SlideShare a Scribd company logo
โครงงาน
เรื่อง
ผลของฮอร์โมนออกซินต่อจํานวนดอกของต้นชบา
เสนอ
อ. วิชัย ลิขิตพรรักษ์
จัดทําโดย
1. น.ส. ธนภรณ์ อุตรชน เลขที่ 9
2. น.ส. ธัญณัฐ รุ่งปัญญารัตน์ เลขที่ 12
3. น.ส. ศุภาพิชญ์ สุขะวนวัฒน์ เลขที่ 24
4. น.ส. อภิชญา ชินวรกิจ เลขที่ 27
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 126
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
คํานํา
โครงงานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมี
จุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจํานวนดอกของต้นชบา ผู้จัดทําได้เลือก
หัวข้อโครงงานนี้เพื่อเป็นการหาวิธีพัฒนาไม้ดอกที่เป็นที่นิยมอย่างชบา ให้ได้ผลผลิตดีซึ่งก็คือ
ดอกที่สวยงามนั่นเอง ทั้งนี้ ในโครงงานชิ้นนี้มีเนื้อหาซึ่งประกอบด้วยข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับ
ฮอร์โมนออกซินและต้นชบาเพื่อให้เข้าใจการทดลองในโครงงานได้ดีขึ้น
ผู้จัดทําต้องขอขอบคุณ อ. วิชัย ลิขิตพรรักษ์ที่ได้ให้คําแนะนําในการดําเนินงานจน
โครงงานสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอบคุณสมาชิกในกลุ่มทุกคนที่ร่วมแรงร่วมใจในการทํางาน
และขอบคุณผู้ปกครองที่ได้เป็นกําลังใจและช่วยจัดหาอุปกรณ์ในการทดลอง สุดท้ายนี้ผู้จัดทํา
หวังว่าโครงงานชิ้นนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน และหากมีข้อเสนอแนะ
ประการใด ผู้จัดทําขอรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยิ่ง
คณะผู้จัดทํา
12
สารบัญ
หน้า
คํานํา ค
สารบัญ ง
ปัญหา ที่มาและความสําคัญ 1
ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทดลอง 2
รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนที่ทดลอง 4
สมมติฐานการทดลอง 5
จุดประสงค์การทดลอง 5
ตัวแปรการทดลอง 5
รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 6
ระยะเวลาในการทดลอง 6
วิธีการเก็บข้อมูล 7
ขั้นตอนในการทดลอง 9
ผลการทดลอง 10
สรุปและข้อเสนอแนะ
ภาคผนวก 13
บรรณานุกรม 18
ปัญหา ที่มาและความสําคัญ
ดอก ถือเป็นส่วนหนึ่งที่สําคัญของพืช เนื่องจากเป็นจุดเริ่มต้นของการขยายพันธุ์โดยดอกจะมีการพัฒนา
ต่อไปเป็นผลเเละเมล็ด พืชดอกหลายชนิดถูกปรับปรุงพันธุ์ขึ้นมาใหม่ให้ดอกมีขนาดใหญ่ สีสวย เเละมีการ
ออกดอกสมํ่าเสมอ พืชเหล่านี้มักจะไม่มีปัญหาในการออกดอก เเต่ก็พบว่ามีพืชอีกหลายชนิดเช่นกันที่ยังไม่
ออกดอกเเม้ว่าจะถึงฤดูกาลที่เหมาะสมหรือมีการเลี้ยงดูอย่างดีเเล้วก็ตาม. อย่างไรก็ตามปัญหาดังกล่าวก็ยังไม่
สามารถถูกแก้ไขได้อย่างสมบูรณ์ เเต่ก็ยังอยู่ในความพยายามต่างๆ การใช้ฮอร์โมนช่วย ก็ถือเป็นหนึ่งใน
ความพยายามนั้นเช่นกัน
ชบา เป็นพืชดอกชนิดหนึ่งที่มีสีสันสวยงามเเละเป็นที่ต้องการในตลาดมาก เเต่ในขณะเดียวกันการดูเเล
ที่ไม่เหมาะสมหรือสภาพเเวดล้อมต่างๆอาจทําให้ชบาออกดอกได้ยากขึ้น เเละปริมาณดอกลดลง ทางคณะ
ผู้จัดทําอยากที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว จากการศึกษาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับต้นชบา ทางเราเลือกใช้ฮอร์โมนออก
ซิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่มีคุณสมบัติในการเร่งการออกดอก เป็นเเนวทางในการแก้ปัญหานี้เเละศึกษาผลของ
ฮอร์โมนชนิดนี้ต่อต้นชบาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อไป
1
ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทดลอง
ชบา (Hibiscus) จัดเป็นไม้ประดับดอกที่นิยมปลูกกันทั่วโลก โดยเฉพาะในแถบประเทศเขตร้อนของ
อเมริกา และแอฟริกา จนได้สมญานามว่า ราชินีแห่งดอกไม้เมืองร้อน นอกจากนั้นยังนิยมนําดอก และใบที่มี
สารเมือกมาใช้ประโยชน์ในด้านสมุนไพร และความงามอีกด้วย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลําต้น เป็นไม้พุ่มขนาดกลางมีลําต้นสูงประมาณ1-3เมตรลําต้นแตกกิ่งตั้งระดับล่างลําต้นแตกกิ่งปานกลาง
แต่ใบมีขนาดใหญ่ และดก ทําให้แลดูมีทรงพุ่มทึบ เปลือกลําต้นมีเส้นใยและยางเมือก สามารถดึงลอก
ออกเป็นเส้นเชือกได้
ใบ ใบแตกออกใบเดี่ยวๆ เรียงสลับตามความยาวของกิ่ง ใบมีรูปหลายลักษณะแตกต่างกันตามสายพันธุ์ โคน
ใบกว้าง แผ่นใบมีสีเขียวสดถึงเขียวเข้ม เป็นมัน และมีขนเล็กๆปกคลุม ส่วนขอบใบมีทั้งหยักตื้นหรือหยัก
เป็นฟันเลื่อยลึก เมื่อนําใบมาขยําจะมีนํ้าเมือกเหนียวออกมา
ดอก ดอกชบาเป็นดอกสมบูรณ์ที่ออกเป็นดอกเดี่ยวๆบริเวณซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกตูมมีลักษณะเป็นหลอด
ปลายหลอดแหลม มีกลีบเลี้ยงสีเขียวหุ้มด้านนอก กลีบดอกมีรูปไข่กลับหรือมนเรียงซ้อนเป็นวงกลม ขอบ
กลีบมักย่นเป็นลูกคลื่น มีโคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปแตร ซึ่งสีของกลีบดอกมีหลายสี ด้านในตรงกลาง
มีก้านชูเกสรยาว ซึ่งมักมีสีเดียวกันกับกลีบดอกหรือโคนกลีบดอก โดยส่วนปลายสุดเป็นอับเรณูของเกสรตัว
ผู้และตัวเมีย
ประโยชน์ของชบา
1. เป็นไม้ประดับดอกที่นิยม
2. กลีบดอกชบาในต่างประเทศนิยมใช้ประดับศีรษะ
4. ดอกนํามาคั้นสกัดเอานํ้าสําหรับต้มย้อมผ้า ย้อมสีกระดาษ รวมถึงใช้ผสมทําขนมของหวานเพื่อให้ขนมมีสี
5. กลีบดอกสด นํามาตากแห้ง 5-7 วัน ก่อนใช้ชงเป็นชาดื่ม
6. กลีบดอกชบา นํามาขยํา ก่อนใช้พอกผม เพื่อกระตุ้นให้ผมงอก ช่วยให้ผมดกดํา
7. กลีบดอก และใบชบา นํามาขยํา และผสมนํ้าเล็กน้อย ก่อนใช้ทาชโลมหน้าหรือผิวหนัง เพื่อช่วยเพิ่มความ
ชุ่มชื้นแก่ผิว และลดความแห้งกร้านของผิว
8. กลีบดอกชบา นํามาขยําให้เกิดนํ้าสี สําหรับใช้เป็นสีทาลําตัว ทาเล็บ ทาขนตา รวมถึงใช้ทารองเท้าให้เกิดสี
2
9. ลําต้นชบา นําไปใช้เป็นวัตถุดิบผลิตเยื่อกระดาษ
10. เปลือกต้นชบาดึงลอกออกเป็นเส้น นําไปใช้แทนเชือกรัดของ ซึ่งให้ความเหนียวสูง ทั้งใช้เป็นเชือกสด
หรือนําไปตากให้แห้งก่อน
การปลูกชบา
พันธุ์ชบาที่นิยมปลูกมาจะเป็นพันธุ์ฮาวาย ซึ่งมีมากกว่า 400 ชนิด และทั่วไปนิยมปลูกจากต้นพันธุ์ที่ได้จาก
การตอนกิ่ง หรือ การปักชํา
โรคชบา
โรคที่พบได้มากในชบา คือ โรคไวรัสในพืชที่ทําให้ชบามีความผิดปกติหลายอย่าง ได้แก่
– ลําต้นโทรม แคระแกร็น
– ใบด่าง
– ใบมีจุดประสีเหลือง
– ใบเหลือง
– ใบบิด
– ดอกด่าง ดอกบิดเบี้ยว
3
ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง
ฮอร์โมนออกซิน (auxin) ในธรรมชาติเป็นสารเคมีชื่อกรดอินโดลแอซีติก (indoleacetic acid : IAA)
เป็นฮอร์โมนที่พืชสร้างจากกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญ ที่บริเวณยอดอ่อน แล้วแพร่จากยอดอ่อนไปยังเซลล์อื่น ๆ
ที่อยู่ด้านล่าง โดยจะไปกระตุ้นเซลล์บริเวณเนื้อเยื่อที่มีการยืดตัวให้เจริญ ขยายขนาดขึ้น ทําให้พืชเติบโต
สูงขึ้น การทํางานของออกซินขึ้นอยู่กับสิ่งเร้า เช่น แสง อุณหภูมิ แรงโน้มถ่วงของโลก สิ่งสัมผัสและอื่น ๆ
แสงมีผลต่อการแพร่กระจายของออกซินที่ยอดอ่อน โดยออกซินจะแพร่กระจายจากด้านที่มีแสงมากไป
ยังด้านที่มีแสงน้อย ทําให้ด้านที่มีแสงน้อยมีออกซินมากกว่า เซลล์เจริญขยายตัวมากกว่าด้านที่มีแสงมาก
ปลายยอดจึงโค้งเข้าหาแสง ซึ่งให้ผลตรงข้าม กับที่ ปลายราก โดยออกซินยังคงเคลื่อนที่หนีแสง แต่เซลล์ที่
ปลายรากตอบสนองต่อออกซินต่างจากเซลล์ที่ปลายยอด บริเวณใด ของราก ที่มีแสงน้อย จะมีออกซินสะสม
มากจึงยับยั้งการเจริญของเซลล์ราก บริเวณที่มีแสงมากมีออกซินน้อยกว่า เซลล์รากขยายตัวมากกว่า จึงเกิด
การโค้งตัวของปลายรากหนีแสง ออกซินมีผลในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของลําต้น ตา ใบ และราก ใน
ระดับความเข้มข้นที่ต่างกัน ออกซินในระดับเข้มข้นสูงมาก ๆ จะยับยั้งการเจริญเติบโตทุกส่วนของพืช ออก
ซินในระดับความเข้มข้นที่พอเหมาะจะกระตุ้นการเจริญของลําต้น แต่จะมีผลในการยับยั้ง การเจริญเติบโต
ของตาและใบ ซึ่งต้องการความเข้มข้นตํ่ากว่า ในขณะที่รากต้องการออกซินในปริมาณที่น้อยมาก ลําต้นจึง
ต้องการออกซิน สูงกว่าตาและใบ ในขณะที่ตาและใบต้องการออกซินสูงกว่าในราก ดังนั้นความเข้มข้นของ
ออกซิน ที่พอเหมาะต่อการเจริญเติบโต ของอวัยวะหนึ่งแต่จะยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะหนึ่งได้
4
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนออกซินมีผลต่อการเจริญเติบโตของดอกชบา แล้วสารละลายออกซินที่มีความเข้นข้นสูง
จะมีผลทําให้ดอกชบาเพิ่มจํานวนมากขึ้น
จุดประสงค์การทดลอง
1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินต่อจํานวนดอกของต้นชบา
2. เพื่อฝึกการดูแลต้นชบา
3. เพื่อศึกษาหาปริมาณฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสมในการเร่งดอกของต้นชบา
ตัวแปรการทดลอง
ตัวแปรต้น : ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน
ตัวแปรตาม : จํานวนดอกของต้นชบา
ตัวแปรควบคุม : สายพันธุ์ของต้นชบา, ปริมาณนํ้า และปุ๋ ยที่ต้นชบาได้รับต่อวัน, ปริมาณยาฆ่าแมลงที่ฉีดให้
ต้นชบา, สถานที่เพาะปลูก
5
รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง
- ชบาพันธุ์ฟิลิปปินส์ และกระถางต้นไม้จํานวน 9 ต้น
- ฮอร์โมนออกซินความเข้มข้นร้อยละ 0.1 โดยปริมาตร
- ฮอร์โมนออกซินความเข้มข้นร้อยละ 0.5 โดยปริมาตร
- ฟ็อกกี้ จํานวน 3 อัน
- ถุงพลาสติกที่ใช้รองกระถาง
- ปุ๋ ย และยาฆ่าแมลง
ระยะเวลาในการทดลอง
ตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 2 สิงหาคม 2560
6
วิธีการเก็บข้อมูล
1. เตรียมสภาพของต้นชบาให้พร้อมต่อการนับจํานวนดอก
2.นับจํานวนดอกของต้นชบาแต่ละต้น
7
3.บันทึกผลการทดลองจํานวนดอกของต้นชบาแต่ละต้น ลงในตารางบันทึกผล
8
ขั้นตอนการทดลอง
1. เลือกต้นไม้และฮอร์โมนที่ใช้ทําการทดลอง
2. จัดหาต้นชบาสายพันธุ์ฟิลิปปินส์ 9 ต้น
3. เตรียมสารละลายฮอร์โมนออกซิน (2กลุ่ม)
-ความเข้มข้นร้อยละ 0.1 โดยปริมาตร
-ความเข้มข้นร้อยละ 0.5 โดยปริมาตร
4. จัดสถานที่เพาะเลี้ยงต้นชบา 9 ต้น
5. นับจํานวนดอกของต้นชบาแต่ละต้น และบันทึกผล
6. รดนํ้า และฉีดสารละลายฮอร์โมนออกซินตามชุดทดลอง
7. ทําตามข้อ 5, 6 ในวันเก็บผลการทดลอง (2 ครั้งต่อสัปดาห์) ตลอดระยะเวลาทําการทดลอง
9
ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วันที่ ชุดควบคุม Low Dose High Dose
จํานวน ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 เฉลี่ย ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 เฉลี่ย ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 เฉลี่ย
8/6/2017 4 0 7 4 7 5 5 6 1 0 0 1
12/6/2017 2 0 2 1 8 3 7 6 0 0 0 0
15/6/2017 1 0 0 1 8 3 6 6 0 0 0 0
19/6/2017 - 0 0 0 7 3 5 5 0 0 0 0
22/6/2017 - 0 0 0 5 2 4 4 0 0 0 0
26/6/2017 - 0 0 0 3 0 3 2 0 0 0 0
29/6/2017 - 0 0 0 1 0 2 1 0 0 0 0
3/7/2017 - 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
6/7/2017 - 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
13/7/2017 - 1 0 1 1 1 4 2 1 2 0 1
17/7/2017 - 2 0 1 1 0 6 3 1 3 1 2
24/7/2017 - 0 0 0 0 2 5 3 1 1 0 1
31/7/2017 - 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 0
2/8/2017 - 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 0
- หมายถึงต้นชบาตาย
ตารางที่ 1 แสดงจํานวนดอกของต้นชบาในวันเก็บผลการทดลอง
10
วิเคราะห์ผลการทดลอง
กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง
ภาพที่ 1 กราฟเส้นแสดงค่าเฉลี่ยจํานวนดอกของต้นชบาจากการเก็บผลการทดลอง
จากกราฟเส้นด้านบน สามารถวิเคราะห์ได้ว่า ฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นร้อยละ 0.1 โดย
ปริมาตร (Low dose) มีผลทําให้ต้นชบามีจํานวนดอกมากกว่า ความเข้มข้นร้อยละ 0.5 โดยปริมาตร (High
dose) และร้อยละ 0 โดยปริมาตร (ชุดควบคุม) ดังนั้น ฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นร้อยละ 0.1 โดย
ปริมาตร มีผลทําให้ต้นชบามีจํานวนดอกมากที่สุด ความเข้มข้นของฮอร์โมนที่มากเกินไป มีผลทําให้จํานวน
ดอกเพิ่มขึ้นน้อย
0
1
2
3
4
5
6
7
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 9 ครั้งที่ 11 ครั้งที่ 13
ค่าเฉลี่ยจํานวนดอกของต้นชบาจากผลการทดลอง
ชุดควบคุม Low dose High dose
11
สรุปและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
ฮอร์โมนออกซินความเข้มข้น 0.1% มีผลมากที่สุดในชุดทดลองทั้งหมดในการเพิ่มจํานวนดอกของ
ต้นชบา เนื่องจากฮอร์โมนออกซินมีฤทธิ์ในการกระตุ้นการแบ่งเซลล์ การยืดขยายตัวของเซลล์และส่งเสริม
โปรตีนที่จําเป็นต่อการเติบโตแต่ออกซินที่วามเข้มข้นสูงไปจะยับยั้งการเจริญเติบโตและเป็นพิษต่อพืช
สามารถสรุปได้ว่า ออกซินที่มีความเข้มข้น 0.5% เป็นความเข้มข้นที่มากเกินไปในการเร่งดอก ทําให้จํานวน
ดอกลดลงเรื่อยๆ และออกซินที่ความเข้มข้น 0.1% เป็นความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุดใน3กลุ่มการทดลอง
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
1. ควรหาสถานที่ปลูกชบาที่เป็นโรงเรือนกันฝนได้ เนื่องจากบางครั้งฝนตกหนักนํ้าท่วมทําให้ต้นไม้
ล้ม
2. ควรเลือกยาฆ่าแมลงที่ใช้กําจัดศัตรูพืชที่แรงกว่านี้ เพราะยาฆ่าแมลงที่ใช้ให้ผลช้าและไม่สามารถ
กําจัดหนอนได้หมด
3. ควรรดนํ้าให้ครบทุกวัน เนื่องจากช่วงหยุดอ่านหนังสือสอบไม่สามารถเข้าโรงเรียนมารดนํ้าทําให้
ต้นไม้เหี่ยว ใบเหลือง
12
ภาคผนวก
รูปแสดงอุปกรณ์การทดลอง
รูปแสดงป้ายต้นไม้ของต้นในชุด Low dose
13
รูปแสดงป้ายต้นไม้ของต้นในชุดควบคุม
รูปแสดงป้ายต้นไม้ของต้นในชุด High dose
14
รูปแสดงการตรวจโครงงานฮอร์โมนครั้งที่ 1
รูปแสดงการเซ็นต์รับทราบผลการตรวจโครงงานฮอร์โมนครั้งที่ 1
15
รูปแสดงการตรวจโครงงานฮอร์โมนครั้งที่ 2
รูปแสดงยาฆ่าแมลง
16
รูปแสดงปุ๋ ย
17
บรรณานุกรม
1. http://puechkaset.com/%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B2/
2. https://sites.google.com/site/selllaeakarbaengsell/hnwy-thi-2-kar-txb-snxng-khxng-phuch-tx-sar-
khwbkhum-kar-ceriy-teibto/1-3-xxk-sin-auxin
3. https://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=668&name=%20Shoe%20flower,
%20China%20rose%20-%20Shoe%20Flower%20
4. http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm
18

More Related Content

Similar to M6 126 60_2

M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
Wichai Likitponrak
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5Wichai Likitponrak
 
Lessonplanthormoneproject60
Lessonplanthormoneproject60Lessonplanthormoneproject60
Lessonplanthormoneproject60
Wichai Likitponrak
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
natnaree2098
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
M6 126 60_7
M6 126 60_7M6 126 60_7
M6 126 60_7
Wichai Likitponrak
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
Jirathorn Buenglee
 
Science
ScienceScience
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
Kruthai Kidsdee
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
Wichai Likitponrak
 

Similar to M6 126 60_2 (20)

M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
 
Lessonplanthormoneproject60
Lessonplanthormoneproject60Lessonplanthormoneproject60
Lessonplanthormoneproject60
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
M6 126 60_7
M6 126 60_7M6 126 60_7
M6 126 60_7
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 
Science
ScienceScience
Science
 
Pis ascience
Pis asciencePis ascience
Pis ascience
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
George638435
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

M6 126 60_2

  • 1. โครงงาน เรื่อง ผลของฮอร์โมนออกซินต่อจํานวนดอกของต้นชบา เสนอ อ. วิชัย ลิขิตพรรักษ์ จัดทําโดย 1. น.ส. ธนภรณ์ อุตรชน เลขที่ 9 2. น.ส. ธัญณัฐ รุ่งปัญญารัตน์ เลขที่ 12 3. น.ส. ศุภาพิชญ์ สุขะวนวัฒน์ เลขที่ 24 4. น.ส. อภิชญา ชินวรกิจ เลขที่ 27 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 126 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
  • 2. คํานํา โครงงานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมี จุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจํานวนดอกของต้นชบา ผู้จัดทําได้เลือก หัวข้อโครงงานนี้เพื่อเป็นการหาวิธีพัฒนาไม้ดอกที่เป็นที่นิยมอย่างชบา ให้ได้ผลผลิตดีซึ่งก็คือ ดอกที่สวยงามนั่นเอง ทั้งนี้ ในโครงงานชิ้นนี้มีเนื้อหาซึ่งประกอบด้วยข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับ ฮอร์โมนออกซินและต้นชบาเพื่อให้เข้าใจการทดลองในโครงงานได้ดีขึ้น ผู้จัดทําต้องขอขอบคุณ อ. วิชัย ลิขิตพรรักษ์ที่ได้ให้คําแนะนําในการดําเนินงานจน โครงงานสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอบคุณสมาชิกในกลุ่มทุกคนที่ร่วมแรงร่วมใจในการทํางาน และขอบคุณผู้ปกครองที่ได้เป็นกําลังใจและช่วยจัดหาอุปกรณ์ในการทดลอง สุดท้ายนี้ผู้จัดทํา หวังว่าโครงงานชิ้นนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน และหากมีข้อเสนอแนะ ประการใด ผู้จัดทําขอรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยิ่ง คณะผู้จัดทํา
  • 3. 12 สารบัญ หน้า คํานํา ค สารบัญ ง ปัญหา ที่มาและความสําคัญ 1 ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทดลอง 2 รายละเอียดข้อมูลฮอร์โมนที่ทดลอง 4 สมมติฐานการทดลอง 5 จุดประสงค์การทดลอง 5 ตัวแปรการทดลอง 5 รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 6 ระยะเวลาในการทดลอง 6 วิธีการเก็บข้อมูล 7 ขั้นตอนในการทดลอง 9 ผลการทดลอง 10 สรุปและข้อเสนอแนะ ภาคผนวก 13 บรรณานุกรม 18
  • 4.
  • 5. ปัญหา ที่มาและความสําคัญ ดอก ถือเป็นส่วนหนึ่งที่สําคัญของพืช เนื่องจากเป็นจุดเริ่มต้นของการขยายพันธุ์โดยดอกจะมีการพัฒนา ต่อไปเป็นผลเเละเมล็ด พืชดอกหลายชนิดถูกปรับปรุงพันธุ์ขึ้นมาใหม่ให้ดอกมีขนาดใหญ่ สีสวย เเละมีการ ออกดอกสมํ่าเสมอ พืชเหล่านี้มักจะไม่มีปัญหาในการออกดอก เเต่ก็พบว่ามีพืชอีกหลายชนิดเช่นกันที่ยังไม่ ออกดอกเเม้ว่าจะถึงฤดูกาลที่เหมาะสมหรือมีการเลี้ยงดูอย่างดีเเล้วก็ตาม. อย่างไรก็ตามปัญหาดังกล่าวก็ยังไม่ สามารถถูกแก้ไขได้อย่างสมบูรณ์ เเต่ก็ยังอยู่ในความพยายามต่างๆ การใช้ฮอร์โมนช่วย ก็ถือเป็นหนึ่งใน ความพยายามนั้นเช่นกัน ชบา เป็นพืชดอกชนิดหนึ่งที่มีสีสันสวยงามเเละเป็นที่ต้องการในตลาดมาก เเต่ในขณะเดียวกันการดูเเล ที่ไม่เหมาะสมหรือสภาพเเวดล้อมต่างๆอาจทําให้ชบาออกดอกได้ยากขึ้น เเละปริมาณดอกลดลง ทางคณะ ผู้จัดทําอยากที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว จากการศึกษาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับต้นชบา ทางเราเลือกใช้ฮอร์โมนออก ซิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่มีคุณสมบัติในการเร่งการออกดอก เป็นเเนวทางในการแก้ปัญหานี้เเละศึกษาผลของ ฮอร์โมนชนิดนี้ต่อต้นชบาเพื่อเป็นประโยชน์ต่อไป 1
  • 6. ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทดลอง ชบา (Hibiscus) จัดเป็นไม้ประดับดอกที่นิยมปลูกกันทั่วโลก โดยเฉพาะในแถบประเทศเขตร้อนของ อเมริกา และแอฟริกา จนได้สมญานามว่า ราชินีแห่งดอกไม้เมืองร้อน นอกจากนั้นยังนิยมนําดอก และใบที่มี สารเมือกมาใช้ประโยชน์ในด้านสมุนไพร และความงามอีกด้วย ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลําต้น เป็นไม้พุ่มขนาดกลางมีลําต้นสูงประมาณ1-3เมตรลําต้นแตกกิ่งตั้งระดับล่างลําต้นแตกกิ่งปานกลาง แต่ใบมีขนาดใหญ่ และดก ทําให้แลดูมีทรงพุ่มทึบ เปลือกลําต้นมีเส้นใยและยางเมือก สามารถดึงลอก ออกเป็นเส้นเชือกได้ ใบ ใบแตกออกใบเดี่ยวๆ เรียงสลับตามความยาวของกิ่ง ใบมีรูปหลายลักษณะแตกต่างกันตามสายพันธุ์ โคน ใบกว้าง แผ่นใบมีสีเขียวสดถึงเขียวเข้ม เป็นมัน และมีขนเล็กๆปกคลุม ส่วนขอบใบมีทั้งหยักตื้นหรือหยัก เป็นฟันเลื่อยลึก เมื่อนําใบมาขยําจะมีนํ้าเมือกเหนียวออกมา ดอก ดอกชบาเป็นดอกสมบูรณ์ที่ออกเป็นดอกเดี่ยวๆบริเวณซอกใบที่ปลายกิ่ง ดอกตูมมีลักษณะเป็นหลอด ปลายหลอดแหลม มีกลีบเลี้ยงสีเขียวหุ้มด้านนอก กลีบดอกมีรูปไข่กลับหรือมนเรียงซ้อนเป็นวงกลม ขอบ กลีบมักย่นเป็นลูกคลื่น มีโคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปแตร ซึ่งสีของกลีบดอกมีหลายสี ด้านในตรงกลาง มีก้านชูเกสรยาว ซึ่งมักมีสีเดียวกันกับกลีบดอกหรือโคนกลีบดอก โดยส่วนปลายสุดเป็นอับเรณูของเกสรตัว ผู้และตัวเมีย ประโยชน์ของชบา 1. เป็นไม้ประดับดอกที่นิยม 2. กลีบดอกชบาในต่างประเทศนิยมใช้ประดับศีรษะ 4. ดอกนํามาคั้นสกัดเอานํ้าสําหรับต้มย้อมผ้า ย้อมสีกระดาษ รวมถึงใช้ผสมทําขนมของหวานเพื่อให้ขนมมีสี 5. กลีบดอกสด นํามาตากแห้ง 5-7 วัน ก่อนใช้ชงเป็นชาดื่ม 6. กลีบดอกชบา นํามาขยํา ก่อนใช้พอกผม เพื่อกระตุ้นให้ผมงอก ช่วยให้ผมดกดํา 7. กลีบดอก และใบชบา นํามาขยํา และผสมนํ้าเล็กน้อย ก่อนใช้ทาชโลมหน้าหรือผิวหนัง เพื่อช่วยเพิ่มความ ชุ่มชื้นแก่ผิว และลดความแห้งกร้านของผิว 8. กลีบดอกชบา นํามาขยําให้เกิดนํ้าสี สําหรับใช้เป็นสีทาลําตัว ทาเล็บ ทาขนตา รวมถึงใช้ทารองเท้าให้เกิดสี 2
  • 7. 9. ลําต้นชบา นําไปใช้เป็นวัตถุดิบผลิตเยื่อกระดาษ 10. เปลือกต้นชบาดึงลอกออกเป็นเส้น นําไปใช้แทนเชือกรัดของ ซึ่งให้ความเหนียวสูง ทั้งใช้เป็นเชือกสด หรือนําไปตากให้แห้งก่อน การปลูกชบา พันธุ์ชบาที่นิยมปลูกมาจะเป็นพันธุ์ฮาวาย ซึ่งมีมากกว่า 400 ชนิด และทั่วไปนิยมปลูกจากต้นพันธุ์ที่ได้จาก การตอนกิ่ง หรือ การปักชํา โรคชบา โรคที่พบได้มากในชบา คือ โรคไวรัสในพืชที่ทําให้ชบามีความผิดปกติหลายอย่าง ได้แก่ – ลําต้นโทรม แคระแกร็น – ใบด่าง – ใบมีจุดประสีเหลือง – ใบเหลือง – ใบบิด – ดอกด่าง ดอกบิดเบี้ยว 3
  • 8. ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง ฮอร์โมนออกซิน (auxin) ในธรรมชาติเป็นสารเคมีชื่อกรดอินโดลแอซีติก (indoleacetic acid : IAA) เป็นฮอร์โมนที่พืชสร้างจากกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญ ที่บริเวณยอดอ่อน แล้วแพร่จากยอดอ่อนไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่ด้านล่าง โดยจะไปกระตุ้นเซลล์บริเวณเนื้อเยื่อที่มีการยืดตัวให้เจริญ ขยายขนาดขึ้น ทําให้พืชเติบโต สูงขึ้น การทํางานของออกซินขึ้นอยู่กับสิ่งเร้า เช่น แสง อุณหภูมิ แรงโน้มถ่วงของโลก สิ่งสัมผัสและอื่น ๆ แสงมีผลต่อการแพร่กระจายของออกซินที่ยอดอ่อน โดยออกซินจะแพร่กระจายจากด้านที่มีแสงมากไป ยังด้านที่มีแสงน้อย ทําให้ด้านที่มีแสงน้อยมีออกซินมากกว่า เซลล์เจริญขยายตัวมากกว่าด้านที่มีแสงมาก ปลายยอดจึงโค้งเข้าหาแสง ซึ่งให้ผลตรงข้าม กับที่ ปลายราก โดยออกซินยังคงเคลื่อนที่หนีแสง แต่เซลล์ที่ ปลายรากตอบสนองต่อออกซินต่างจากเซลล์ที่ปลายยอด บริเวณใด ของราก ที่มีแสงน้อย จะมีออกซินสะสม มากจึงยับยั้งการเจริญของเซลล์ราก บริเวณที่มีแสงมากมีออกซินน้อยกว่า เซลล์รากขยายตัวมากกว่า จึงเกิด การโค้งตัวของปลายรากหนีแสง ออกซินมีผลในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของลําต้น ตา ใบ และราก ใน ระดับความเข้มข้นที่ต่างกัน ออกซินในระดับเข้มข้นสูงมาก ๆ จะยับยั้งการเจริญเติบโตทุกส่วนของพืช ออก ซินในระดับความเข้มข้นที่พอเหมาะจะกระตุ้นการเจริญของลําต้น แต่จะมีผลในการยับยั้ง การเจริญเติบโต ของตาและใบ ซึ่งต้องการความเข้มข้นตํ่ากว่า ในขณะที่รากต้องการออกซินในปริมาณที่น้อยมาก ลําต้นจึง ต้องการออกซิน สูงกว่าตาและใบ ในขณะที่ตาและใบต้องการออกซินสูงกว่าในราก ดังนั้นความเข้มข้นของ ออกซิน ที่พอเหมาะต่อการเจริญเติบโต ของอวัยวะหนึ่งแต่จะยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะหนึ่งได้ 4
  • 9. สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนออกซินมีผลต่อการเจริญเติบโตของดอกชบา แล้วสารละลายออกซินที่มีความเข้นข้นสูง จะมีผลทําให้ดอกชบาเพิ่มจํานวนมากขึ้น จุดประสงค์การทดลอง 1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินต่อจํานวนดอกของต้นชบา 2. เพื่อฝึกการดูแลต้นชบา 3. เพื่อศึกษาหาปริมาณฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสมในการเร่งดอกของต้นชบา ตัวแปรการทดลอง ตัวแปรต้น : ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน ตัวแปรตาม : จํานวนดอกของต้นชบา ตัวแปรควบคุม : สายพันธุ์ของต้นชบา, ปริมาณนํ้า และปุ๋ ยที่ต้นชบาได้รับต่อวัน, ปริมาณยาฆ่าแมลงที่ฉีดให้ ต้นชบา, สถานที่เพาะปลูก 5
  • 10. รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง - ชบาพันธุ์ฟิลิปปินส์ และกระถางต้นไม้จํานวน 9 ต้น - ฮอร์โมนออกซินความเข้มข้นร้อยละ 0.1 โดยปริมาตร - ฮอร์โมนออกซินความเข้มข้นร้อยละ 0.5 โดยปริมาตร - ฟ็อกกี้ จํานวน 3 อัน - ถุงพลาสติกที่ใช้รองกระถาง - ปุ๋ ย และยาฆ่าแมลง ระยะเวลาในการทดลอง ตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 2 สิงหาคม 2560 6
  • 13. ขั้นตอนการทดลอง 1. เลือกต้นไม้และฮอร์โมนที่ใช้ทําการทดลอง 2. จัดหาต้นชบาสายพันธุ์ฟิลิปปินส์ 9 ต้น 3. เตรียมสารละลายฮอร์โมนออกซิน (2กลุ่ม) -ความเข้มข้นร้อยละ 0.1 โดยปริมาตร -ความเข้มข้นร้อยละ 0.5 โดยปริมาตร 4. จัดสถานที่เพาะเลี้ยงต้นชบา 9 ต้น 5. นับจํานวนดอกของต้นชบาแต่ละต้น และบันทึกผล 6. รดนํ้า และฉีดสารละลายฮอร์โมนออกซินตามชุดทดลอง 7. ทําตามข้อ 5, 6 ในวันเก็บผลการทดลอง (2 ครั้งต่อสัปดาห์) ตลอดระยะเวลาทําการทดลอง 9
  • 14. ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง วันที่ ชุดควบคุม Low Dose High Dose จํานวน ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 เฉลี่ย ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 เฉลี่ย ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 เฉลี่ย 8/6/2017 4 0 7 4 7 5 5 6 1 0 0 1 12/6/2017 2 0 2 1 8 3 7 6 0 0 0 0 15/6/2017 1 0 0 1 8 3 6 6 0 0 0 0 19/6/2017 - 0 0 0 7 3 5 5 0 0 0 0 22/6/2017 - 0 0 0 5 2 4 4 0 0 0 0 26/6/2017 - 0 0 0 3 0 3 2 0 0 0 0 29/6/2017 - 0 0 0 1 0 2 1 0 0 0 0 3/7/2017 - 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 6/7/2017 - 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 13/7/2017 - 1 0 1 1 1 4 2 1 2 0 1 17/7/2017 - 2 0 1 1 0 6 3 1 3 1 2 24/7/2017 - 0 0 0 0 2 5 3 1 1 0 1 31/7/2017 - 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 0 2/8/2017 - 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 0 - หมายถึงต้นชบาตาย ตารางที่ 1 แสดงจํานวนดอกของต้นชบาในวันเก็บผลการทดลอง 10
  • 15. วิเคราะห์ผลการทดลอง กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง ภาพที่ 1 กราฟเส้นแสดงค่าเฉลี่ยจํานวนดอกของต้นชบาจากการเก็บผลการทดลอง จากกราฟเส้นด้านบน สามารถวิเคราะห์ได้ว่า ฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นร้อยละ 0.1 โดย ปริมาตร (Low dose) มีผลทําให้ต้นชบามีจํานวนดอกมากกว่า ความเข้มข้นร้อยละ 0.5 โดยปริมาตร (High dose) และร้อยละ 0 โดยปริมาตร (ชุดควบคุม) ดังนั้น ฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นร้อยละ 0.1 โดย ปริมาตร มีผลทําให้ต้นชบามีจํานวนดอกมากที่สุด ความเข้มข้นของฮอร์โมนที่มากเกินไป มีผลทําให้จํานวน ดอกเพิ่มขึ้นน้อย 0 1 2 3 4 5 6 7 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 9 ครั้งที่ 11 ครั้งที่ 13 ค่าเฉลี่ยจํานวนดอกของต้นชบาจากผลการทดลอง ชุดควบคุม Low dose High dose 11
  • 16. สรุปและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง ฮอร์โมนออกซินความเข้มข้น 0.1% มีผลมากที่สุดในชุดทดลองทั้งหมดในการเพิ่มจํานวนดอกของ ต้นชบา เนื่องจากฮอร์โมนออกซินมีฤทธิ์ในการกระตุ้นการแบ่งเซลล์ การยืดขยายตัวของเซลล์และส่งเสริม โปรตีนที่จําเป็นต่อการเติบโตแต่ออกซินที่วามเข้มข้นสูงไปจะยับยั้งการเจริญเติบโตและเป็นพิษต่อพืช สามารถสรุปได้ว่า ออกซินที่มีความเข้มข้น 0.5% เป็นความเข้มข้นที่มากเกินไปในการเร่งดอก ทําให้จํานวน ดอกลดลงเรื่อยๆ และออกซินที่ความเข้มข้น 0.1% เป็นความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุดใน3กลุ่มการทดลอง ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 1. ควรหาสถานที่ปลูกชบาที่เป็นโรงเรือนกันฝนได้ เนื่องจากบางครั้งฝนตกหนักนํ้าท่วมทําให้ต้นไม้ ล้ม 2. ควรเลือกยาฆ่าแมลงที่ใช้กําจัดศัตรูพืชที่แรงกว่านี้ เพราะยาฆ่าแมลงที่ใช้ให้ผลช้าและไม่สามารถ กําจัดหนอนได้หมด 3. ควรรดนํ้าให้ครบทุกวัน เนื่องจากช่วงหยุดอ่านหนังสือสอบไม่สามารถเข้าโรงเรียนมารดนํ้าทําให้ ต้นไม้เหี่ยว ใบเหลือง 12
  • 22. บรรณานุกรม 1. http://puechkaset.com/%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B2/ 2. https://sites.google.com/site/selllaeakarbaengsell/hnwy-thi-2-kar-txb-snxng-khxng-phuch-tx-sar- khwbkhum-kar-ceriy-teibto/1-3-xxk-sin-auxin 3. https://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=668&name=%20Shoe%20flower, %20China%20rose%20-%20Shoe%20Flower%20 4. http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm 18