขขั้นต่ํา คือ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต หรือวิธีการทางการตลาด ตลอดจนกระบวนการ บริหารองค์กรนั้นๆ จะต้องมีความใหม่ต่อองค์กรหรือมีการ ปรับปรุงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาด้วยตนเอง หรือ เป็นการประยุกต์ใช้มาจากองค์กรอื่น คําว่า “นวัตกรรม (innovation)” มาจากรากศัพท์ในภาษา ลาติน คือคําว่า “Nova” ซึ่งแปลว่า ใหม่             เป็นการแสวงหาผลประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และสังคม จากความคิดใหม่ นวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์ คือ การนําแนว ความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูป แบบใหม่ เพื่อทําให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือ "การทําในสิ่ง ที่แตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่างๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และ ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทําให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม” นวัตกรรม (Innovation) คือ รวมไปถึงการทําใหม่ขึ้นอีกครั้ง โดยการปรับปรุงสิ่งเก่าให้ใหม่ขึ้นมาและมีการพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากร หน่วยงาน ตลอดจนองค์การนั้นๆ ซึ่งนวัตกรรมไม่ใช่ การขจัดหรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป  แต่จะเป็นการปรับปรุงเสริม แต่งและพัฒนาเพื่อความอยู่รอดของระบบ ( ที่มา : Morton, 1971) นวัตกรรม (Innovation) คือ เครื่องมือที่สําคัญของผู้ ประกอบการ (entrepreneur)เพื่อเป็นโอกาสที่ใช้แสวงหาผล ประโยชน์ จากการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในรูปแบบของธุรกิจและ รับทําโปรเจค.net
  • 16. การบริการ ที่แตกต่างจากคู่แข่ง โดยอยู่ในรูปแบบของดําเนิน งาน ความสามารถในการเรียนรู้ และความสามารถในการปฏิบัติ (ที่มา : Peter Drucker (1985) Innovation and entrepreneurship) นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง เทคโนโลยี การ ออกแบบ การผลิต การบริหารจัดการ และการดําเนินธุรกิจ ที่ นําไปสู่การดําเนินกิจกรรมทางการตลาด เพื่อนําเสนอสินค้า/ บริการใหม่ หรือสินค้า/บริการที่ได้รับการพัฒนา (ที่มา : Chris Freeman, 1992) นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง ความคิด การกระทํา หรือวัตถุใหม่ๆ ซึ่งถูกรับรู้ว่าเป็นสิ่งใหม่ๆ ด้วยตัวบุคคลแต่ละคน หรือหน่วยอื่นๆ ของการยอมรับในสังคม (ที่มา : Everette M. Rogers, 1983) ความหมายของนวัตกรรมทางธุรกิจ “นวัตกรรมทางธุรกิจ” หมายถึงการทําสิ่งต่างๆด้วยวิธีใหม่ๆ การสร้างสรรค์การพัฒนาต่อยอดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด การจัดการการผลิตกระบวนการระบบโครงสร้างองค์กรรูปแบบ ธุรกิจเพื่อที่จะสร้างมูลค่าใหม่ๆสาหรับลูกค้าและผลตอบแทน ทางการเงินให้กับธุรกิจโดยเป็นที่ยอมรับต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ไม่ขัดต่อหลักศีลธรรมจรรยาบรรณขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง โดยนวัตกรรมแบ่งจําแนกตามประเภทกว้างๆได้ 3 แบบ 1. ศิลป์ (Artistic) เช่นการวาดภาพการเต้นรําการแสดง 2. ธุรกิจ (Business) เช่นเงินหุ้นสินค้าแลกเปลี่ยนสินค้า การเจรจาองค์กร 3. สังคม (Social) เช่นรัฐบาลแบบระบอบประชาธิปไตย ทรัพย์สินส่วนตัวศาสนาการศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีและ วัฒนธรรมวัตกรรมทางธุรกิจ ประเภทของนวัตกรรมทางธุรกิจ รับทําโปรเจค.net
  • 17. ในวงการนวัตกรรม มีการแบ่งประเภทของนวัตกรรมออกมา เป็น 6 ประเภทใหญ่ๆ คือ (Type of Innovations) (Oslo Manual, 2004) 1.            Product Innovation(นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ )คือการ ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นในเชิงพาณิชย์ เพื่อให้ดีขึ้นหรือเป็นสิ่งใหม่ในตลาด ซึ่งนวัตกรรมนี้อาจจะ เป็นสิ่งใหม่ต่อโลก, ต่อประเทศหรือแม้แต่ต่อองค์กร นวัตกรรมผลิตภัณฑ์นั้นยังสามารถแบ่งออกเป็นผลิตภัณฑ์ที่ จับต้องได้(tangible product) และผลิตภัณฑ์ที่จับต้องไม่ ได้ (intangible product) 2.       Service Innovation(นวัตกรรมด้านบริการ) เป็น (Intangible product) หรือ การบริการ (services) โดย ผลิตภัณฑ์นั้นจะอยู่ในรูปแบบของการให้บริการ 3.            Idea Innovation(นวัตกรรมด้านความคิด) การใช้แนว ความคิดใหม่ๆ เพื่อนํามาปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือ บริการ 4.            Process Innovation(นวัตกรรมกระบวนการ) เป็นการ เปลี่ยนแนวทาง หรือ วิธีการผลิตสินค้า หรือบริการ โดยมี การให้บริการในรูปแบบที่แตกต่างออกไปจากเดิม เช่น การ ดําเนินงานผลิตแบบทันเวลา (Just In Time /JIT), การ บริหารงานคุณภาพองค์กรรวม (Total Quality Management /TQM)หรือเป็นการผลิตแบบกะทัดรัด (Lean Production) 5.       Strategy Innovation(นวัตกรรมด้านกลยุทธ์) เป็นแผน โดยองค์กรที่นํามาใช้ เพื่อเสริมสร้างความก้าวหน้าในทาง เทคโนโลยี หรือบริการ และยังเป็นการนําเอากลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อนํามาปรับใช้ในองค์กร โดยมุ่งเน้นการสร้างความแตก ต่างและความได้เปรียบในการแข่งขัน 6.       Value Innovation(คุณค่านวัตกรรม) การค้นหาคุณค่า ใหม่ๆ หรือ การสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่แตกต่างและเหนือกว่า ด้วย รับทําโปรเจค.net
  • 18. การคิดนอกกรอบ การมีแนวความคิดใหม่ๆ วิธีการใหม่ ทํา สิ่งที่ไม่สําคัญให้มีความสําคัญและมีคุณค่ามากที่สุด ภาพแสดงหลักสําคัญ 6 ชั้น ของนวัตกรรม เพื่อสร้างโอกาสใน การเติบโตและโอกาสในการแข่งขันเพื่อทํากําไรให้กับองค์กร (Making innovation work, T Davila, M Epstein, R Shelton – 2012) วิวัฒนาการของนวัตกรรมทางธุรกิจ ซึ่งกล่าวสรุปวิวัฒนาการอันนํามาสู่การแข่งขันทาง ธุรกิจ 5 ยุค คือ ยุคที่ 1 ยุคของการทํางานหนักกว่าคนอื่น ยุคที่ 2 การใช้ความได้เปรียบด้วยทุนที่มากกว่า รับทําโปรเจค.net
  • 19. ยุคที่ 3 การได้มาซึ่งสัมปทานทําให้ได้เปรียบกว่าคน อื่น ยุคที่ 4 การใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจที่เหนือกว่า ยุคที่ 5 ยุคปัจจุบันที่เป็นการรวมมิตรทั้งหมด ทั้งการทํางาน หนัก ทุน สัมปทาน ตลอดจนกลยุทธ์ทางธุรกิจ แต่ด้วยส่วนผสมที่ แตกต่างกันตามแต่ละชนิดของธุรกิจ แถมท้ายด้วยการสร้างสรรค์ นวัตกรรมทางธุรกิจ การสร้างองค์กรแบบที่เรียกว่า self inc. และสุดท้ายคือ การสร้างธุรกิจที่เรียกว่า Creative Industry แนวคิดการพัฒนานวัตกรรมทางธุรกิจ การพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมทางธุรกิจจะมุ่งเน้นการพัฒนา รูปแบบธุรกิจการสร้างภาพลักษณ์และตราสินค้าอันเป็นการ สร้างสรรค์ธุรกิจนาพาชุมชนไทยสู่สากลโดยเริ่มจากการพัฒนาผู้ ประกอบการให้มีความคิดสร้างสรรค์มีทักษะในการบริหารจัดการ และดาเนินกิจกรรมทางการตลาดการพัฒนารูปแบบธุรกิจ (Business Model) ด้านการบริหารจัดการและการตลาดตลอด จนการสร้างโอกาสทางการตลาดสาหรับสินค้าของธุรกิจและการ บริหารจัดการภายในองค์กรให้มีต้นทุนที่เหมาะสมด้านการจัดวาง ระบบควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ด้านแนวคิดการสร้างตราสินค้า เครื่องหมายการค้าและการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงด้านแนวทาง การสร้างจุดเด่นผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างจากของเดิมและด้านการรวม กลุ่มธุรกิจเพื่อเสริมศักยภาพในการแข่งขัน นวัตกรรมต้องอาศัยความหลากหลายและแตกต่างของ แนวคิด หรือสหศาสตร์ แหล่งของนวัตกรรมคือการมองหาความ แตกต่าง ซึ่งเราสามารถสร้างความมั่งคั่งได้จากการมองหาความ ไม่สมดุลที่เกิดขึ้นจาก 3 แหล่ง คือ ความไม่สมดุลทางสังคม เช่น คนยอมจ่ายเงินแพงเพื่อแลกเข้าไปศึกษาสถาบันดังๆ เพราะเป็น ช่องทางหนึ่งในการแสวงหาสถานะทางสังคม ความไม่สมดุลทาง เทคโนโลยี เช่น เพื่อแสดงให้เห็นว่าไม่ได้ด้อยกว่าคู่แข่งจึงบีบ รับทําโปรเจค.net
  • 20. บังคับให้ธุรกิจต้องแสวงหาเทคโนโลยีระดับเดียวกันมาประดับ ตัวอย่างคือ ร้านโชว์ห่วยต้องซื้อเครื่องคิดเงินมาตั้งไว้เหมือนร้าน สะดวกซื้อถึงแม้จะใช้เครื่องคิดเลขก็พอแล้ว ความไม่สมดุลในด้าน การพัฒนา ซึ่งทําให้บริษัทที่ปรึกษาทําเงินได้มากมายจาก ISO KPI นวัตกรรมต้องมีคุณลักษณะอย่างน้อยดังนี้คือ ช่วยปรับปรุง ประสิทธิภาพ(Efficiency) เพิ่มพูนประสิทธิผล(Effectiveness) และต้องถูกตาต้องใจตลาด นวัตกรรม: เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การคิดค้นนวัตกรรม/เทคโนโลยีใหม่ๆหากต้องการให้ อุปทานเป็นตัวขับเคลื่อนอุปสงค์จึงมีความจาเป็นที่จะต้องเน้นไปที่ การยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะปัจจุบัน ประเทศไทยมีความก้าวหน้าในการพัฒนาเทคโนโลยีด้านนาโน เทคโนโลยีเทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีวัสดุศาสตร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศโดยเทคโนโลยีดังกล่าวมีลักษณะหลอมรวม (Convergence) กันอยู่ในผลิตภัณฑ์เพื่อสนองความต้องการของ มนุษย์ให้มีความสะดวกสบายปลอดภัยสุขภาพดีมีอายุยืนยาวผ่าน การปฏิสัมพันธ์ระหว่างอายตนะภายในกับอายตนะภายนอก ประเทศไทยได้ขึ้นชื่อว่ามีองค์ประกอบ/วัตถุดิบ (Ingredients/Inputs) ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ชนิด (Recipes) แต่ยังขาดองค์กรหลักที่ทาหน้าที่เป็นเจ้าภาพใน การระดมสรรพกาลังที่มีอยู่มาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ให้แก่วิสาหกิจรายย่อยของประเทศไทยตามแนวทางห่วงโซ่อาหาร ที่กล่าวถึงให้เป็นไปตามกลไกหรือกติกามาตรฐานสากลอันเป็นที่ ยอมรับกันโดยทั่วไปเปรียบได้กับเรามีเครื่องประกอบ/เครื่องปรุง ในการทาอาหารที่ให้รสเปรี้ยวหวานมันเค็มเผ็ดแต่ยังขาดวิธีการ จัดการที่ทาให้อาหารไทยและอาหารไทยประยุกต์มีรสอร่อยเป็นที่ ต้องการของผู้บริโภคทุกเพศทุกวัยทุกเชื้อชาติและทุกศาสนา รับทําโปรเจค.net
  • 21. กระบวนการจัดการและวิธีการดําเนินการสร้างนวัตกรรม ทางธุรกิจ ความคิด (Thinking) หมายถึงการใช้ความรู้สึกในใจถึง การรับรู้ในรูปแบบที่ถูกบันทึกในสมองเพื่อการเรียกใช้เช่นการยืน บนหน้าผาเป็นสิ่งอันตราย ขั้นตอนหรือกระบวนการ (Procedural) หมายถึงการ ติดตามกระบวนการหรือสูตรเช่นถ้ายืนอยู่ที่หน้าผาเมื่อนั้นถอย หลังโดยอัตโนมัติ สร้างสรรค์ (Creative) หมายถึงการสร้างสรรค์บางอย่างที่ไม่ เคยปรากฏมาก่อน การสืบค้นสํารวจ (Discovery) หมายถึงการค้นพบแหล่ง ธรรมชาติปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือนวัตกรรมอื่นๆที่ค้นพบใน ครั้งแรกสิ่งเดียวกันอาจถูกค้นพบโดยหลายคนหรือมากกว่าหนึ่ง ครั้งเช่นดาวเสาร์ทองคํากาแฟสตาร์บัคฟันหลุดเป็นต้น สิ่งเกิดขึ้นใหม่ (Novelty) หมายถึงการสร้างสิ่งใหม่ๆหรือ วิธีในการทาบางสิ่งเช่นการสร้างสรรค์เครื่องมือใหม่ การกระทํา (Action) หมายถึงการกระทําที่นําให้เกิดสิ่ง ใหม่ๆจากสิ่งที่มีอยู่เดิมเช่นการสร้างเสียงดนตรีโดยการขับร้อง เพลงเมื่อนั้นมันคือกระบวนการกระทําไม่ใช่การสร้างขึ้นมาใหม่ หรือการกระทาด้วยวิธีเดิมแล้วพบสิ่งใหม่ๆจากการกระทา องศาของสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ของนวัตกรรม (Degree of Novelty of Innovation) องศาของสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ของนวัตกรรมคือในช่วงของการพัฒนา ขึ้นจนถึงจุดการพัฒนาที่สิ้นสุดการพัฒนานวัตกรรมที่เพิ่มขึ้นนี้จะ ควรอยู่ในช่วงสั้นกว่าง่ายกว่าในการดาเนินการปฏิบัติการและมี ความเสี่ยงน้อยรวมถึงความยั่งยืนในธุรกิจการพัฒนานวัตกรรมไป ถึงที่สุดทั่วไปนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นความซับซ้อนมากขึ้น และความเสี่ยงสูงขึ้นซึ่งอาจทําให้ตลาดวุ่นวายและการก้าว กระโดดการเติบโตที่รวดเร็วเกินไปดังนั้นหลายๆธุรกิจที่ประสบ ความสําเร็จก่อนระยะเวลายาวนานที่สิ้นสุดการพัฒนาโดยการ รับทําโปรเจค.net
  • 22. ทําการพัฒนาเพิ่มขึ้นของนวัตกรรมอย่างต่อเนื่องที่เน้นการเติบโต และการพัฒนาผสมผสานหลายๆแบบ กระบวนการจัดการและวิธีการดําเนินการสร้างนวัตกรรม ทางธุรกิจ “นวัตกรรมทางธุรกิจ” หมายถึงการทําสิ่งต่างๆด้วยวิธีใหม่ๆ การสร้างสรรค์การพัฒนาต่อยอดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด การจัดการการผลิตกระบวนการระบบโครงสร้างองค์กรรูปแบบ ธุรกิจเพื่อที่จะสร้างมูลค่าใหม่ๆสําหรับลูกค้าและผลตอบแทน ทางการเงินให้กับธุรกิจโดยเป็นที่ยอมรับต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ไม่ขัดต่อหลักศีลธรรมจรรยาบรรณขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ โดยนวัตกรรมแบ่งจําแนกตามประเภทกว้างๆได้ 3 แบบ - ศิลป์ (Artistic) เช่นการวาดภาพการเต้นรําและการแสดง - ธุรกิจ (Business) เช่นเงินหุ้นสินค้าแลกเปลี่ยนสินค้าการ เจรจาและองค์กร - สังคม (Social) เช่นรัฐบาลแบบระบอบประชาธิปไตย ทรัพย์สินส่วนตัวศาสนาการศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีและ วัฒนธรรม ขอบเขตของนวัตกรรม (Scope of Innovation) ขอบเขตของนวัตกรรมถูกกําหนดโดยบริษัทหรือการขายสู่ ตลาดครั้งแรกของเทคโนโลยีที่มีอยู่และเทคโนโลยีใหม่ (เช่น ผลิตภัณฑ์กระบวนการรูปแบบ) โดยสามารถแบ่งออกเป็น 8 ระดับตามเทคโนโลยี (เครื่องมือทักษะ) ดังต่อไปนี้ ขอบเขตตลาด เทคโนโลยีเทคโนโลยีขอบเขตตลาด เ ด ิ ม ใ ห ม่ ใหม่สําหรับบริษัท (ภายในเป็นผู้ ใช้) 1 2 รับทําโปรเจค.net
  • 23. ใหม่สําหรับผู้ซื้อ / ผู้ใช้ 3 4 ใหม่สําหรับตลาดท้องถิ่น จังหวัด หรือระดับชาติ 5 6 ใหม่สําหรับตลาดนานาชาติ 7 8 คุณค่าของนวัตกรรม (Value of Innovation) คุณค่าทั้งหมดของนวัตกรรมถูกวัดโดยผลกระทบด้านบวกและ ด้านลบของสิ่งที่ได้รับออกมาหรือผลลัพธ์ที่ให้เชิงพาณิชย์และสังคม สําหรับผู้บริโภคดังนั้นผลกระทบที่ได้ออกมามีช่วงตั้งแต่เชิงบวกถึง เชิงลบซึ่งผลกระทบเชิงบวกจะช่วยประชาชนและปรับปรุงสังคมใน ทางตรงกันข้างผลกระทบเชิงลบหรือนวัตกรรมที่ให้โทษจะสร้าง ปัญหาและค่าใช่จ่ายต่อประชาชนและองค์กรการพิจารณาผลกระทบ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และผู้ซึ่งทําการพิจารณาโดยปกติแต่ละเฉพาะ บุคคลในแต่ละพื้นที่จะทําการตัดสินใจบนคุณค่าของพวกเขาเองแต่ คุณค่าโดยรวมคือผลรวมของคุณค่าสาหรับทุกคนที่กระถูกกระทบ ทุกๆสถานที่ดังนั้นคุณค่านวัตกรรมสามารถวัดในด้านการเงิน (กําไร/ ขาดทุน) จํานวนเป้าหมาย (สร้าง/ทําลาย) หรือความสุขหรือความ ทุกข์ของบุคคลที่ได้รับผลกระทบ นวัตกรรม ผลกระทบเชิง บวกถึงลบ ตัวอย่างด้าน ผลิตภัณฑ์ ตัวอย่างด้าน บริการ การพัฒนา ทางการแพทย์ สุขภาพการ ดํารงชีวิตที่ดี และยาวนานขึ้น เครื่องกระตุ้น หัวใจ การภาพบําบัด การศึกษาและ การอบรม รับความรู้และ ทักษะใหม่ๆ ทีวีดีวีดี การสอนการก ระจายเสียง รับทําโปรเจค.net
  • 24. ผลประโยชน์ และ ความพึงพอใจ ของลูกค้า สะดวกสบาย สนุกสนานรู้สึก ดี โทรศัพท์เรือ เหาะ บาร์บีคิว การวางแผน การลงทุน ประกันชีวิต ความบันเทิง สนุกสนานไม่ เครียด วีดีโอเกมส์ ครูฝึกสอนด้าน กีฬา การเพิ่มผลผลิต ในอุตสาหกรรม ผลผลิตสูงขึ้น หรือใช้วัตถุดิบ น้อยลง การปรับปรุง อุตสาหกรรม หล่อลื่นยาน ยนต์ การรับทราบถึง ข้อมูลที่แท้จริง อยู่อย่างต่อ เนื่อง การเพิ่มผลผลิต ด้านบุคลากร ผลผลิตสูงขึ้น หรือใช้วัตถุดิบ น้อยลง บุคคลากรด้าน คอมพิวเตอร์ การค้นหาทาง อินเตอร์เน็ต ก า ร ส ร ้ า ง นวัตกรรมตาม กระแสนิยมและ คุณค่า การนําเข้า สําหรับกิจกรรม สนับสนุนที่ เกี่ยวข้อง โทรศัพท์เครื่อง มือนาทางวิทยุ คอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ การค้นหาทาง Google อันตรายหรือ การทําลาย ทรัพย์สิน การสูญเสีย ทางการเงิน การออกแบบ จุดบกพร่องหรือ ซอฟแวร์ไวรัส วัสดุในการ สร้างยาพิษ บาดเจ็บหรือ ตายของสัตว์ และปศุสัตว์ การเจ็บปวด และทรมาน ยาฆ่าแมลง การทําลายสิ่ง แวดล้อม รับทําโปรเจค.net
  • 25. บาดเจ็บหรือ ตายของมนุษย์ การเจ็บปวด และทรมาน ปืนยาพิษ การละเว้น กฎหมายความ ปลอดภัยทาง รถยนต์ ดัชนีคุณค่านวัตกรรม (Innovation Value Index) ดัชนีคุณค่านวัตกรรมคือองค์ประกอบของนวัตกรรมที่ สามารถรวมในรูปแบบระดับสูงของผลลัพธ์และการนําเข้ารากของ นวัตกรรมคือบุคคลผู้ซึ่งมีแนวคิดในการแก้ปัญหาต่างๆโครงการที่ วางแผนในการพัฒนาในรูปแบบของผลิตภัณฑ์บริการกระบวนการ ธุรกิจหรือโครงสร้างองค์กรผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นโครงการเชิง พาณิชย์ที่เป็นรูปธรรมด้วยการปฏิบัติการตามแผนงานโครงการ คุณค่านวัตกรรม = ผลลัพธ์ = ปัญหา x คํา ตอบ x การดําเนินการ การนําเข้า เงินลงทุน x แรงงาน x เวลา ปัญหา (Problem) คือขนาดของปัญหา (ประชาชนองค์กร เงิน) ลําดับความสําคัญ (สําคัญด่วน) คําตอบ (Solution) คือสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ความเชี่ยวชาญ (เทคโนโลยีประเภทการพัฒนาต้นแหล่งคุณภาพ) การดําเนินการ (Implement) คือทรัพย์สินทางปัญหา (ลิขสิทธิ์สิทธิบัตรการออกแบบอุตสาหกรรมเครื่องหมายการค้า) ขอบเขตตลาดและการขาย (ประเทศส่งออก) องค์ประกอบความ สําเร็จ (อุปสรรคโอกาส) เงินลงทุน (Capital) คือแหล่งที่มาและจํานวน รับทําโปรเจค.net
  • 26. แรงงาน (Labor) คือทีมงาน (จํานวนประเภทสถานที่) หุ้น ส่วน เวลา (Time) คือสถานะโครงการและระยะเวลาของ โครงการ นวัตกรรมเพื่อ การจัดการ ในโลกเศรษฐกิจปัจจุบัน ที่เรียกกันชินปากว่า โลกแห่ง การค้าเสรี นั้น ต้องเผชิญกับข่าว ภาวะเศรษฐกิจถดถอยของ โลกเสรีอันบิดๆ เบี้ยวๆ นี้ทุกวัน ไม่รวมถึงภัยที่คาดไม่ถึงจาก ไวรัสใหม่ๆ ที่นอกจากกระทบโดยตรงกับประชาชนแล้ว ยัง กระทบกับภาคเศรษฐกิจแบบตรงๆ ด้วย เช่นภาคการท่อง เที่ยว เป็นต้น ซึ่งภาวะถดถอยนี้ ก็คงกระทบกับ ลูกค้า และ ธุรกิจ ของท่านอย่างแน่นอนไม่ทางตรง ก็ทางอ้อม และ ยังมี พนักงาน ของท่าน หรือถ้าท่านเป็นพนักงานเอง ก็คงจะต้อง ปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวัง มากยิ่งขึ้น ในการวางแผนและ ดําเนินกิจกรรม ทางธุรกิจต่างๆ ปัจจุบัน มีแนวคิด หลายแนวคิด ที่เสนอทางออก สําหรับ อนาคต ซึ่ง ได้ พูดถึง การจัดการ   แนวคิดแรก คือ จากบทความของบริษัทที่ปรึกษาทางการ เงิน “ไพรซ์ วอเตอร์เฮาร์ คูเปอร์ส” ได้แนะนํา 10 วิธีการ บริหารในช่วงเศรษฐกิจขาลงให้กับภาคธุรกิจ ซึ่ง สองในหลาย มาตรการนั้น น่าสนใจ ที่เดียว ที่น่าจะนํามาพิจารณาประกอบ แผนการดําเนินงาน ซึ่ง สองข้อนั้นคือ ·       การบริหารจัดการกับต้นทุน ให้ความสําคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน ลดความซับซ้อนที่ไม่จําเป็น ·  บริษัทได้ขจัดความสิ้นเปลืองออกไปแล้วหรือยัง ·   การดําเนินธุรกิจนั้นเหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าแล้วหรือ ไม่ รับทําโปรเจค.net
  • 27. ·   คุณสามารถใช้วิธีการจัดหาทรัพยากรที่ดีขึ้นได้หรือ ไม่ และ ·       การบริหารจัดการข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้ในการบริหารมีความ สําคัญมากกว่าที่เคยเป็น การกําหนด KPI ที่ชัดเจนสามารถ วัด ความมีประสิทธิผลของการดําเนินที่เพิ่มมูลค่าให้แก่ลูกค้าและ กิจการได้ การตัดสินใจต้องอยู่บนพื้นฐาน ของข้อเท็จจริงและ ทันต่อเวลา ·   ส่วนใดของธุรกิจที่ควรได้รับการติดตามอย่างใกล้ชิด ·   คุณมีความมั่นใจในข้อมูลที่ได้รับมากน้อยเพียงใด ·    ธุรกิจของคุณมุ่งความสนใจไปยังการบริหารจัดการ เงินสดหรือไม่ ·  รูปแบบของรายงานที่ใช้ในกิจการได้สะท้อนภาพที่แท้ จริงของธุรกิจและสภาวะแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ และ ข้อมูลข่าวสารดังกล่าวยังคงสมเหตุสมผลอยู่หรือไม่ ซึ่งสองข้อที่นํามานี้ก็เป็นการ วางแผนแบบ Divergent คือการคิดแบบนอกกรอบ โดยเลิก คิดแบบ การลด ค่าใช้จ่าย โดยด้านเดียว ซึ่งมีผลอย่างมาก ต่อ ขวัญกําลังใจของ พนักงาน ซึ่งอาจจะทําให้ ผลิตภาพ และการเพิ่มผลผลิต (Productivity)ลดต่ํา ลงไปอีก ส่วนแนวคิด ข้อที่สอง ซึ่งจะเป็นเนื้อหาหลัก ของ บทความนี้ คือ แนวคิดนวัตกรรมเพื่อ การจัดการเพื่อ การเติบโต ที่ยั่งยืนในอนาคต Key Performance Index (KPI) หากย้อนไปในวิธีการบริหารแบบดั้งเดิมท่านยังพอจําได้หรือ ไม่ว่าการบริหาร (Management) องค์กรนั้นต้องประกอบไปด้วย การวางแผน (Planning), การจัดการ (Organization), การนํา รับทําโปรเจค.net
  • 28. องค์กร (Leading) และการควบคุม (Controlling) ซึ่งการ ควบคุมนี้เองที่มักจะทําให้ผู้บริหารในอดีตทั้งหลายเผชิญหน้ากับ ปัญหามากมายไม่ว่าจะเนื่องจากปัจจัยมนุษย์ (Human Factor) ที่ควบคุมยากยิ่ง, ความไม่ชัดเจนของสิ่งที่ควบคุม, ความที่ไม่ สามารถบอกถึงผลการควบคุมอย่างแน่ชัดฯลฯ ในขณะที่ปัจจุบันการควบคุม (Controlling) จะถูกปรับ บทบาทไปสู่การสนับสนุนให้การแนะนําปรึกษาเพื่อผลักดันจาก ภายในให้บุคลากรในองค์กรคิดเองทําเองคิดได้ทําเป็นอย่าง เหมาะสมจนบรรลุผลสําเร็จตามบทบาทของเขาเหล่านั้นแต่ไม่ว่า จะเป็นการบริหารแบบเก่าหรือแบบใหม่ก็ล้วนแต่จะต้องมีกลไก เพื่อให้สามารถติดตามความก้าวหน้าความสําเร็จพัฒนาการของ กระบวนการและผลลัพธ์ที่สู้อุตสาหะวางแผนลงทุนลงแรงไปนั้น ดังนั้นจึงมีการพัฒนาเครื่องมือที่ช่วยในการวัดประเมินและ พัฒนากระบวนการและผลลัพธ์ของการดําเนินการทั้งหลายภายใน องค์กรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการดําเนินการอันเกี่ยวเนื่องและส่งผล ต่อกลยุทธ์และบรรลุนโยบายวิสัยทัศน์ขององค์กรเครื่องมือนั้นคือ ดัชนีชี้วัดสมรรถนะหลัก (Key Performance Index: KPI) KPI วัดเพื่ออะไร? การวัดและประเมินด้วย KPI นั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อชัดเจนใน สถานะของตนเอง : รู้จักตนเองในปัจจุบันเกิดแรงกระตุ้นในการ พัฒนาตนเอง : รู้จักพัฒนาตนเองผลักดันการปฏิบัติเพื่อบรรลุผล : รู้ผลได้ของสิ่งที่ทํา(วัดในสิ่งที่ทํา - ทําในสิ่งที่วัด) ด้วยเหตุผลการ วัดเช่นนี้จึงมิใช่เรื่องแปลกที่การวัดด้วย KPI นี้มักจะเป็นการวัดที่ เป็นผลจากกิจกรรมเพื่อสนองกลยุทธ์ (Strategic Operation) มากกว่ากิจกรรมเพื่องานประจํา (Normal peration) หรือถูกใช้ เป็นเครื่องมือที่ผนวกเข้ากับกลไกการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning), การแปรนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (Policy Deployment) หรือแม้แต่ Balanced Scorecard (BSC) ที่บัดนี้ KPI ดูจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือเหล่านั้นไปแล้ว รับทําโปรเจค.net
  • 29. KPI ควรวัดอะไร? เห็นชัดว่าหากไม่ได้มีระบบการวัดและประเมินที่ดี "ไม่ว่าจะมีการ ดําเนินการหรือไม่การดําเนินการให้ผลดีเพียงไรผลร้ายแค่ไหน กระบวนการไหนล้มเหลวหรือประสบความสําเร็จมากหรือน้อยใช้ ทรัพยากรไปเท่าไรคุ้มค่าหรือไม่ฯ" ก็ดูเหมือนจะไม่สามารถตอบและ พิสูจน์ได้อย่างชัดเจนเลยเช่นนี้แล้วท่านทั้งหลายคงพอจินตนาการออก ว่าองค์กรเช่นนี้เป็นองค์กรที่ล้มเหลวไม่ช้าต้องล้มหายตายจากไป แน่นอน ถ้าท่านเห็นความสําคัญและเหตุผลที่ต้องวัดแล้วคงจะเริ่มสงสัย ใช่หรือไม่ว่า"แล้วถ้าจะวัดจะวัดอะไรด้วยอะไร?" ดังที่เราสนใจกันว่า KPI นั้นน่าจะถูกนํามาใช้เพื่อวัดโดยควรจะวัดตามหลักง่ายๆคือ "วัดแต่สิ่งสําคัญวัดแล้วชัดวัดแล้วช่วย (ตัดสินใจ)" โดยสิ่งที่จะถูกวัดมักเป็นกระบวนการ (Process), ผลลัพธ์ (Output), ผลได้ (Outcome) ของสิ่งที่เกิดจากการวางแผนกลยุทธ์ ดังรูป รับทําโปรเจค.net
  • 30. จากรูปจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า KPI นั้นจะเข้าไปวัดผลและ กระบวนการของสิ่งทั้งหลายจากการแปรนโยบายที่เกิดขึ้นและในหลาย ครั้งอาจเข้าไปวัดถึงกระบวนการหลัก (คือกระบวนการเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ขององค์กร) และกระบวนการสนับสนุน (คือกระบวนการที่ไม่ได้ ทําให้เกิดผลลัพธ์แต่รองรับสนับสนุนกระบวนการหลัก) KPI สามารถวัดในลักษณะใดได้บ้าง เกณฑ์ข้อเสนอการพิจารณาลักษณะ KPI ด้านการเงิน- ไม่เกี่ยวกับการเงิน (Financial / Non- Financial) ด้านระดับ/ ประเภทกิจกรรม: กิจกรรมเพื่อการพัฒนา-งาน ประจํา (Strategic-/ Normal -Operation) ด้านหน้าที่ : ติดตาม-ผลักดัน-ตรวจสอบ (Monitoring: Lag- Drive: lead) ด้านระบบ : ปัจจัยนําเข้า-กระบวนการ-ผลลัพธ์ (Input / Process / Output) ด้านเกณฑ์เวลา: ระยะสั้น-ระยะยาว (Short-/ Long-Terms) หรือระยะเวลาที่ใช้ (Timing) ด้านคุณภาพการดําเนินการ : ประสิทธิภาพ-ประสิทธิผล- ผลิตผล (Efficiency / Effectiveness /Productivity) ด้านมุมมอง: เชิงบวก-ลบ (Positive / Negative Viewpoint) ด้านคุณลักษณะ: เชิงคุณภาพ-ปริมาณ (Quality / Quantity) รับทําโปรเจค.net
  • 31. บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาการเกิดนวัตกรรมขององค์กรซึ่งในที่นี้ได้นําข้อมูล ของบริษัทที่มีการควบรวมกิจการ (Merger & Acquisition: M&As)มาเป็นกรณีศึกษา โดยเป็นการวิจัยเชิงสํารวจ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลประโยชน์ทางด้านนวัตกรรมขององค์กร ทั้งทางด้านนวัตกรรมของสินค้า หรือนวัตกรรมด้านการบริการ ภายหลังเกิดการควบรวมกิจการ(Mergers & Acquisitions : M&A)ซึ่งการควบรวมกิจการมีประโยชน์ด้าน การเปิดการค้าเสรี ระหว่างประเทศประหยัดต่อขนาด (Scale & Scope advantage)เป็นการเพิ่มผลิตผลและมีการขยายตลาดการแลก เปลี่ยนทรัพยากร และความชํานาญควบรวมศักยภาพการผลิต จํากัดการแข่งขันในอุตสาหกรรม และเพื่อการขยายธุรกิจใหม่ โดยมีรายละเอียดในการดําเนินการศึกษา ดังต่อไปนี้ รับทําโปรเจค.net