SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
สฤณี อาชวานันทกุล
บริษัท ป่าสาละ จากัด
21 สิงหาคม 2558
“เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย”
และแนวโน้มของ “การธนาคารที่ยั่งยืน”
ดาเนินการภายใต้ทุนวิจัยจาก
ป่าสาละคือใคร?
2
“Sustainable Business Accelerator”
ป่าสาละเป็นบริษัท “ปลูกธุรกิจที่ยั่งยืน” แห่งแรกในประเทศไทย ก่อตั้งเดือน ก.ค.
2556 เป้าหมายของเราคือจุดประกายและดาเนินวาทกรรมสาธารณะเกี่ยวกับธุรกิจที่
ยั่งยืน ผ่านการจัดสัมมนา อบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และออนไลน์
รวมทั้งผลิตงานวิจัยในประเด็นความยั่งยืน และส่งเสริมการวัดผลตอบแทนทางสังคม
เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย คืออะไร?
• การรวมตัวกันของนักการเงิน นักการธนาคาร และบุคลากรในภาค
การเงิน รวมถึงนักวิชาการด้านการเงินการธนาคาร ผู้มีความสนใจ
ร่วมกันที่จะขับเคลื่อนภาคธนาคารกระแสหลักในไทย ให้เปลี่ยนผ่าน
ไปสู่ “การธนาคารที่ยั่งยืน” (sustainable banking) ได้อย่างเป็น
รูปธรรม
3
วัตถุประสงค์ของเครือข่ายฯ
• เป็นแหล่งเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการธนาคารที่ยั่งยืนของ
สมาชิก และระหว่างสมาชิกกับบุคคลภายนอก ผ่านการจัดประชุม
ประชุมเชิงปฏิบัติการ และ/หรืองานสัมมนารายไตรมาส
• เป็นเวทีกลางในการค้นคว้าวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการธนาคารที่
ยั่งยืน
• เป็นสถาบันกลางในการติดต่อประสานงานกับองค์กรระหว่างประเทศที่
ทางานเกี่ยวข้องกับการธนาคารที่ยั่งยืน อาทิ BSR, Global Alliance
of Banking on Values (GABV), Equator Principles,
International Finance Corporation
4
คุณสมบัติของผู้ประสงค์เป็นสมาชิก
• ประกอบอาชีพเกี่ยวข้องกับภาคการเงินการธนาคารในประเทศไทย อาทิ
นายธนาคาร นักวิเคราะห์ เจ้าหน้าที่องค์กรกากับดูแล กรรมการกลุ่ม
องค์กรการเงินชุมชน หรือนักวิชาการด้านการเงิน
• มีความสนใจในแนวคิด วิถีปฏิบัติ และเหตุผลทางธุรกิจของ “การธนาคาร
ที่ยั่งยืน”
• สามารถสละเวลามาร่วมกิจกรรมของเครือข่ายฯ ได้ไม่น้อยกว่าปีละ 2 ครั้ง
5
เป้าหมายโครงการวิจัย
 เพื่อสร้างความตระหนักในความจาเป็นของการเปลี่ยนวิถีธุรกิจของธนาคารไทยสู่
“การธนาคารที่ยั่งยืน” ในบรรดาบุคลากรทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อาทิ หน่วยงาน
ภาครัฐ องค์กรกากับดูแล นักการเงิน นักการธนาคาร รวมถึงสื่อมวลชนและ
ประชาชนทั่วไป
 เพื่อจัดตั้ง “เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย” (Sustainable Banking
Thailand Network - SBTN) เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับวิถีการธนาคารที่
ยั่งยืน โดยสมาชิกเครือข่ายคือผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจธนาคารไทย ที่สนใจในวิถีการ
ธนาคารที่ยั่งยืนและสนใจจะเป็น “ผู้นาการเปลี่ยนแปลง” ในองค์กรของตนเอง
 เพื่อรณรงค์ส่งเสริมธรรมเนียมปฏิบัติ มาตรฐาน และโครงการที่เกี่ยวข้องกับวิถีการ
ธนาคารที่ยั่งยืน อาทิ ชุดหลัก Equator Principles
 ดาเนินการภายใต้ทุนวิจัยจาก Rockefeller Foundation
6
(บาง)นิยามของ “การธนาคารที่ยั่งยืน”
 “การเงินที่ยั่งยืน หมายถึง การจัดสรรทุนการเงินและผลิตภัณฑ์บริหาร
ความเสี่ยงให้กับโครงการและธุรกิจที่ส่งเสริมและไม่บั่นทอนความเจริญ
ทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และความยุติธรรมทางสังคม”
(Forum for the Future, 2002)
 “การธนาคารที่ยั่งยืน หมายถึง การตัดสินใจของธนาคารที่จะส่งมอบ
ผลิตภัณฑ์และบริการให้แต่เฉพาะกับลูกค้าที่คานึงถึงผลกระทบด้าน
สิ่งแวดล้อมและสังคมจากกิจกรรมของตน” (Bouma, Jeucken, and
Klinkers, 2001)
7
องค์ประกอบของ “การธนาคารที่ยั่งยืน” ในรายงาน “Banking for
Sustainability” (IFC, 2007)
1. ความมั่นคงทางการเงินของสถาบันการเงินและลูกค้า จะได้สามารถมี
ส่วนร่วมในระยะยาวกับการพัฒนาประเทศ
2. ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจของโครงการและบริษัทต่างๆ ที่สถาบันการเงิน
ออกทุนให้
3. ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมผ่านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
4. ความยั่งยืนทางสังคมผ่านสวัสดิการของชุมชน
8
9
ห้าระดับของ “ธนาคารที่ยั่งยืน” (Kaeufer, ongoing)
1. ระดับ 1: Unfocused corporate activities – ทากิจกรรมซีเอสอาร์
การกุศล สปอนเซอร์อีเวนท์ ฯลฯ ที่เน้นการประชาสัมพันธ์ ไม่เกี่ยวข้อง
ใดๆ กับการดาเนินธุรกิจหลักของธนาคาร
2. ระดับ 2: Isolated business projects or business practices –
มีโครงการ กิจกรรม หรือผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืน อาทิ “สินเชื่อเขียว” มาเสริม
ผลิตภัณฑ์หลัก แต่ทั้งหมดยังมีสัดส่วนน้อยมากเมื่อเทียบกับกิจกรรมทาง
ธุรกิจทั้งหมดของธนาคาร ผลิตภัณฑ์หรือบริการเหล่านี้อาจเป็นปฏิกิริยา
ต่อเสียงสะท้อนจากสาธารณะ ไม่ใช่ผลลัพธ์ของการนาหลักความ
รับผิดชอบต่อสังคมมาใช้ทั่วทั้งธนาคาร
10
ห้าระดับของ “ธนาคารที่ยั่งยืน” (Kaeufer, ongoing) (ต่อ)
3. Level 3: Systemic business practices – หลักการและธรรมเนียม
ปฏิบัติเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นรากฐานของผลิตภัณฑ์และ
กระบวนการต่างๆ ของธนาคาร ผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
เป็นมิติหลักของกิจกรรมทางธุรกิจทุกชนิด
4. Level 4: Strategic ecosystem innovation – จับมือเป็นแนวร่วมกับ
ธนาคารอื่นและสื่อสารกับสาธารณะ สนับสนุนนักลงทุนที่รับผิดชอบและการ
แก้ไขกฎเกณฑ์กากับดูแลภาคธนาคารให้มุ่งสู่ความยั่งยืน
5. Level 5: Intentional (purpose-driven) eco-system innovation
– เป้าหมายไม่ใช่ “หลีกเลี่ยงสถานการณ์เชิงลบ” อีกต่อไป แต่เน้นการสร้าง
นวัตกรรมเพื่อสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
11
อีกวีธีมอง : Jeucken จาก Rabobank (1998)
12ที่มา: The Changing Environment of Banks, Jeucken & Bouma, 1999
รูปธรรมของธนาคารที่ยั่งยืนในไทย?
• การธนาคารที่ยั่งยืนในภาคปฏิบัติวันนี้จะต้องพิสูจน์ผ่าน
การดาเนินธุรกิจในสองด้านหลักด้วยกัน
1) การปล่อยสินเชื่ออย่างรับผิดชอบ ทั้งสินเชื่อสาหรับลูกค้า
ธุรกิจ และสินเชื่อสาหรับลูกค้ารายย่อย และ
2) การเสริมสร้างการเข้าถึงบริการทางการเงินของประชากรที่
ยังเข้าไม่ถึง
13
รูปธรรมของธนาคารที่ยั่งยืนในไทย?
• คณะวิจัยพบว่า วงการธนาคารพาณิชย์ไทยโดยรวมยัง
ค่อนข้างล้าหลังทั้งสองด้าน แต่ธนาคารพาณิชย์ที่นา
วิถีปฏิบัติของธนาคารที่ยั่งยืนไปประยุกต์ใช้น่าจะมี
โอกาสทางธุรกิจหลายประการ โดยเฉพาะเมื่อคานึงถึง
ความสนใจของธนาคารหลายแห่งที่จะก้าวขึ้นเป็นผู้นา
ในระดับภูมิภาค ภายหลังการเปิดตัวของประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
Community: AEC) ประกอบกับสภาพแวดล้อมที่
เอื้ออานวยต่อการบุกตลาดผู้มีรายได้น้อย โดยเฉพาะ
การเติบโตอย่างก้าวกระโดดของการใช้สมาร์ทโฟน
และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
14
เหตุผลทางธุรกิจของการปล่อยสินเชื่อลูกค้าธุรกิจอย่างรับผิดชอบ
15
ปรับปรุงการบริหารจัดการความเสี่ยง เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด / ขยายฐาน
ลูกค้าเดิม
เข้าสู่ตลาดใหม่ / ได้ฐานลูกค้าใหม่
มี – การบูรณาการเกณฑ์ด้าน
ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเข้า
ไปในกระบวนการกลั่นกรองสินเชื่อ
อาทิ ด้วยการรับชุดหลักการอีเควเตอร์
สามารถช่วยลด
1. ความเสี่ยงจากการถูกฟ้องร้องหรือ
ดาเนินคดี
2. ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง และ
3. ความเสี่ยงทางการเงิน
ที่เกิดจากความเสี่ยงด้านสังคมและ
สิ่งแวดล้อมของโครงการที่มีแนวโน้มจะ
ก่อผลกระทบเชิงลบสูง และไม่ถูกจากัด
หรือรับมืออย่างเพียงพอในขอบเขตของ
กฎหมายและกฎระเบียบภาครัฐ
N/A มี – ด้วยการเน้นผลิตภัณฑ์และบริการ
ทางการเงินสาหรับกิจการใหม่ๆ ที่สร้าง
ประโยชน์สุทธิด้านสังคมและ
สิ่งแวดล้อม อาทิ
• พลังงานหมุนเวียน
• เกษตรอินทรีย์
• การพัฒนาชุมชน
เหตุผลทางธุรกิจของการปล่อยสินเชื่อลูกค้ารายย่อยอย่างรับผิดชอบ
16
ปรับปรุงการบริหารจัดการความเสี่ยง เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด / ขยายฐาน
ลูกค้าเดิม
เข้าสู่ตลาดใหม่ / ได้ฐานลูกค้าใหม่
เป็นไปได้ – ถ้าหากธนาคารผนวกกลไก
คุ้มครองผู้บริโภคทางการเงินเข้ากับ
โครงการให้การศึกษาทางการเงินเพื่อ
ลดความเสี่ยง อาทิ ความเสี่ยงที่จะผิด
นัดชาระหนี้ของลูกหนี้ที่มีหนี้สินเกินตัว
หัวข้อที่น่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภค
ทางการเงินไทยเป็นพิเศษ ได้แก่ การรี
ไฟแนนซ์หนี้ส่วนบุคคล และการเพิ่ม
ความโปร่งใสของการเปิดเผย
ค่าธรรมเนียมสินเชื่อ
มี – ผ่านการผนวกผสานโครงการให้
การศึกษาหรือความรู้เรื่องทางการเงิน
(financial literacy) เข้าไปในการนาส่ง
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ณ จุดขาย
ในทางที่ทาให้ความรู้ดังกล่าวเป็น “จุด
ขาย” ที่ดึงดูดผู้บริโภค ยกตัวอย่างเช่น
ด้วยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและ
ลดอัตราดอกเบี้ยสินเชื่อสาหรับลูกค้าที่
ฝากเงินอย่างสม่าเสมอ
N/A
เหตุผลทางธุรกิจของการขยายการเข้าถึงบริการทางการเงินในระบบ
17
ปรับปรุงการบริหารจัดการความเสี่ยง เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด / ขยายฐาน
ลูกค้าเดิม
เข้าสู่ตลาดใหม่ / ได้ฐานลูกค้าใหม่
N/A N/A มี – ผลิตภัณฑ์ไมโครไฟแนนซ์
โดยเฉพาะสินเชื่อและเงินโอน ยังเป็นที่
ต้องการอย่างสูงสาหรับผู้มีรายได้น้อย
ในประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์
สามารถก้าวข้ามข้อจากัดของโมเดล
ธุรกิจแบบดั้งเดิมของธนาคารกระแส
หลักด้วยการใช้ช่องทางการขายใหม่ๆ
อาทิ
1. การธนาคารผ่านมือถือ (mobile
banking) ที่มีจุดแปลง e-money
เป็นเงินสดได้
2. การร่วมมือกับกลุ่มการเงินฐาน
รากในชุมชน อาทิ สหกรณ์ออม
ทรัพย์ สถาบันการเงินชุมชน กลุ่ม
ออมทรัพย์ ฯลฯ
ตลาดสินเชื่อที่น่าสนใจ
18
ธนาคารยังคงเป็นแหล่งทุนที่สาคัญที่สุดในไทย
19
ที่มา: World Bank
สินเชื่อเอกชนต่อจีดีพี: 154% ในปี
2013 สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลกและ
เอเชียตะวันออก
ปัจจัยผลักดันสาคัญ (key drivers) ของการธนาคารที่ยั่งยืน
20ที่มา: ESG Trends in the Banking Sector, Sustainalytics, 2014
ในไทย: นโยบายรัฐให ้
ความสาคัญกับการขยาย
บริการทางการเงิน (financial
inclusion) มากขึ้น, ธปท. ให ้
ความสาคัญมากขึ้นกับการ
กากับ “ความรับผิดชอบ”
ในไทย: ยังไม่มีตลาดความ
ต ้องการ “ผลิตภัณฑ์การเงินที่
รับผิดชอบ” อย่างชัดเจน
เพราะคนขาดข ้อมูล,
วัฒนธรรมว่าลูกหนี้เป็นฝ่ ายผิด
ในไทย: ภาคประชา
สังคมกดดันธนาคารมาก
ขึ้น แต่กฎเกณฑ์ยังไม่
ทันกับปัญหาสิ่งแวดล ้อม
ในไทย: คนให ้
ความไว ้วางใจและ
เชื่อถือธนาคารใน
ระดับสูง
ในไทย: นัก
ลงทุนยังไม่มี
บทบาท
21
“ต้นทุน” ของปัญหาการขาดจริยธรรมทางธุรกิจ
 ธนาคารขนาดใหญ่สูญเสียความไว้วางใจจากสาธารณะในระดับที่ไม่เคย
ปรากฎมาก่อน
(ข้อมูล ณ ปี 2555)
Westpac Banking Corp : ผู้นาอุตสาหกรรมธนาคารใน
Dow Jones Sustainable Index ประจาปี 2014
22ที่มา: Dow Jones Sustainability Index Industry Group Leader Report, RobecoSAM & DJSI
นโยบายธนาคาร: ทา
รายงานวิเคราะห์ความเท่า
เทียมของรายได ้, จ ้างชน
พื้นเมืองแบบ proactive
Everywhere Banking ให ้
ทาธุรกรรมผ่านการส่ง SMS
บนมือถือ, In-store
banking model
55% ของสินเชื่อ
สาธารณูปโภคและ
โครงสร ้างพื้นฐานปล่อย
ให ้กับไฟฟ้าพลังน้าและ
พลังงานหมุนเวียน
หลักการปล่อยสินเชื่อที่รับผิดชอบของ Westpac
1. เราจะปล่อยกู้เฉพาะในจานวนที่ลูกค้ามีศักยภาพในการชาระคืน
2. เราจะวางตลาดสินค้าและบริการอย่างรับผิดชอบ
3. เราสนับสนุนลูกค้าที่เผชิญกับปัญหาทางการเงิน
4. เราช่วยเพิ่มความรู้เรื่องทางการเงิน (financial literacy) และ
ศักยภาพทางการเงิน (financial capability) ของลูกค้า
ที่มา: “Principles for Responsible Lending,” 2013, เว็บไซต์ Westpac Banking Group
23
24
Standard Chartered: ทุก $1m ที่ปล่อยกู้ SMEs ในกานา
และแซมเบียสร้าง $3m กาไร+ภาษี+เงินเดือนคนในท้องถิ่น
ที่มา: Standard Chartered
25
ตัวอย่างกลไกทางการเงิน: Debt-for-Nature Swap (DNS)
ความท้าทายบางประการ
• “คนตีตั๋วฟรี” (free-rider)
• นโยบายรัฐยังไม่บูรณาการอย่างสอดคล้องกับหลักการ
พัฒนาที่ยั่งยืน ขาดความชัดเจนและต่อเนื่อง
• อุปสงค์ผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ยั่งยืนยังไม่มีมาก (แต่น่าจะ
เติบโตตามตลาด เช่น พลังงานหมุนเวียน)
• วัฒนธรรม(?)ของผู้บริโภคบริการทางการเงิน
• ข้อมูลพื้นฐานขาดแคลน
26
ดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และ/หรือสมัคร
เป็นสมาชิก “เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่ง
ประเทศไทย” ได้ที่
www.salforest.com
info@salforest.com
02 258 7383

More Related Content

Similar to Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends

ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี LyraJyn
 
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลContent สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลwutichai
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดMaykin Likitboonyalit
 
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน CompressOrange Wongwaiwit
 
โจทย์กรณีศึกษา บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 ตุลาคม 2558
โจทย์กรณีศึกษา บทที่  2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 ตุลาคม 2558โจทย์กรณีศึกษา บทที่  2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 ตุลาคม 2558
โจทย์กรณีศึกษา บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 ตุลาคม 2558ANUN MUNBOON
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Tanya Sattaya-aphitan
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITIMC Institute
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักpromboon09
 
Innovative Marketing 03102018
Innovative Marketing 03102018Innovative Marketing 03102018
Innovative Marketing 03102018pantapong
 
เปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECเปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECUtai Sukviwatsirikul
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์Preaw Adisaun
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023pantapong
 

Similar to Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends (20)

NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
ถอดบทเรียนยุทธศาสตร์ การลงทุนของเครือซีพี
 
Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลContent สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
 
Thailand payment Report 2010 (Thai)
Thailand payment Report 2010 (Thai)Thailand payment Report 2010 (Thai)
Thailand payment Report 2010 (Thai)
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
 
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
 
โจทย์กรณีศึกษา บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 ตุลาคม 2558
โจทย์กรณีศึกษา บทที่  2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 ตุลาคม 2558โจทย์กรณีศึกษา บทที่  2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 ตุลาคม 2558
โจทย์กรณีศึกษา บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 5 ตุลาคม 2558
 
Csrmono2013
Csrmono2013Csrmono2013
Csrmono2013
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 
Ict asean presentation
Ict asean presentationIct asean presentation
Ict asean presentation
 
Innovative Marketing 03102018
Innovative Marketing 03102018Innovative Marketing 03102018
Innovative Marketing 03102018
 
เปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECเปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AEC
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023
 

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 

Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends