SlideShare a Scribd company logo
1 of 142
Download to read offline
ความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม (CSR) และธุรกิจที่ยั่งยืน
สฤณี อาชวานันทกุล
กรรมการด้านการพัฒนาความรู้ บริษัท ป่าสาละ จากัด
18 มีนาคม 2563
ดาวน์โหลดสไลด์ชุดนี้ได้จาก
https://www.slideshare.net/sarinee/introduction
-to-csr-and-sustainable-business
• การเป็นพลเมืองของธุรกิจ / CSR / ธุรกิจที่ยั่งยืน
• ประเด็นความ(ไม่)ยั่งยืนเร่งด่วนระดับโลกและไทย
• จาก CSR สู่ CSV
• ความท้าทายในไทย: ธุรกิจอาหาร-ต้นนา
• ความท้าทายในไทย: ธุรกิจธนาคาร
• ความท้าทายในไทย: ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
• การประเมินผลลัพธ์ทางสังคม
• ธุรกิจไทยควรทาอะไร?
ประเด็นนาเสนอ
3
P. xx
= เลขหน้าในหนังสือ
4
การเป็นพลเมืองของธุรกิจ / CSR / ธุรกิจที่ยั่งยืน
“พลเมือง” กับ “พลเมืองดี”
6ที่มา: http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/topic/A11195934/A11195934.html
“พลเมือง” กับ “พลเมืองดี”
• “พลเมือง” มี “สังกัด” และ “สิทธิ” ในชุมชนและสังคม
• “พลเมืองดี” คือคนที่ร่วมทุกข์ร่วมสุข ช่วยเหลือเจือจาน
สังคมหรือชุมชนที่ตนเป็นสมาชิก ไม่ใช่คิดถึงแต่ตัวเอง
7
ที่มา: http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/topic/A11195934/A11195934.html
ธุรกิจเป็น “พลเมือง” ในแง่ใดบ้าง?
• ธุรกิจเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ธุรกิจขาดสังคมไม่ได้เหมือนกับที่คน
ขาดนาและอากาศไม่ได้ แต่สังคมก็พึ่งพาธุรกิจด้วย
• ธุรกิจไม่ใช่พลเมืองแบบที่คนเป็นพลเมือง – ไม่มีหนังสือเดินทาง ไม่
มีสิทธิออกเสียงเลือกตัง แต่มีสิทธิบางอย่างเหมือนกับคน เช่น สิทธิ
ในการบริจาคเงินอุดหนุนพรรคการเมือง
8
มุมมอง 3 มุมเกี่ยวกับ “การเป็นพลเมืองของธุรกิจ”
1) มุมจากัด (limited view) – การเป็นพลเมือง หมายถึงการที่ธุรกิจทาการ
กุศล (corporate philanthropy) ในชุมชนที่ตนประกอบธุรกิจ ทาตัวเป็น
“พลเมืองดี” ด้วยการบริจาคเงินให้กับองค์กรการกุศล จัดงานแข่งกีฬา แจก
ทุนการศึกษา ฯลฯ
9
2) มุมเท่าเทียม (equivalent view) – “การเป็นพลเมือง” ของธุรกิจหมายถึง
การแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม (ซีเอสอาร์) ปัจจุบันบริษัท
นักวิเคราะห์ ที่ปรึกษา และสื่อส่วนใหญ่มองการเป็นพลเมืองของธุรกิจใน
มุมนี โดยมองว่าการเป็นพลเมืองดีของธุรกิจมี 4 ระดับเช่นเดียวกับซี
เอสอาร์ นั่นคือ มีความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ กฎหมาย และจริยธรรม
10
มุมมอง 3 มุมเกี่ยวกับ “การเป็นพลเมืองของธุรกิจ”
3) มุมขยาย (extended view) – มอง “การเป็นพลเมือง” จากมุมทาง
การเมือง เช่น การอ้างสิทธิพลเมืองของภาคธุรกิจ การให้ธุรกิจมีส่วนร่วมใน
กลไกธรรมาภิบาลโลก หรือการเปิดให้ธุรกิจร่วมกับรัฐในการคุ้มครองและหนุน
เสริมสิทธิพลเมืองของปัจเจก ผู้เชี่ยวชาญบางท่านเรียกการเป็นพลเมืองในมุมนี
ว่า “ไกลกว่าซีเอสอาร์” (beyond CSR) หรือ “ซีเอสอาร์ทางการเมือง”
11
มุมมอง 3 มุมเกี่ยวกับ “การเป็นพลเมืองของธุรกิจ”
ก่อนหน้านีมีแนวคิดที่หลากหลาย...
• “การเป็นพลเมืองดี” มักถูกใช้ในความหมาย “ช่วยเหลือสังคม” เช่น
บริจาคเงิน/สิ่งของ/ลงแรงช่วงวิกฤตินาท่วม
• “ซีเอสอาร์” มักถูกใช้ในความหมาย “คืนกาไรสู่สังคม/ชุมชน” เพียงมิติ
เดียว เน้นการทาการกุศลรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะในชุมชนที่ไม่ไว้ใจธุรกิจ
• “ธุรกิจที่ยั่งยืน” มักถูกใช้ในความหมาย “การทาธุรกิจที่สอดคล้องกับ
หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน” คือไม่ลิดรอนคุณภาพชีวิตของคนรุ่นหลัง → เน้น
ด้านสิ่งแวดล้อม
12
…แต่ปัจจุบันกาลังหลอมรวมและยกระดับ
รายงาน "Corporate citizenship: Profiting from a sustainable
business" ปี 2008 โดย Economist Intelligence Unit นิยาม “การเป็น
พลเมืองของธุรกิจ” ว่า
13
“การก้าวข้ามการกุศล (philanthropy) และการปฏิบัติตามกฎหมาย
(compliance) ไปสู่การจัดการกับผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ของธุรกิจ รวมถึงการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจ
“พลเมืองภาคธุรกิจ” ไม่เพียงแต่มีความรับผิดต่อผู้ถือหุ้นเท่านั้น หากแต่
ยังมีความรับผิดต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ อาทิ พนักงาน ผู้บริโภค คู่ค้า
ชุมชนท้องถิ่น และสังคมส่วนรวม”
14
อเมริกา: ใครให้ความสาคัญกับความรับผิดชอบของบริษัทที่สุด?
การพัฒนาที่ผ่านมาไม่ยั่งยืน
15
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน”
16
• 1962 “Silent Spring” โดย Rachel Carson
• 1972 “Limits to Growth” โดย
Club of Rome
• 1972 UN Conference on the Human
Environment ในกรุงสต็อคโฮล์มส์
• 1973 วิกฤตินามันครังแรก
• 1987 Brundtland Commission Report : “Our Common Future”
• 1989 Montreal Agreement เพื่อกาจัดสาร CFC
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” (ต่อ)
17
• 1991 World Business Council on Sustainable Development ก่อตัง
• 1992 Earth Summit ในกรุงริโอ เดอจาไนโร
• 1997 Kyoto Protocol
• 2005 เฮอริเคน Katrina / GE launch “Ecomagination”
• 2010 Organisation for Economic Co-operation and Development
(OECD): Interim Green Growth Report
• 2011 United Nations Environment Programme (UNEP) Green
Economy Report
• 2011 European Commission’s EU Low Carbon Roadmap
การปะทะระหว่างโลกทัศน์ หรือความเคยจริง vs ความจริง
18
“เรื่องจำเป็น” ต่อ
ควำมอยู่รอดในยุคนี้
“เรื่องหรูหรำ” ที่
ไม่จำเป็นยำมตกอับ หรือ
การพัฒนาที่ยั่งยืนคืออะไร ระหว่าง...
ความเป็นจริง
ที่มา : www.storyofstuff.com, มูลนิธิโลกสีเขียว
กำจัด
ขยะผลิต
สินค ้ำ
สกัด
วัตถุดิบ
จัดจำหน่ำย
บริโภค
กำรตลำด
เพื่อทิ้งขว ้ำง
19
ทุนนิยมอุตสาหกรรม = จากอู่สู่ขยะ
“เศรษฐกิจที่ยั่งยืน” ในอุดมคติ: “จากอู่สู่อู่” (cradle to cradle)
พืช
สัตว์
ผู้ย่อยสลาย
สาร
อาหาร
ในดิน
“จากอู่สู่อู่” ในระบบนิเวศ “จากอู่สู่อู่” ในระบบมนุษย์
ผลิต/ประกอบ
วัสดุ ผลิตภัณฑ์
บริโภค
20
ความหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืน
“การพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง วิถีการพัฒนาที่สามารถ
ตอบสนองความต้องการของปัจจุบันโดยไม่ลิดรอน
ความสามารถของคนรุ่นหลังในการตอบสนองความ
ต้องการของพวกเขา”
- Brundtland Report (1987) -
21
ลักษณะสาคัญบางประการของ “การพัฒนาอย่างยั่งยืน”
22
ให้ความสาคัญกับความเท่าเทียมกัน (equity) และความยุติธรรม (fairness)
มีมุมมองระยะยาว (long-term view) ภายใต้หลักความรอบคอบ
(precautionary principle) ผู้เชี่ยวชาญบางคนเสนอว่า ตราบใดที่คนรุ่นหนึ่งคิดถึง
คนรุ่นต่อไป (ประมาณ 50 ปี) ก็แปลว่าคนทุกรุ่นจะได้รับการดูแล
คิดแบบเป็นระบบ (systems thinking) ซึ่งต้องอาศัยความเข้าใจในความ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
ประเด็นความ(ไม่)ยั่งยืนเร่งด่วนระดับโลกและไทย
Global Risk Report โดย World Economic Forum
• รายงานเล่มล่าสุดคือฉบับ พ.ศ. 2562 เป็นรายงานฉบับที่ 14
• จัดทาโดย World Economic Forum ร่วมกับ Marsh & McLennan
Companies และ Zurich Insurance Group
ความเสี่ยงโลก (global risk)
นิยาม เหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนหรือเงื่อนไขที่หากเกิดขึนภายในกรอบเวลา 10 ปีข้างหน้า
จะทาให้เกิดผลกระทบเชิงลบที่มีนัยสาคัญต่อหลายประเทศหรือหลายอุตสาหกรรม
แนวโน้มโลก (global trend)
นิยาม แนวโน้มที่กาลังเกิดขึนอยู่ในปัจจุบันและอาจส่งผลให้ความเสี่ยงโลกมีความรุนแรงขึน
และ/หรือ ปรับเปลี่ยนลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงต่างๆ โดยรวมถึงแนวโน้มที่
ช่วยบรรเทาความเสี่ยงเหล่านันด้วย
24
ความเสี่ยงโลกตาม Global Risk Report ปี 2019
25
ความเชื่อมโยงระหว่างความเสี่ยงต่างๆ
26
• ส่วนที่ 1 ความเสี่ยงระดับโลกใน พ.ศ. 2019
การวิเคราะห์ความเสี่ยงในแง่ต่างๆ เช่น ความน่าจะเป็นและผลกระทบจากความเสี่ยงแต่ละ
ประเภท พัฒนาการของแต่ละความเสี่ยงปีต่อปี การรับรู้ความเสี่ยงในแต่ละภูมิภาค ความเชื่อมโยงระหว่าง
แต่ละความเสี่ยง ความเชื่อมโยงระหว่างความเสี่ยงและแนวโน้มโลก รวมทังระดับความกังวลที่แตกต่างกัน
ระหว่างความเสี่ยงในระยะสันและความเสี่ยงในระยะยาว
โครงสร้าง Global Risk Report ฉบับล่าสุด
27
โครงสร้าง Global Risk Report ฉบับล่าสุด
• ส่วนที่ 2 รายละเอียดความเสี่ยงและผลกระทบที่สาคัญ
ในรายงานจัดกลุ่มความเสี่ยงที่เชื่อมโยงกันออกเป็น 4 กลุ่มย่อยที่ถือเป็นความ
เสี่ยงสาคัญ โดยระบุผลกระทบ ปัจจัยผลักดัน และแนวทางการแก้ไข โดยความเสี่ยงทัง 4
กลุ่มประกอบด้วย
• Power and Values: การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงในโลกที่มีหลายแนวคิด (เช่น
ความเสี่ยงจากสงครามการค้าจีน-สหรัฐ และความถดถอยของแนวคิดพหุนิยม)
• Heads and Hearts: ด้านที่เป็นมนุษย์ของความเสี่ยงโลก (เช่น สถิติการป่วยเป็น
อาการทางจิต ความรุนแรง สาเหตุการตาย)
• Going Viral: การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงทางชีววิทยา (โรคระบาด การก่อการ
ร้ายทางชีวภาพ)
• Fight or Flight: การเตรียมพร้อมรับมือกับภาวะระดับนาทะเลหนุนสูง
28
การเติบโตของประชากรโลก
• จานวนประชากรโลกกาลังจะโตจาก 7 พันล้านคนในค.ศ. 2012 เป็น 9.6 ล้านคนใน
ค.ศ. 2050 มากกว่าร้อยละ 50 ของประชากรที่จะเกิดใหม่จะอยู่ในทวีปอาฟริกาที่
ในปัจจุบันประชากรจานวน 1 ใน 4 ขาดสารอาหารอยู่แล้ว
ที่มา: https://www.flickr.com/photos/laurenmanning/2979574719,
http://www.wri.org/blog/2013/12/global-food-challenge-explained-18-graphics
29
30
การขยายตัวของชนชันกลางในประเทศกาลังพัฒนา
P. 35
ที่ดิน นา และพลังงานที่ต้องใช้ในการผลิตอาหาร
31
P. 38
เรื่องที่เราไม่ค่อยรู้...
32
ผลกระทบต่อไทยจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
ที่มา: ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์ วิจัย
และฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลก
แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ “โครงการการจาลองสภาพ
ภูมิอากาศอนาคตสาหรับประเทศไทย
และพื้นที่ข้างเคียง” โครงการ
ศึกษาภายใต้การสนับสนุนของสานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย
http://startcc.iwlearn.or
g/doc/Doc_thai_23.pdf
33
ความเสี่ยงที่กรุงเทพฯ จะจมนา
• กรุงเทพฯ ทรุดตัวปีละ 3-5 เซนติเมตร จากการสูบนาใต้ดินเกินขนาด การกัด
เซาะชายฝั่งจากระดับนาทะเลที่สูงขึน และการก่อสร้างที่ไร้การควบคุม
• สุ่มเสี่ยงจะเกิดความเสียหาย 150,000 ล้านบาท
34
วัดขุนสมุทรจีน จ.สมุทรปราการ
35
Sustainable Development Goals (SDGs) คืออะไร
• ชุด “เป้าหมายโลก” ชุดใหม่ ซึ่งองค์การสหประชาชาติให้ทุกประเทศรับไปเป็นกรอบ
ในการพัฒนา รัฐบาล 193 ประเทศให้สัตยาบันในเดือนกันยายน 2558
• เป้าหมายทัง 17 ข้อถูกใช้เป็น “จริยธรรมสากล” กากับทิศทางการพัฒนาโลกในช่วง
15 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2558 ถึง 2573
• เป็นเป้าหมายที่รวมความคิดเห็นของทุกภาคส่วนมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของ UN
รวมทังภาคธุรกิจอย่างน้อยกว่า 1,500 รายจาก UN Global Compact มีส่วนร่วม
ในการพิจารณา
• ถึงแม้จะมีกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นรัฐบาลของประเทศต่างๆ แต่ SDGs มองว่าภาค
ธุรกิจมีความสามารถและต้องมีส่วนร่วมในการทาให้เป้าหมายต่างๆ บรรลุผล
36
37
38
39
40
41
จีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ไทย = 50%+ พลาสติกในทะเล
ปัญหาอาหาร(ไม่)ปลอดภัย
42
การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากรไทย
ที่มา: TDRI
43
การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากรไทย (ต่อ)
• ไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ (aging society) มาตังแต่ปี 2547
• ปี 2553 ประเทศไทยมีประชากรอายุ 65 ปี ขึนไปคิดเป็นสัดส่วน 9% ของประชากร
ทังหมด และจะเพิ่มขึนเป็น 14% ในปี 2564 และจะเพิ่มขึนเป็น 20% ในปี 2574 เมื่อนัน
จะเรียกประเทศไทยว่าเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด”
• สัดส่วนผู้สูงอายุของไทยมากกว่าประเทศอื่นๆ ในอาเซียน และไทยก้าวเข้าสู่สังคมคนแก่เร็ว
กว่าประเทศส่วนใหญ่ในอาเซียนประมาณ 20 ปี
• เมื่อ 50 ปีก่อน อัตราการเพิ่มประชากรเคยสูงมากเกิน 3% ต่อปี แต่ปัจจุบันลดลงเหลือ
0.5% ต่อปี และแนวโน้มจะลดต่าลงหรืออาจจะติดลบหลังปี 2569
• ภาพรวมประชากรไทยกาลังอยู่ในสภาพ “คงตัว” ตลอดช่วง 30 ปีข้างหน้า โดยประชากร
ไทยจะมีจานวนสูงสุด 66.4 ล้านคน ในปี 2569 หลังจากนันจะปรับลดลงอยู่ในสภาพคงตัว
ที่มา: รายงาน “การศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบเชิงนโยบายต่อการพัฒนาประเทศจากผลการคาดประมาณประชากรของไทย
พ.ศ. 2553-2583” จัดทาโดย “คณะอนุกรรมการคาดประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583” สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เผยแพร่เมื่อกุมภาพันธ์ 2556 44
45
ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ = ต้นทุน
46
• ปี 2011 ภัยธรรมชาติ
ทั่วโลกก่อความ
เสียหาย 380,000
ล้านเหรียญสหรัฐ สูง
เป็นประวัติการณ์
• ทศวรรษ 2000-2010
ภัยธรรมชาติรุนแรง
เพิ่มขึน 200%+ จาก
ทศวรรษก่อนหน้า
ผลกระทบต่อธุรกิจจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
47
“ฟองสบู่คาร์บอน” & ความเสี่ยงจาก stranded assets
• ถ้าหากปัญหาโลกร้อนรุนแรงขึนเรื่อยๆ หลังปี 2020 นามัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ
สารองของบริษัทต่างๆ อาจขุดขึนมาใช้ไม่ได้
48
“ฟองสบู่คาร์บอน” & ความเสี่ยงจาก stranded assets (ต่อ)
• ในกรณีนัน “สินทรัพย์” เหล่านีจะกลายเป็น “สินทรัพย์สูญเปล่า” หรือ stranded
assets ส่งผลต่อราคาหุ้นในอนาคต
• นักลงทุนสถาบันหลายรายเริ่มย้ายเงินออกจากหุ้นของบริษัทที่มีสินทรัพย์เหล่านีสูง
49
คนจนพึ่งพาบริการระบบนิเวศมากกว่า
50
• เกษตรกรรม ประมง และป่าไม้คิดเป็นสัดส่วนค่อนข้างน้อยของจีดีพี แต่บริการนิเวศของ
ธรรมชาติเป็นส่วนสาคัญใน “จีดีพีคนจน”
• ‘เศรษฐกิจเขียว’ จึงจาเป็นต่อการลดความจนและความเหลื่อมลา
สถานการณ์ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
51
สู่เศรษฐกิจสีเขียว: ความท้าทายคู่แฝด
ที่มา: The Ecological Wealth of Nations: Earth’s Biocapacity as New Framework for International Cooperation.
Global Footprint Network (2010) หน้า 13; ข้อมูลดัชนีพัฒนามนุษย์จาก Human Development Report 2009. UNDP (2009).
ประเทศในแอฟริกา
ประเทศในเอเชีย
ประเทศในยุโรป
ประเทศในอเมริกาใต้และทะเลคาริบเบียน
ประเทศในอเมริกาเหนือ
ประเทศในโอเชียเนีย
ขีดความสามารถทางชีวภาพเฉลี่ยต่อหัวของโลก ปี 1961
ขีดความสามารถทางชีวภาพเฉลี่ยต่อหัว
ของโลก ปี 2006
ดัชนีพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาติ
เส้น“การพัฒนามนุษย์ระดับสูง”ของUNDP
พัฒนามนุษย์ระดับสูงได้
ภายในขีดจากัดของโลก
รอยเท้านิเวศโลก(เฮคเตอร์ต่อหัว)
นักธุรกิจจานวนมากขึนเรื่อยๆ มองเห็นความจาเป็น
52
Green is the new Black
53
เหตุผลที่บริษัทอยากทาธุรกิจที่ยั่งยืน
• แรงจูงใจทางศีลธรรม
• ลดต้นทุนและลด/บริหารความเสี่ยง
• ประโยชน์ด้านประสิทธิภาพเชิงนิเวศ (eco-efficiency)
• สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่แตกต่างจากคู่แข่ง (product
differentiation)
• เป็นกลยุทธ์ในการเอาตัวรอดในระยะยาว (“creative
destruction”)
54
แต่ละบริษัทมีเหตุผลที่แตกต่างกันในการนาหลัก “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” มา
ใช้ในการดาเนินธุรกิจ
เหล่านีคือ
“เหตุผลทางธุรกิจ”
“Push factors” เป็นทังวิกฤตและโอกาส
ที่มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social
Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org 55
ปัจจัยผลักดัน 10 ประการ
5 ประเด็นร้อน 5 ผู้มีส่วนได้เสียสาคัญที่
ผลักดัน
ภาวะสภาพภูมิอากาศ
เปลี่ยนแปลง
ผู้บริโภคที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
มลพิษและอันตรายต่อ
สุขภาพ
ผู้ถือหุ้นนักเคลื่อนไหว
การต่อต้านโลกาภิวัตน์ที่ไม่
เป็นธรรม
ภาคประชาสังคม/เอ็นจีโอ
วิกฤตพลังงาน ผู้กากับดูแลภาครัฐ/
นักวิทยาศาสตร์
ความไว้วางใจของประชาชน
ในภาคธุรกิจเสื่อมถอย
ประชาชน
“Pull factor” : ธุรกิจใหม่ที่ยั่งยืนโตเร็ว
56
อัตราการเติบโตต่อปี(%)
30%
50%
สินค้า
แฟร ์เทรด
$2.2
พันล้าน
เสื้อผ้าออร ์
แกนิก
$583 ล้าน
อาหารปลอด
สารพิษ
$15.5 พันล้าน
ไมโคร
ไฟแนนซ ์
$7 พันล้าน
10%
20%
40%
รายได้ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009
ที่มา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation
“Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ล้านล้าน
57
• ทั่วโลกมีผู้มีรายได้น้อยกว่า
$2 ต่อวัน 2.6 พันล้านคน
→ รายได้ น้อย แต่มี
จานวน มาก
“Pull factor” : นักลงทุนเพื่อความยั่งยืน
58
Key elements of Socially Responsible
Investing (SRI) funds:
• Screening
• นักลงทุนสถาบันที่ลงนามใน UN Principles of
Responsible Investment บริหารเงินรวมกัน
$45 ล้านล้าน (ราว 45% ของทังโลก)
• ประเมินกันว่ากองทุนที่ลงทุนอย่าง “รับผิดชอบ
ต่อสังคม” (value-based investing) บริหาร
เงินราว 12% ของเงินทุนใต้การจัดการทังโลก
• Community Investment
• Shareholder Advocacy
ผลตอบแทนด้านสังคมไม่ต้อง “แลก” ด้วยผลตอบแทนด้านการเงิน
59
ที่มำ: Merrill Lynch, “Value-Based Investing Comes of Age,” August 2011
“ประโยชน์ทางธุรกิจ” : บริษัทที่มี climate action plan
60
ที่มา: Climate Disclosure Project, Climate action and profitability: CDP S&P 500 Climate Change Report 2014, on behalf
of 767 investors representing USD 92 trillion in assets
จาก CSR สู่ CSV
ที่มา: Wayne Dunn, “CSR Value Continuum: Another way to think about Shared Value”, CSR Training Institute,
http://www.slideshare.net/waynedunn/csr-value-continuum-another-way-to-think-about-shared-value
62
ที่มา: Wayne Dunn, “CSR Value Continuum: Another way to think about Shared Value”, CSR Training Institute,
http://www.slideshare.net/waynedunn/csr-value-continuum-another-way-to-think-about-shared-value 63
คุณค่า?
64
65“after-process CSR”
66
“in-process CSR”
67
67
“as-process CSR” /
“strategic CSR”
CSR สร้างคุณค่าให้กับใคร คุณค่านันอยู่นานแค่ไหน?
68
คุณค่า
ปัจจุบัน
คุณค่า
ระยะกลาง
คุณค่า
ระยะยาว
ความคิดที่เปลี่ยนไปของภาคธุรกิจต่อปัญหาสังคม
ก่อนค.ศ. 2000
• It’s not a
problem.
• เพิกเฉยต่อ
ปัญหา
หรือไม่มองว่า
เป็นเรื่องใหญ่
• ลดระดับความ
รับผิดชอบให้
น้อยที่สุด
• การทาการ
กุศลขึนอยู่กับ
รสนิยม
ส่วนตัว
2000-2005
• It’s a
problem.
• ลดขนาดของ
ปัญหาให้เล็ก
ลงที่สุดแล้วใส่
เงินเข้าไป
แก้ปัญหา เพื่อ
แสดงว่าเรามี
ส่วนร่วม
• CSR และการ
กุศลเป็นเรื่อง
“ชื่อเสียง”
ของบริษัท
2006-2010
• Let’s solve
the
problem.
• เราต้องเพิ่ม
ต้นทุนเพื่อ
แก้ปัญหานี
• เราต้องมีการ
รายงานเรื่อง
วิธีแก้ปัญหา
อย่างโปร่งใส
• เราใช้
ความสามารถ
หลักของ
บริษัทมา
แก้ปัญหาได้
2010 เป็นต้นมา
• It’s an
opportunity
to create
shared value.
• เราลดต้นทุน
สร้างรายได้เพิ่ม
และสร้างคุณ
ค่าที่แตกต่างได้
ด้วยการแก้ไข
ปัญหาสังคม
• กระทั่งปัญหา
สังคมที่ไม่ส่งผล
กระทบต่อ
ธุรกิจของเราก็
กลายเป็น
“โอกาส” ได้
ที่มา: https://www.fsg.org/sites/default/files/tools-and-resources/CSV_Webinar.pdf
69
“ความได้เปรียบในการแข่งขัน” กับ “ประเด็นสังคม/สิ่งแวดล้อม”
70
ที่มา: แปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, January-
February 2011. ดาวน์โหลดได้จาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx
ประเด็นสังคมและ
สิ่งแวดล้อมส่งผลต่อผลิต
ภาพ (productivity) ฉะนัน
จึงส่งผลต่อความได้เปรียบ
ในการแข่งขันของบริษัท!
Source: FSG.org
71
“คุณค่าร่วม” “Shared Value” คืออะไร?
การสร้างคุณค่าทางสังคม
ลงทุนในทางที่บรรลุ
เป้าหมายทางสังคม
และสิ่งแวดล้อม
การสร้างคุณค่าทาง
ธุรกิจ
ลงทุนในทางที่สร้าง
ความได้เปรียบในการ
แข่งขันระยะยาว
การสร้างคุณค่าร่วม
ลงทุนในทางที่สร้างความ
ได้เปรียบในการแข่งขัน
ระยะยาว และบรรลุเป้าหมาย
ทางสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วย
นโยบายหรือวิถีปฏิบัติของบริษัทที่สามารถสร้าง “ความได้เปรียบจากการแข่งขัน”
ในทางที่บรรลุเป้าทางสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วย
จาก CSR สู่ CSV
CSR
ให้ความสาคัญกับการทาตามหลักเกณฑ์
ความโปร่งใส อาสาสมัครและงานกุศล
CSV
นโยบายและวิธีปฏิบัติที่สร้างความสามารถใน
การแข่งขันไปพร้อมกับการพัฒนาสภาพ
เศรษฐกิจและสังคม
ปรับปรุงชื่อเสียงขององค์กรต่อผู้มีส่วนได้เสีย สร้างความสามารถในการแข่งขัน และวิธีการแก้ปัญหา
สังคมที่ยั่งยืน
กระตุ้นโดย
การเพิ่มงบประมาณหรือตัวชีวัด เช่น GRI คุณค่าที่สร้างขึน (ทางเศรษฐกิจและสังคม เทียบกับ
ต้นทุน)
ประเมินโดย
แผนก CSR หรือแผนกที่ทาการกุศล แผนกต่างๆ ทางานร่วมกันตังแต่ผู้บริหารระดับสูง ฝ่าย
ปฏิบัติการรวมทัง CSR
จัดการโดย
ทาตามกฎเกณฑ์หรือเป็นปฏิกิริยาต่อแรงกดดันจาก
ภายนอก
วิธีการทางานที่จะสร้างความสามารถในการแข่งขัน
และการทากาไรสูงสุด
ถูกมองว่า
ประโยชน์ทางอ้อมจากการลดความเสี่ยงและแสดง
ความเป็นมิตร
ได้นวัตกรรมที่สร้างโอกาสทางธุรกิจและขยายเป็นกล
ยุทธ์หลัก
ประโยชน์ทาง
ธุรกิจ
จากัดอยู่กับรอยเท้าของบริษัทและกิจกรรมการกุศล สร้างผลกระทบต่อสังคมในวงกว้างและมีความยั่งยืน
และเปลี่ยนแปลงชุมชน
ประโยชน์ทาง
สังคม
ที่มำ: https://www.fsg.org/sites/default/files/tools-and-resources/CSV_Webinar.pdf
72
จาก CSR สู่ CSV : กรณีของ Novartis ในอินเดีย
73ที่มา: https://www.fsg.org/sites/default/files/tools-and-resources/CSV_Webinar.pdf
ปัญหา:
• ร้อยละ 75 ของโครงสร้างพืนฐานด้านสุขภาพ บุคลากรทางการแพทย์และทรัพยากร
ด้านสุขภาพของอินเดียกระจุกตัวอยู่แต่ในเขตเมืองที่มีประชากรอยู่อาศัยเพียงร้อยละ
27
• คนที่อาศัยในเขตชนบทที่มีรายได้น้อย ($1-5 ต่อวัน) ต้องเดินทางไกลเพื่อเข้าถึง
บริการทางการแพทย์
วิธีแก้ปัญหา:
• ในค.ศ. 2007 บริษัทเริ่มโครงการ “อโรคยา ปาริวาร์” เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ในเขต
ชนบทของอินเดีย (จากเดิมที่ชนบทเป็นตลาดในการทา CSR)
• นาเสนอผลิตภัณฑ์และบริการทางสุขภาพ ตังแต่ยาสามัญและยาที่มีแบรนด์ที่นามาใส่บรรจุภัณฑ์ใหม่ใน
ปริมาณที่น้อยๆ เพื่อขายในราคาที่ผู้มีรายได้น้อยหาซือได้
• สร้างช่องทางการจัดจาหน่ายใหม่และสร้างทีมขายใหม่ในท้องถิ่นเพื่อทาความเข้าใจข้อมูลเชิงลึกของลูกค้า
และสร้างความไว้วางใจ เช่น ส่งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ลงไปในเขตชนบทเป็นอีกหนึ่งช่องทางการจัดจาหน่าย
(ไม่จาเป็นต้องจ่ายยาของ Novatis เท่านัน)
จาก CSR สู่ CSV : กรณีของ Novartis ในอินเดีย
74
ที่มา: https://www.fsg.org/sites/default/files/tools-and-resources/CSV_Webinar.pdf
จาก CSR สู่ CSV (creating shared value)
75
ที่มา: แปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, January-
February 2011. ดาวน์โหลดได้จาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx
CSR CSV
➢ คุณค่า: การทาดี
➢ การเป็นพลเมือง, การกุศล, ความยั่งยืน
➢ ทาตามอาเภอใจ หรือเป็นปฏิกิริยาต่อแรง
กดดันจากภายนอก
➢ แยกจากการมุ่งทากาไรสูงสุด
➢ วาระถูกกาหนดด้วยภาระการรายงานและ
รสนิยมส่วนตัวของผู้บริหาร/เจ้าของ
➢ ผลกระทบถูกจากัดด้วยรอยเท้าธุรกิจและงบ
ซีเอสอาร์
➢ คุณค่า: ประโยชน์ต่อสังคมและ
สิ่งแวดล้อมเทียบกับต้นทุนที่เสียไป
➢ ธุรกิจกับชุมชนสร้างคุณค่าร่วมกัน
➢ เป็นหัวใจของความสามารถในการแข่งขัน
➢ เป็นหัวใจของการทากาไรสูงสุด
➢ วาระถูกกาหนดจากภายในองค์กร
➢ ปรับเปลี่ยนงบการลงทุนและการใช้จ่าย
ของทังบริษัท
จาก CSR สู่ CSV : กรณีของ Novartis
76
CSR CSV
➢ กิจกรรม: บริจาคยาให้กับประชาชนใน
ประเทศยากจน
➢ ผลิตภัณฑ์เดียวกันกับที่ขายในตลาดคน
รวย แต่ให้ฟรีหรือลดราคาพิเศษให้
➢ ทาให้ผู้ป่วยยากจนได้เข้าถึงยา
➢ รายได้ลดลง ต้นทุนเท่าเดิม
➢ โครงการ “อโรคยา ปาริวาร์” : บริการ
สุขภาพสาหรับคนจนในอินเดีย
➢ คิดใหม่ตังแต่ผลิตภัณฑ์, บรรจุภัณฑ์, การ
ให้การศึกษาแก่ผู้ป่วย และการกระจาย
➢ ช่วยปรับปรุงสาธารณูปโภคการให้บริการ
สุขภาพในท้องถิ่น
➢ เรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมลูกค้าและโมเดล
ธุรกิจใหม่ๆ
➢ รายได้เพิ่ม โมเดลธุรกิจใหม่ที่ได้กาไร
ที่มา: Michael Porter, “Creating Shared Value: Redefining Capitalism and the Role of the Corporation in
Society,” FSG CSV Leadership Summit, 2011
ความเข้าใจผิดที่แพร่หลายเกี่ยวกับ CSV
77
การ “คืนกาไรสู่สังคม”
การแบ่งปันผลกาไร การกุศล
ศีลธรรม
คุณค่าความเชื่อส่วนบุคคล
การลดระดับความเสียหาย
แค่ “ความยั่งยืน”
ไตรกาไรสุทธิ (triple bottom line)
การหาจุดสมดุลระหว่างประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียฝ่ายต่างๆ
วิธีสร้าง Shared Value
1. คิดใหม่ (reconceive) เรื่อง ความ
ต้องการของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ และ ตลาด
2. นิยาม ผลิตภาพ (productivity) ตลอด
สายห่วงโซ่คุณค่า (value chain) ใหม่หมด
3. พัฒนา คลัสเตอร์ท้องถิ่น (local
cluster)
78
คิดใหม่ (reconceive) เรื่อง ความ
ต้องการของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ และตลาด
ตอบสนองความต้องการด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วย
• การมอบสินค้าและบริการที่ดีขึนแก่ตลาดปัจจุบัน
• การเข้าหาลูกค้ากลุ่มใหม่ เช่น กลุ่มลูกค้าฐานราก (Bottom of the Pyramid:
BOP) และลูกค้าที่มีความต้องการพิเศษ
• การสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีนวัตกรรมในการตอบสนองความต้องการของ
สังคม
79
Shared Value จากผลิตภัณฑ์ใหม่: กรณี “SpinetoRam”
80
สารหลักในผลิตภัณฑ์ยาควบคุมแมลงของบริษัทในเครือ Dow Chemical
พัฒนามาจากสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในธรรมชาติ ใช้เทคโนโลยีการควบคุมแมลง
ล่าสุด
ภาพ: nourishtheplanet.com
Shared Value จากผลิตภัณฑ์ใหม่: กรณี “SpinetoRam”
81
ผลลัพธ์ทางสังคม: ใช้ได้ผลในปริมาณที่น้อยกว่ายาฆ่าแมลงทั่วไป, ส่งผล
กระทบน้อยมากต่อแมลงที่เป็นหัวใจของระบบนิเวศ, ไม่เป็นพิษกับสัตว์
เลียงลูกด้วยนม นก และสัตว์นา, ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อโดน
แดดและโดยจุลินทรีย์ในดิน
ผลลัพธ์ทางธุรกิจ: ยอดขายเติบโตปีละกว่า 10% ตังแต่เริ่มวางจาหน่ายในปี
2010
ระดับความ “ไร้ประสิทธิภาพ” ของการคมนาคมโดยรถยนต์
82
P. 102
25 ปีที่ผ่านมา: ต้นทุนและระยะวิ่งของรถยนต์ไฟฟ้าดีขึน 95%
83
P. 119
Tesla – รถยนต์ไฟฟ้าเปี่ยมประสิทธิภาพและตีตลาดแมสสาเร็จ
• ค่าใช้จ่ายของการใช้รถไฟฟ้าอยู่ที่ประมาณหนึ่งในห้าของรถยนต์ใช้นามัน
• เครื่องยนต์ไฟฟ้ามีประสิทธิภาพถึง 95 เปอร์เซ็นต์ เทียบกับ 40 เปอร์เซ็นต์ของ
เครื่องยนต์สันดาปภายในที่ลาหน้าที่สุด
• สาธารณูปโภคการชาร์จไฟน่าจะสามารถส่งมอบพลังงานสาหรับส่งไฟฟ้าได้ในราคา
ประมาณ 26 เซ็นต์ต่อลิตร มีโครงการรีไซเคิลสาหรับแบตเตอรี่รถเทสลา
84
P. 111
Opower – ลดความต้องการ เพิ่มอุปทานพลังงาน
• บริษัท Opower ผู้ผลิตซอฟต์แวร์สาหรับผู้ผลิตพลังงานในสหรัฐอเมริกา ใช้ส่วนผสม
ระหว่างไอที, big data และเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม กระตุ้นให้ผู้บริโภคประหยัด
พลังงาน เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตพลังงานกับผู้บริโภค
• ก่อตังปี 2007 ช่วยประหยัดพลังงานได้แล้ว 8 พันล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็นเงิน
กว่า 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐ
85
P. 88
นิยามผลิตภาพ (productivity) ตลอดสายห่วงโซ่
คุณค่า (value chain) ใหม่หมด
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมไปพร้อมๆ กับ
• การพัฒนาคุณภาพสินค้า
• การเพิ่มปริมาณการผลิต
• การลดต้นทุนของสินค้า
• การสร้างอุปทานที่ต่อเนื่อง
• การกระจายสินค้าที่วางใจได้
86
87
นิยามผลิตภาพ (productivity) ตลอดสายห่วงโซ่
คุณค่า (value chain) ใหม่หมด
ตัวอย่างการนิยามผลิตภาพใหม่ : Value Chain ธุรกิจเหมืองแร่
88
ที่มา: Michael Porter, “Creating Shared Value: Redefining Capitalism and the Role of the Corporation in Society,” FSG CSV
Leadership Summit, 2011
Zara – “instant fashion” จากพฤติกรรมสู่ดีไซน์ใหม่ใน <1 เดือน
89
P. 280
พัฒนาคลัสเตอร์ท้องถิ่น (local cluster)
การทางานร่วมกับฝ่ายต่างๆ ในคลัสเตอร์เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการแข่งขันของ
ท้องถิ่น เช่น
• การสร้างซัพพลายเออร์ท้องถิ่นที่มีความสามารถและวางใจได้
• การสร้างโครงสร้างพืนฐานที่ดี
• การเข้าถึงบุคลากรที่มีความสามารถ
• การเข้าถึงระบบกฎหมายที่มีประสิทธิภาพ
90
Shared Value ผ่านการพัฒนาคลัสเตอร์ท้องถิ่น: กรณี Cisco
91
• การเติบโตของบริษัทถูกจากัดด้วยจานวน
ผู้ดูแลระบบ (network administrators) ที่
ผ่านการอบรม
• Cisco ก่อตัง “Cisco Networking
Academy” ขึนมารับมือกับความท้าทายข้อนี
เป็นโครงการศึกษาทางไกลสาหรับนักเรียน
ระดับมัธยมปลาย ในพืนที่ยากจนหรือกันดาร
เพื่อฝึกผู้ดูแลระบบรุ่นใหม่ ผสมหลักสูตรผ่าน
เว็บเข้ากับครูและห้องแล็บในท้องถิ่น จับมือ
เป็นพันธมิตรกับบริษัทคู่แข่ง อาทิ HP,
Panduit
Shared Value ผ่านการพัฒนาคลัสเตอร์ท้องถิ่น: กรณี Cisco
92
ผลลัพธ์ทางสังคม: Academy กว่า 10,000 แห่ง ใน 50 มลรัฐของอเมริกา
และ 170 ประเทศ, นักเรียนกว่า 4 ล้านคนผ่านการอบรม ในจานวนนี
750,000 คนเข้าข่าย “พร้อมรับใบรับรองจาก Cisco”, 50% หางานได้
และ 70% ได้งานใหม่ที่ดีกว่าเดิม
ผลลัพธ์ทางธุรกิจ: ปลดล็อกข้อจากัดสาคัญด้านแรงงานสาหรับลูกค้าของ
Cisco, ผู้ดูแลระบบที่ผ่านการอบรมคุ้นเคยกับผลิตภัณฑ์ของ Cisco, บริษัท
มีความสัมพันธ์ที่ดีขึนกับคู่ค้าสาคัญ ธุรกิจในท้องถิ่น และรัฐบาล
Source: Measuring Shared Value How to Unlock Value by Linking Social and Business Results by FSG
http://www.fsg.org/Portals/0/Uploads/Documents/PDF/Measuring_Shared_Value.pdf
93
ความท้าทายในไทย: ธุรกิจอาหาร-ต้นน้า
ห่วงโซ่ระบบเกษตรและอาหารโลก
95
ข้าวโพด
เลี้ยงสัตว์
ปลาป่น
เกษตร
อินทรีย์
ห้างค้าปลีก
ที่ขายอาหาร
= ประเด็นที่ป่าสาละทางานวิจัย
“ผู้บริโภคเปี่ยม
จริยธรรม”
ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 2561
ตัวเลขของสมาคมผู้ผลิต
อาหารสัตว์ไทย เป็น
ตัวเลขการคาดการณ์
ความต้องการใช้ที่
คานวณจากประชากร
สัตว์ในปีก่อนหน้า
การใช้ข้าวโพดเลียงสัตว์และปลาป่นในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ไทย
96
2556-2557
• ความตื่นตัวเรื่องปัญหาการตัดไม้ทาลายป่าต้นนา
• ปัญหาหมอกควันจากการเผาพืนที่ทาไร่ข้าวโพด
• งานวิจัย: ห่วงโซ่อุปทานข้าวโพดเลียงสัตว์ 4 ตาบล
2558-2560
• ความเคลื่อนไหวของภาคเอกชน เอ็นจีโอ และภาค
ประชาชน ในการหาโมเดลเปลี่ยนผ่านออกจากข้าวโพด
• มาตรการของภาครัฐ เช่น “60 วันอันตราย”
2561-อนาคต
• งานวิจัย: ผลลัพธ์ทางสังคมของโมเดลเปลี่ยนผ่าน
• ถอดบทเรียนโมเดลที่ “win-win” (สิ่งแวดล้อม +
คุณภาพชีวิตเกษตรกร)
ทบทวนสถานการณ์ ห่วงโซ่อุปทานข้าวโพดเลียงสัตว์ จ. น่าน
97
98
98
• งานวิจัยปี 2561 เพื่อศึกษาผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในช่วง
การเปลี่ยนผ่านของการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ผ่านโครงการต่าง ๆ ที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อลดการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในพื้นที่จังหวัดน่าน และ
อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
• เปรียบเทียบข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อน
ในพื้นที่ปลูกข้าวโพดและป่า (โดยความอนุเคราะห์ของ GISTDA) และผล
การสัมภาษณ์กลุ่ม และสัมภาษณ์เชิงลึกในพื้นที่โครงการ
ระยะเวลาการเปลี่ยนผ่านการปลูก
ข้าวโพดที่ศึกษา: เปรียบเทียบปี
พ.ศ. 2557 กับปี พ.ศ. 2560
ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงการเปลี่ยนผ่าน จ.น่าน และ จ.เชียงใหม่
99
• โครงการแม่แจ่มโมเดลและแม่แจ่ม
โมเดลพลัส อาเภอแม่แจ่ม จังหวัด
เชียงใหม่
- บ้านสองธาร
- บ้านแม่ขี้มูกน้อย
- บ้านกองกาย
- บ้านห้วยริน
- บ้านใหม่ปูเลย
• โครงการสวมหมวกให้ภูเขา สวมรองเท้า
ให้ตีนดอย ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ชุมชน
(วัดโป่งคา)
- บ้านโป่งคา บ้านศรีบุญเรือง อ. สันติสุข
• โครงการช่องสาลิกาโมเดล
- บ้านดอนแท่น อ. เชียงกลาง
• โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบบูรณาการ
แก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ จังหวัด
น่าน ตามพระราชดาริ
- บ้านน้าป้าก บ้านห้วยธนู บ้านห้วยม่วง
• โครงการสถานีพัฒนาเกษตรที่สูง ตาม
แนวพระราชดาริ จังหวัดน่าน (อาเภอ
ท่าวังผา) ตามแนวพระราชดาริ
- บ้านสบขุ่น บ้านดอยติ้ว
โครงการเปลี่ยนผ่านและพืนที่ศึกษา
100
• จานวนพื้นที่เผาไหม้ในไร่ข้าวโพดลดลงอย่างมีนัยสาคัญ ในทุกตาบลที่มีการดาเนิน
โครงการเปลี่ยนผ่าน ยกเว้นตาบลพงษ์ จ.น่าน เปรียบเทียบระหว่างปี 2557 และ
2560 ซึ่งสะท้อนว่าปัญหาหมอกควันในภาคเหนือปัจจุบันไม่น่าจะมีส่วนเกิดจากการ
เผาตอซังข้าวโพดในพื้นที่โครงการเหล่านี้
• พื้นที่ป่าโดยรวมลดลงทุกตาบลที่มีการดาเนินโครงการเปลี่ยนผ่าน มาตรการเรียก
คืนพื้นที่ป่าและการปลูกป่ายังไม่เกิดผลในสาระสาคัญเมื่อเทียบกับเนื้อที่ป่าที่หายไป
เปรียบเทียบปี 2557 และ 2560 ถึงแม้ว่าอัตราการสูญเสียจะลดลงจากในอดีต
• การลดลงอย่างมีนัยสาคัญของราคาข้าวโพดตั้งแต่ปี 2558 เป็นปัจจัยหลักที่ทาให้
เกษตรกรหันมาพยายามหารายได้จากทางอื่น เกษตรกรจากการสัมภาษณ์สะท้อน
ว่าราคาข้าวโพดลดลงอย่างมากในช่วงสามปี (จาก 8 บาทต่อกิโลกรัม เหลือเพียง 4
บาทต่อกิโลกรัม) เป็นแรงจูงใจหลักที่ทาให้เกษตรกรหลายคนมองหาทางเลือกอื่น
101
สรุปข้อค้นพบ: พืนที่เผาไหม้ลดลง ป่ายังไม่เพิ่ม และผลทางสังคมยังไม่ชัด
• ภาระหนี้สินยังคงสูงมากโดยไม่มีองค์กรใดช่วยเหลืออย่างเป็นกิจลักษณะ ถึงแม้ว่า
โครงการเปลี่ยนผ่านหลายโครงการมุ่งรักษาหรือเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร ก็ยังไม่มี
องค์กรใดเข้ามาช่วยเหลือในการปลดหรือลดภาระหนี้สินจากการปลูกข้าวโพดใน
ฤดูกาลก่อนๆ แต่อย่างใด
• โครงการเปลี่ยนผ่านบางโครงการเสนอทางเลือกรายได้ที่น่าจะเป็นไปได้ในอนาคต
แต่ยังไม่เห็นผลในปี 2560 เกษตรกรจานวนมากจึงยังปลูกข้าวโพดเป็นหลัก
เกษตรกรหลายคนมีความหวังกับพืชทดแทน อาทิ กาแฟ มะม่วงหิมพานต์ ยางพารา
แต่ต้องใช้เวลาอีกหลายปีกว่าจะได้ผลผลิต
• “การคุ้มครองสิทธิในการใช้ที่ดิน” และ “การมีตลาด/ผู้ซื้อที่แน่นอน” สาคัญต่อ
การสร้างความมั่นคงในการดารงชีวิต และสร้างแรงจูงใจให้เลิกปลูกข้าวโพด
เกษตรกรหลายคนนอกจากจะกลัวขาดรายได้ ยังกลัวไม่มีสิทธิในการทากินถ้าเลิก
ปลูกข้าวโพด และไม่มั่นใจว่าปลูกพืชทางเลือกไปแล้วจะสามารถขายได้ทันที มีผู้รับ
ซื้อแน่นอนเช่นเดียวกับข้าวโพดหรือไม่
สรุปข้อค้นพบ (ต่อ): พืนที่เผาไหม้ลดลง ป่ายังไม่เพิ่ม และผลทางสังคมยังไม่ชัด
102
ความท้าทายในไทย: ธุรกิจธนาคาร
• “การธนาคารที่ยั่งยืน” (sustainable banking) ในภาคปฏิบัติวันนี้
จะต้องพิสูจน์ผ่านการดาเนินธุรกิจในสองด้านหลักด้วยกัน
1) การปล่อยสินเชื่ออย่างรับผิดชอบ (responsible lending) ทั้งสินเชื่อสาหรับ
ลูกค้าธุรกิจ และสินเชื่อสาหรับลูกค้ารายย่อย และ
2) การเสริมสร้างการเข้าถึงบริการทางการเงินของประชากรที่ยังเข้าไม่ถึง
(financial inclusion)
104
รูปธรรมของธนาคารที่ยั่งยืนในไทย?
105
106
ตลาดฐานรากมีศักยภาพ แต่ต้องเจาะกลุ่ม ไม่คิดแบบ “one size fits all”
ผลการประเมินธนาคารของ Fair Finance Thailand ประจาปี 2562
107
อันดับ 2562
1
2
3
4
5
6
7
8
9
อันดับ 2561
9
1
2
4
6
5
3
8
7
อันดับเพิ่ม/ลด คะแนน 2562
22.6%
20.7%
20.3%
17.2%
17.0%
16.0%
15.7%
15.4%
14.6%
คะแนนเพิ่ม/ลด
+12.9%
+3.6%
+3.6%
+3.6%
+5.4%
+5.2%
+0.8%
+5.0%
+1.7%
สรุปคะแนนรวม: เพิ่ม 5% จากปีแรก
108
เปรียบเทียบผลการประเมิน 2018 กับ 2019
109
1. ทุกธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึน ธนาคารที่คะแนนเพิ่มขึนมากที่สุด คือ
TMB (พุ่ง 13% จากอันดับสุดท้าย มาเป็นอันดับ 1) รองลงมาคือ
ธนาคารกรุงเทพ (เพิ่มราว 5.4%) และธนาคารทิสโก้ (เพิ่ม 5.2%)
2. ธนาคารที่คะแนนเพิ่มขึนน้อยที่สุด คือ กรุงไทย (เพิ่มเพียง 0.8%) ส่งผล
ให้อันดับตกลงจากอันดับที่ 3 เป็นอันดับที่ 7
3. หมวดที่ธนาคารโดยเฉลี่ยได้คะแนนเพิ่มมากที่สุด คือ “อาวุธ” (ข้อที่
เปิดเผยต้องปฏิบัติตามกฎหมายไทยอยู่แล้ว) รองลงมาคือหมวด “ภาษี”
“การตอบแทน” “สิทธิแรงงาน” และ “สิทธิมนุษยชน”
4. หมวดที่ธนาคารได้คะแนนน้อยที่สุด ยังคงเป็น “ธรรมชาติ” โดยมีเพียง
TMB ที่ได้คะแนนในหมวดนี
เปรียบเทียบผลการประเมิน 2018 กับ 2019 (ต่อ)
110
5. หมวดที่ธนาคารได้คะแนนมากที่สุด 3 อันดับแรก ไม่ต่างจากปี 2018
ได้แก่ การต่อต้านคอรัปชัน การคุ้มครองผู้บริโภค และการขยายบริการ
ทางการเงิน สองหมวดแรกธนาคารต้องปฏิบัติตามกฎหมายและประกาศ
ธปท. และ ปปง. ที่เข้มงวดมากขึน แต่เริ่มเห็นรายละเอียดที่แตกต่าง
โดยเฉพาะความชัดเจนของกระบวนการรับเรื่องร้องเรียนและเยียวยา
6. ส่วนการขยายบริการทางการเงิน ธนาคารตื่นตัวกับ digital banking
แต่ต้องจับตาดูว่าในอนาคต จะมีผู้ที่เคยเข้าถึงแต่วันนีเข้าไม่ถึง เพราะ
เปลี่ยนจากการให้บริการผ่านสาขามาเป็น digital banking เพียงใด
7. หมวดที่ธนาคารได้คะแนนน้อยที่สุด ล้วนกาลังทวีความสาคัญเร่งด่วนใน
ไทย – ธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสิทธิมนุษยชน
111
112
ความท้าทายในไทย: ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
สภาพความเป็นอยู่ในจีน
ที่มา: https://www.theguardian.com/global-development/2015/feb/18/thailand-failing-
tackle-fishing-industry-slavery
114
• ก.ค. 2559: คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฟิลิปปินส์ ดาเนินการส่งหนังสือร้องเรียนเรื่อง ผลกระทบด้าน
สิทธิมนุษยชนให้แก่บรรษัทผู้ผลิตและปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนยักษ์ใหญ่ (Carbon Majors) 47 บรรษัท ซึ่ง
ประกอบด้วยบรรษัทยักษ์ใหญ่อย่าง เชลล์ (Shell), บีพี (BP), เชฟรอน (Chevron), บีเอชพี บิลิตัน (BHP
Billiton)
• หนังสือร้องเรียนระบุว่า ธุรกิจของบรรษัททัง 47 บรรษัทละเมิดสิทธิมนุษยชนขันพืนฐานอันได้แก่ “สิทธิในชีวิต
อาหาร นาดื่มสะอาด สุขอนามัย ที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม และสิทธิในการกาหนดเจตจานงของตนเอง”
• กรณีแรกในโลกที่มีการตรวจสอบผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยหน่วยงานรัฐ
• หนังสือร้องเรียนชีว่า บรรษัททัง 47 บรรษัทต้องรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึนในประเทศฟิลิปปินส์จากการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของธุรกิจ อีกทังเรียกร้องให้บรรษัททังหมดชีแจงว่าบรรษัทจะดาเนินการ “กาจัด เยียวยา
และป้องกัน” การละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึนจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างไร
สิทธิมนุษยชนในศตวรรษที่ 21 =
จริยธรรมสากลในการทาธุรกิจ ?
https://www.theguardian.com/sustainable-business/2016/may/07/climate-
change-shell-exxon-philippines-fossil-fuel-companies-liability-extreme-weather
115
เหตุผลทางธุรกิจ
● ระบุและตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียฝ่ายต่างๆ ได้ดีขึน
● จัดการกับความเสี่ยงด้านชื่อเสียง ปฏิบัติการ กฎหมาย และการเงินได้ดีขึน
● ดึงดูดคนที่มีความสามารถให้อยากมาทางานกับบริษัท และสร้างแรงจูงใจให้พนักงาน
● เป็นเครื่องสาธิตภาวะผู้นา และมาตรฐานการจัดการขององค์กร
● 2558 จากการสารวจนโยบายของบรรษัทข้ามชาติทั่วโลก จานวน 76 แห่งจาก
225 แห่ง ในหลายอุตสาหกรรม อาทิ เครื่องนุ่งห่ม เทคโนโลยี อาหารและ
เครื่องดื่ม แร่ นามันและก๊าซธรรมชาติ การเงิน มีกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิ
มนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence)
● 2559 ร้อยละ 50 ของบริษัทต่างๆ ทั่วโลกจานวน 152 แห่งจัดทากระบวนการ
ตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน
● กฎหมายที่เกี่ยวข้องเข้มข้นขึนเรื่องความรับผิดชอบของบริษัท
สถานการณ์และแนวโน้มเรื่องธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
116
Human Rights Due Diligence
1. การประกาศนโยบายด้านสิทธิ
มนุษยชน
2. ประเมินผลกระทบด้านสิทธิ
มนุษยชนที่เกิดขึนแล้วและมี
แนวโน้มว่าจะเกิด
3. บูรณาการข้อค้นพบและลงมือ
ปฏิบัติเพื่อป้องกันหรือบรรเทา
ผลกระทบ
4. ติดตามตรวจสอบว่าบริษัทจัดการ
กับผลกระทบต่างๆ อย่างมี
ประสิทธิผลเพียงใด
เหตุผลทางธุรกิจ
● 1945 หลักการสิทธิมนุษยชน
● 1999 UN Global Compact
● 2011 UN Guiding Principles on
Business and Human Rights- UNGP
● California Transparency in Supply
Chain Act 2010
● EU Non-Financial Reporting
Directive of 2014
● UK Modern Slavery Act 2015
117
118
โรงแรมภูเก็ตสู่ต้นแบบการทาธุรกิจที่เคารพสิทธิมนุษยชน: โครงการนาร่อง กสม.
119
การประเมินผลลัพธ์ทางสังคม (Social Impact
Assessment)
• องค์กรต่างๆ ในไทยสนใจการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม (SIA) มากขึ้น ด้วยข้อ
กาหนดการรายงานเพื่อสมัคร Dow Jones Sustainability Index (DJSI) ของ
บริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ ผู้ให้ทุนกิจการเพื่อสังคม และภาครัฐในการ
สนับสนุนโครงการต่างๆ
• ความเข้าใจเรื่องความเหมาะสมในการใช้เครื่องมือประเมินผลลัพธ์ทางสังคมยัง
มีจากัด เช่น ยังไม่เห็นว่าการทา SIA ไม่เหมาะกับอีเว้นท์หรือโครงการระยะสั้น
• แม้จะมีการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมเพิ่มขึ้น แต่การเปิดเผยผลการประเมินยัง
มีน้อยเช่นเดิม ยกเว้นในภาคกิจการเพื่อสังคม เช่น มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ บัดดี้
โฮมแคร์ และสยาม ออร์แกนิกส์ ที่มีการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ
121
ข้อสังเกตเรื่องการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม (social impact assessment)
• โครงการและกิจการหลายแห่งขาดข้อมูลฐาน (baseline) ก่อนเริ่มทาโครงการ ทาให้
การเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงก่อน-หลัง ทาได้ไม่ชัดเจนนัก และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
อาจมีอคติจากความทรงจา (recall bias)
• บางโครงการมีกิจกรรม (intervention) จากฝ่ายอื่นๆ สูงนอกจากเจ้าของโครงการ
ทาให้ต้องอาศัยการประเมินแบบเทียบกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
• บางโครงการเล็งผลลัพธ์ทางสังคมสุดท้าย แต่มีบทบาทเป็นเพียงองค์กรตัวกลาง
(intermediate) ทาให้ผลลัพธ์ที่ต้องการสร้างยังตกไม่ถึงกลุ่มเป้าหมาย
• การนาข้อมูลที่ได้จากผล SIA ไปปรับปรุงการทางานเพื่อสร้างผลลัพธ์ทางสังคมด้าน
บวกให้เพิ่มขึ้น หรือลดผลกระทบทางลบลง มักจะยังไม่ใช่เป้าหมายสาคัญของเจ้าของ
โครงการ เมื่อเทียบกับความต้องการทราบผลและ “ตัวเลข” ทั้งที่ประโยชน์หลักของ
SIA อยู่ในฐานะ “เครื่องมือ” ช่วยการบริหารจัดการ ไม่ใช่การวัดอย่างเที่ยงตรง
122
ความท้าทายในการทา SIA
• ทางานโดยตรงและใกล้ชิดกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากกว่าอาศัยตัวกลางหลาย
ระดับชั้น
• เข้าใจปัญหาของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตั้งต้นจากสิ่งที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคิดว่าเป็น
ปัญหาเช่นกัน และนาเสนอวิธีแก้ที่องค์กรอื่นๆ ยังไม่เคยทากับกลุ่มเป้าหมายนั้น
• ทางานกับกลุ่มเปราะบางหรือผู้ที่ขาดโอกาสที่มีองค์กรอื่นๆ เข้าไปทางานด้วยไม่
มาก
• ทากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง หากทางานกับปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือมีหลายมิติ
จะมุ่งแก้ปัญหาในหลายจุดเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ทางสังคมสุดท้ายอย่างที่คาดหวัง
ประเภทของโครงการ/กิจการที่มักสร้างผลลัพธ์ทางสังคมสูง
123
• มีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของโครงการอย่างสม่าเสมอ และปรับเปลี่ยน
กิจกรรมตามผลลัพธ์ที่เจอในแต่ละช่วง เช่น โครงการด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องใช้
เวลานานกว่าจะเห็นผล
• ไม่ตั้งเป้าหมายในขอบเขตที่เล็กเกินไป ใหญ่เกินไป เป็นไปไม่ได้ เป็นนามธรรม หรือ
คลุมเครือ เจ้าของโครงการ/กิจการระบุไม่ได้ว่าเมื่อทา “สาเร็จ” คาดว่าจะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงอะไรบ้างที่ชัดเจนว่าเป็น “ผลลัพธ์ทางสังคม”
• มองเห็นเป้าหมายเดียวกันกับพันธมิตรที่ดาเนินโครงการร่วมกัน
• เจ้าของโครงการเข้าใจบทบาทและขอบเขตความสามารถในการแก้ไขปัญหาสังคม
และสิ่งแวดล้อม เข้าใจ deadweight, attribution และ displacement
ประเภทของโครงการ/กิจการที่มักสร้างผลลัพธ์ทางสังคมสูง (ต่อ)
124
ธุรกิจไทยควรทาอะไร?
• Diminishing returns ของ after-process CSR (ปลูกป่า ฯลฯ)
• ความรุนแรงขึนเรื่อยๆ ของวิกฤตสิ่งแวดล้อม
• แรงกดดันในห่วงโซ่อุปทาน
• ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียไทย vs. มาตรฐานสากล เช่น
ดัชนี Dow Jones Sustainability Index
• การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย vs. ทิศทางนโยบายของภาครัฐ
• แรงกดดันทางสังคมจาก Paris Agreement (COP21)
• AEC อิทธิพลของจีน กับความท้าทายระดับภูมิภาค
ความท้าทายของธุรกิจไทย
126
“กลยุทธ์ห้าระดับ” สู่ธุรกิจที่ยั่งยืน
127ที่มา: IDG, 2008.
ที่มา: Business Strategy for Sustainable Development: Leadership and Accountability for the 90s, International Institute for
Sustainable Development in conjunction with Deloitte & Touche and the World Business Council for Sustainable
Development, 1992.
วิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วน
ได้เสีย
กาหนดนโยบายและกลยุทธ์ด้าน
ธุรกิจที่ยั่งยืน
ออกแบบและลงมือทาตาม
แผนปฏิบัติการ
พัฒนาวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อ
การเปลี่ยนผ่าน
สร้างตัวชี้วัดและมาตรฐานผลการ
ดาเนินงาน
จัดทาและเผยแพร่รายงานภายใน
และนอก
1
7
2
3
4
5
6
ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบ
ภายใน
128
“บันไดเจ็ดขัน” ในกระบวนการเปลี่ยนผ่านสู่ธุรกิจที่ยั่งยืนแต่ละระดับ
บริษัทหลายแห่งกระโดดมาทาขั้นนี้
เลย เช่น ด้วยการทารายงานความ
ยั่งยืนเพียงเพื่อยื่นเป็นสมาชิก DJSI
รากฐานที่มักถูกละเลย
การกาหนดและเปิดเผยนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายด้านความยั่งยืนที่
ชัดเจน โดยตั้งต้นจากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ประกอบกับการ
ประเมินความเสี่ยงด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัท มีความสัมพันธ์
อย่างมีนัยสาคัญกับระดับความรับผิดชอบของบริษัท กล่าวคือ บริษัทที่
เปิดเผยนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายความยั่งยืนอย่างชัดเจนเป็นเหตุเป็น
ผล สอดคล้องกับโอกาสและความเสี่ยงด้านความยั่งยืนที่บริษัทวิเคราะห์ และ
ผลจากการปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย มีแนวโน้มที่จะมีระดับความ
รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมสูงกว่าบริษัทที่ไม่เคยกาหนดนโยบายหรือ
กลยุทธ์ด้านความยั่งยืน หรือกาหนดแบบเป็นนามธรรมกว้างๆ โดยอ้างอิง
หลักการสากล แต่มิได้ระบุรูปธรรมที่ชัดเจนและเกี่ยวข้องกับบริบทการดาเนิน
ธุรกิจของบริษัท
129
ข้อสังเกตจากงานวิจัยเรื่องการประเมินระดับความรับผิดชอบของบริษัทพลังงาน
130
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย
• จาเป็นในการระบุตัว “ผู้มีส่วนได้เสีย” ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจาก
การดาเนินธุรกิจ ทั้งทางบวกและทางลบ
• คานึงจากทุก “พฤติกรรมการดาเนินธุรกิจ” (business conduct) และทุก “พื้นที่การ
ดาเนินธุรกิจ” (operating location)
• ค้นหาประเด็น ความกังวล ความคาดหวัง และข้อมูลที่ต้องการจากบริษัท สาหรับผู้มี
ส่วนได้เสียแต่ละฝ่าย
• วางกลไกการมีส่วนร่วม (stakeholder engagement) กับผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง
• บริษัทจานวนไม่น้อยอ้างอิงการได้ “รางวัล” ต่างๆ อาทิ CSR Award หรือการได้รับ
เลือกเข้าเป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Index (DJSI) ราวกับเป็น
“ข้อพิสูจน์” ถึงความเป็นบริษัทที่ยั่งยืนแล้ว จึงไม่ลงมือประเมินผลกระทบของ
บริษัทต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โอกาสและความเสี่ยงด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม วิธี
บริหารจัดการความเสี่ยง ตลอดจนกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน
• รางวัลเหล่านี้โดยมากมิใช่ “ข้อพิสูจน์” ถึงระดับความยั่งยืนหรือระดับความ
รับผิดชอบของบริษัท หากแต่เป็นเครื่องมือ สร้างแรงจูงใจ ให้บริษัทมีการพัฒนาบน
เส้นทางการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง และสามารถใช้เป็นแนวทางสาหรับการ
ดาเนินกิจการของบริษัท
• ระดับความยั่งยืนที่แท้จริง และโอกาสทางธุรกิจด้านความยั่งยืน เกิดจากผลการ
ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย การประเมินความเสี่ยง และการกาหนดกลยุทธ์ด้าน
ความยั่งยืนและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง
ความเข้าใจผิดเรื่องบทบาทและความหมายของรางวัล และดัชนีความยั่งยืน
131
2016
132
มาตรฐานที่เกี่ยวข้องและดัชนีความยั่งยืน
มาตรฐานที่มีกระบวนการรับรอง (certification process)
• ISO 14000
• Fairtrade International, FSC (ป่าไม้), MSC (ประมง), Bonsucro (น้าตาล) ฯลฯ
มาตรฐานโดยสมัครใจ ไม่มีกระบวนการรับรอง (self-report)
• UN Global Compact
• ISO 26000
• Principles of Responsible Investment (PRI)
ดัชนีความยั่งยืน
• Dow Jones Sustainability Index
• FTSE4Good
• Global Climate 100, Domini 400
133
Reliability & Comparability
• Reliability: เชื่อถือได้แค่ไหน? (ถ้าใช้แบบสารวจ ถาม
คาถามเดิม จะได้คาตอบเดิมหรือไม่?)
• Comparability: เปรียบเทียบข้ามบริษัทได้หรือไม่? ข้าม
อุตสาหกรรม? ข้ามประเทศ?
134
Validity (ความถูกต้อง)
• ตัวชี้วัดที่ใช้สะท้อน “ผลงาน” ของบริษัทที่สาคัญต่อ “สังคม” หรือไม่?
• ยังมีตัวชี้วัดน้อยตัวที่สะท้อน “ผลประกอบการทางสังคม” ของคู่ค้าและ
ห่วงโซ่อุปทาน
• ตัวอย่าง
– จานวนตัวแทนชนกลุ่มน้อยในคณะกรรมการบริษัท → บอกได้หรือไม่
ว่าบริษัทปฏิบัติต่อชนกลุ่มน้อยอย่างไร?
– ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยในแต่ละปี → สะท้อนผลกระทบ
ภายนอกเชิงลบทั้งหมดของโรงงานได้หรือไม่?
– จานวนกรรมการในคณะกรรมการบริษัท → บอกคุณภาพของธรร
มาภิบาลบริษัทได้หรือไม่?
135
ตัวอย่าง การเข้าถึงข้อมูลการปล่อยมลพิษจาก
แต่ละโรงงาน http://www.epa.gov/triexplorer/
136
ตัวอย่าง การเข้าถึงข้อมูลมลพิษจากแต่ละโรงงาน
http://www.cec.org/naatlas/prtr/
137
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business

More Related Content

What's hot

Cours de structuration et fonctionnement de l’entreprise
Cours de structuration et fonctionnement de l’entreprise   Cours de structuration et fonctionnement de l’entreprise
Cours de structuration et fonctionnement de l’entreprise Youssef Rdry
 
Présentation du Business Model Canvas
Présentation du Business Model CanvasPrésentation du Business Model Canvas
Présentation du Business Model CanvasArnaud Casalis
 
Ecologie humaniste, industrielle et technique - 2 - Humanisme technique
 Ecologie humaniste, industrielle et technique - 2 - Humanisme technique Ecologie humaniste, industrielle et technique - 2 - Humanisme technique
Ecologie humaniste, industrielle et technique - 2 - Humanisme techniquePierre TARISSI
 
Pfeee impact des tic sur la fonction rh
Pfeee impact des tic sur la fonction rh Pfeee impact des tic sur la fonction rh
Pfeee impact des tic sur la fonction rh Moni Man
 
Intelligence artificielle et système multi-agent
Intelligence artificielle et système multi-agentIntelligence artificielle et système multi-agent
Intelligence artificielle et système multi-agentNoureddine Djebbari
 
présentation cadre oapi
présentation cadre oapiprésentation cadre oapi
présentation cadre oapiExternalEvents
 
Chap1 systéme d'information
Chap1 systéme d'informationChap1 systéme d'information
Chap1 systéme d'informationGhita Benabdellah
 
Calcul des indicateurs pour un office de tourisme 12/03/2010 Jean-Luc Boulin ...
Calcul des indicateurs pour un office de tourisme 12/03/2010 Jean-Luc Boulin ...Calcul des indicateurs pour un office de tourisme 12/03/2010 Jean-Luc Boulin ...
Calcul des indicateurs pour un office de tourisme 12/03/2010 Jean-Luc Boulin ...MONA
 
Introduction à l'IoT: du capteur à la donnée_Presentation Mix-IT2015
Introduction à l'IoT: du capteur à la donnée_Presentation Mix-IT2015Introduction à l'IoT: du capteur à la donnée_Presentation Mix-IT2015
Introduction à l'IoT: du capteur à la donnée_Presentation Mix-IT2015Sameh BEN FREDJ
 
Présentation Big Data DFCG
Présentation Big Data DFCGPrésentation Big Data DFCG
Présentation Big Data DFCGMicropole Group
 
Intelligence artificielle
Intelligence artificielleIntelligence artificielle
Intelligence artificiellehadjerdermane
 
Support de cours de la RSE
Support de cours de la RSE Support de cours de la RSE
Support de cours de la RSE dazia kamal
 
Du développement durable à la Responsabilité sociétale
Du développement durable à la Responsabilité sociétaleDu développement durable à la Responsabilité sociétale
Du développement durable à la Responsabilité sociétaleProf. Jacques Folon (Ph.D)
 
Chapitre2 les formes entrepreneuriales
Chapitre2 les formes entrepreneurialesChapitre2 les formes entrepreneuriales
Chapitre2 les formes entrepreneurialesCharfi Mohamed Amin
 
Analyse et conception des systèmes d’information (d’outils et modèles pour le...
Analyse et conception des systèmes d’information (d’outils et modèles pour le...Analyse et conception des systèmes d’information (d’outils et modèles pour le...
Analyse et conception des systèmes d’information (d’outils et modèles pour le...HB1-Sela
 
Libérer l'entreprise, une utopie ?
Libérer l'entreprise, une utopie ?Libérer l'entreprise, une utopie ?
Libérer l'entreprise, une utopie ?PaulineDumontier
 
Intelligence Artificielle : Introduction à l'intelligence artificielle
Intelligence Artificielle : Introduction à l'intelligence artificielleIntelligence Artificielle : Introduction à l'intelligence artificielle
Intelligence Artificielle : Introduction à l'intelligence artificielleECAM Brussels Engineering School
 

What's hot (20)

Cours de structuration et fonctionnement de l’entreprise
Cours de structuration et fonctionnement de l’entreprise   Cours de structuration et fonctionnement de l’entreprise
Cours de structuration et fonctionnement de l’entreprise
 
Présentation du Business Model Canvas
Présentation du Business Model CanvasPrésentation du Business Model Canvas
Présentation du Business Model Canvas
 
Ecologie humaniste, industrielle et technique - 2 - Humanisme technique
 Ecologie humaniste, industrielle et technique - 2 - Humanisme technique Ecologie humaniste, industrielle et technique - 2 - Humanisme technique
Ecologie humaniste, industrielle et technique - 2 - Humanisme technique
 
Pfeee impact des tic sur la fonction rh
Pfeee impact des tic sur la fonction rh Pfeee impact des tic sur la fonction rh
Pfeee impact des tic sur la fonction rh
 
Intelligence artificielle et système multi-agent
Intelligence artificielle et système multi-agentIntelligence artificielle et système multi-agent
Intelligence artificielle et système multi-agent
 
Entrepreneur vert eco-systeme et acteurs
Entrepreneur vert eco-systeme et acteursEntrepreneur vert eco-systeme et acteurs
Entrepreneur vert eco-systeme et acteurs
 
présentation cadre oapi
présentation cadre oapiprésentation cadre oapi
présentation cadre oapi
 
Chap1 systéme d'information
Chap1 systéme d'informationChap1 systéme d'information
Chap1 systéme d'information
 
Calcul des indicateurs pour un office de tourisme 12/03/2010 Jean-Luc Boulin ...
Calcul des indicateurs pour un office de tourisme 12/03/2010 Jean-Luc Boulin ...Calcul des indicateurs pour un office de tourisme 12/03/2010 Jean-Luc Boulin ...
Calcul des indicateurs pour un office de tourisme 12/03/2010 Jean-Luc Boulin ...
 
Introduction à l'IoT: du capteur à la donnée_Presentation Mix-IT2015
Introduction à l'IoT: du capteur à la donnée_Presentation Mix-IT2015Introduction à l'IoT: du capteur à la donnée_Presentation Mix-IT2015
Introduction à l'IoT: du capteur à la donnée_Presentation Mix-IT2015
 
GESTION DES EXPATRIES
GESTION DES EXPATRIES GESTION DES EXPATRIES
GESTION DES EXPATRIES
 
Présentation Big Data DFCG
Présentation Big Data DFCGPrésentation Big Data DFCG
Présentation Big Data DFCG
 
Intelligence artificielle
Intelligence artificielleIntelligence artificielle
Intelligence artificielle
 
Support de cours de la RSE
Support de cours de la RSE Support de cours de la RSE
Support de cours de la RSE
 
Du développement durable à la Responsabilité sociétale
Du développement durable à la Responsabilité sociétaleDu développement durable à la Responsabilité sociétale
Du développement durable à la Responsabilité sociétale
 
Présentation odd
Présentation oddPrésentation odd
Présentation odd
 
Chapitre2 les formes entrepreneuriales
Chapitre2 les formes entrepreneurialesChapitre2 les formes entrepreneuriales
Chapitre2 les formes entrepreneuriales
 
Analyse et conception des systèmes d’information (d’outils et modèles pour le...
Analyse et conception des systèmes d’information (d’outils et modèles pour le...Analyse et conception des systèmes d’information (d’outils et modèles pour le...
Analyse et conception des systèmes d’information (d’outils et modèles pour le...
 
Libérer l'entreprise, une utopie ?
Libérer l'entreprise, une utopie ?Libérer l'entreprise, une utopie ?
Libérer l'entreprise, une utopie ?
 
Intelligence Artificielle : Introduction à l'intelligence artificielle
Intelligence Artificielle : Introduction à l'intelligence artificielleIntelligence Artificielle : Introduction à l'intelligence artificielle
Intelligence Artificielle : Introduction à l'intelligence artificielle
 

Similar to Introduction to CSR and Sustainable Business

Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0maruay songtanin
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนDrDanai Thienphut
 
Aging society report_official
Aging society report_officialAging society report_official
Aging society report_officialTonlers Rabertjim
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1Image plus Communication
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5Vivace Narasuwan
 
๑.๑๑ การบริหารมืออาชีพ บทบาทของผู้บริหารในองค์กร จักราวุธ คำทวี
๑.๑๑ การบริหารมืออาชีพ บทบาทของผู้บริหารในองค์กร จักราวุธ คำทวี๑.๑๑ การบริหารมืออาชีพ บทบาทของผู้บริหารในองค์กร จักราวุธ คำทวี
๑.๑๑ การบริหารมืออาชีพ บทบาทของผู้บริหารในองค์กร จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1Wai Chamornmarn
 
การเงินกับการสร้างความยั่งยืน(Sustainable Finance)
การเงินกับการสร้างความยั่งยืน(Sustainable Finance)การเงินกับการสร้างความยั่งยืน(Sustainable Finance)
การเงินกับการสร้างความยั่งยืน(Sustainable Finance)ThepnakarinKhampan
 
Future humanresourcemanagement
Future humanresourcemanagementFuture humanresourcemanagement
Future humanresourcemanagementaumhuman
 
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยKlangpanya
 
จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน The necessary revolution
จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน The necessary revolution จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน The necessary revolution
จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน The necessary revolution maruay songtanin
 
Global Citizen for DS271 ACY2011
Global Citizen for DS271 ACY2011Global Citizen for DS271 ACY2011
Global Citizen for DS271 ACY2011matanaslideshare
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societypantapong
 

Similar to Introduction to CSR and Sustainable Business (20)

Sustainable Business
Sustainable BusinessSustainable Business
Sustainable Business
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
 
Green Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and UpdatesGreen Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and Updates
 
Aging society report_official
Aging society report_officialAging society report_official
Aging society report_official
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5
 
๑.๑๑ การบริหารมืออาชีพ บทบาทของผู้บริหารในองค์กร จักราวุธ คำทวี
๑.๑๑ การบริหารมืออาชีพ บทบาทของผู้บริหารในองค์กร จักราวุธ คำทวี๑.๑๑ การบริหารมืออาชีพ บทบาทของผู้บริหารในองค์กร จักราวุธ คำทวี
๑.๑๑ การบริหารมืออาชีพ บทบาทของผู้บริหารในองค์กร จักราวุธ คำทวี
 
Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1
 
การเงินกับการสร้างความยั่งยืน(Sustainable Finance)
การเงินกับการสร้างความยั่งยืน(Sustainable Finance)การเงินกับการสร้างความยั่งยืน(Sustainable Finance)
การเงินกับการสร้างความยั่งยืน(Sustainable Finance)
 
Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
Technology trend for scg
Technology trend for scgTechnology trend for scg
Technology trend for scg
 
Future humanresourcemanagement
Future humanresourcemanagementFuture humanresourcemanagement
Future humanresourcemanagement
 
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
 
จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน The necessary revolution
จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน The necessary revolution จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน The necessary revolution
จำเป็นต้องปฏิวัติ เพื่อความยั่งยืน The necessary revolution
 
Global Citizen for DS271 ACY2011
Global Citizen for DS271 ACY2011Global Citizen for DS271 ACY2011
Global Citizen for DS271 ACY2011
 
Social Return on Investment
Social Return on InvestmentSocial Return on Investment
Social Return on Investment
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging society
 
ประชุมสุดยอดระดับโลกฯ
ประชุมสุดยอดระดับโลกฯประชุมสุดยอดระดับโลกฯ
ประชุมสุดยอดระดับโลกฯ
 
Triple Bottom Line
Triple Bottom LineTriple Bottom Line
Triple Bottom Line
 

More from Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 

Introduction to CSR and Sustainable Business

  • 1. ความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม (CSR) และธุรกิจที่ยั่งยืน สฤณี อาชวานันทกุล กรรมการด้านการพัฒนาความรู้ บริษัท ป่าสาละ จากัด 18 มีนาคม 2563
  • 3. • การเป็นพลเมืองของธุรกิจ / CSR / ธุรกิจที่ยั่งยืน • ประเด็นความ(ไม่)ยั่งยืนเร่งด่วนระดับโลกและไทย • จาก CSR สู่ CSV • ความท้าทายในไทย: ธุรกิจอาหาร-ต้นนา • ความท้าทายในไทย: ธุรกิจธนาคาร • ความท้าทายในไทย: ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน • การประเมินผลลัพธ์ทางสังคม • ธุรกิจไทยควรทาอะไร? ประเด็นนาเสนอ 3
  • 5. การเป็นพลเมืองของธุรกิจ / CSR / ธุรกิจที่ยั่งยืน
  • 6. “พลเมือง” กับ “พลเมืองดี” 6ที่มา: http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/topic/A11195934/A11195934.html
  • 7. “พลเมือง” กับ “พลเมืองดี” • “พลเมือง” มี “สังกัด” และ “สิทธิ” ในชุมชนและสังคม • “พลเมืองดี” คือคนที่ร่วมทุกข์ร่วมสุข ช่วยเหลือเจือจาน สังคมหรือชุมชนที่ตนเป็นสมาชิก ไม่ใช่คิดถึงแต่ตัวเอง 7 ที่มา: http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/topic/A11195934/A11195934.html
  • 8. ธุรกิจเป็น “พลเมือง” ในแง่ใดบ้าง? • ธุรกิจเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ธุรกิจขาดสังคมไม่ได้เหมือนกับที่คน ขาดนาและอากาศไม่ได้ แต่สังคมก็พึ่งพาธุรกิจด้วย • ธุรกิจไม่ใช่พลเมืองแบบที่คนเป็นพลเมือง – ไม่มีหนังสือเดินทาง ไม่ มีสิทธิออกเสียงเลือกตัง แต่มีสิทธิบางอย่างเหมือนกับคน เช่น สิทธิ ในการบริจาคเงินอุดหนุนพรรคการเมือง 8
  • 9. มุมมอง 3 มุมเกี่ยวกับ “การเป็นพลเมืองของธุรกิจ” 1) มุมจากัด (limited view) – การเป็นพลเมือง หมายถึงการที่ธุรกิจทาการ กุศล (corporate philanthropy) ในชุมชนที่ตนประกอบธุรกิจ ทาตัวเป็น “พลเมืองดี” ด้วยการบริจาคเงินให้กับองค์กรการกุศล จัดงานแข่งกีฬา แจก ทุนการศึกษา ฯลฯ 9
  • 10. 2) มุมเท่าเทียม (equivalent view) – “การเป็นพลเมือง” ของธุรกิจหมายถึง การแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม (ซีเอสอาร์) ปัจจุบันบริษัท นักวิเคราะห์ ที่ปรึกษา และสื่อส่วนใหญ่มองการเป็นพลเมืองของธุรกิจใน มุมนี โดยมองว่าการเป็นพลเมืองดีของธุรกิจมี 4 ระดับเช่นเดียวกับซี เอสอาร์ นั่นคือ มีความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ กฎหมาย และจริยธรรม 10 มุมมอง 3 มุมเกี่ยวกับ “การเป็นพลเมืองของธุรกิจ”
  • 11. 3) มุมขยาย (extended view) – มอง “การเป็นพลเมือง” จากมุมทาง การเมือง เช่น การอ้างสิทธิพลเมืองของภาคธุรกิจ การให้ธุรกิจมีส่วนร่วมใน กลไกธรรมาภิบาลโลก หรือการเปิดให้ธุรกิจร่วมกับรัฐในการคุ้มครองและหนุน เสริมสิทธิพลเมืองของปัจเจก ผู้เชี่ยวชาญบางท่านเรียกการเป็นพลเมืองในมุมนี ว่า “ไกลกว่าซีเอสอาร์” (beyond CSR) หรือ “ซีเอสอาร์ทางการเมือง” 11 มุมมอง 3 มุมเกี่ยวกับ “การเป็นพลเมืองของธุรกิจ”
  • 12. ก่อนหน้านีมีแนวคิดที่หลากหลาย... • “การเป็นพลเมืองดี” มักถูกใช้ในความหมาย “ช่วยเหลือสังคม” เช่น บริจาคเงิน/สิ่งของ/ลงแรงช่วงวิกฤตินาท่วม • “ซีเอสอาร์” มักถูกใช้ในความหมาย “คืนกาไรสู่สังคม/ชุมชน” เพียงมิติ เดียว เน้นการทาการกุศลรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะในชุมชนที่ไม่ไว้ใจธุรกิจ • “ธุรกิจที่ยั่งยืน” มักถูกใช้ในความหมาย “การทาธุรกิจที่สอดคล้องกับ หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน” คือไม่ลิดรอนคุณภาพชีวิตของคนรุ่นหลัง → เน้น ด้านสิ่งแวดล้อม 12
  • 13. …แต่ปัจจุบันกาลังหลอมรวมและยกระดับ รายงาน "Corporate citizenship: Profiting from a sustainable business" ปี 2008 โดย Economist Intelligence Unit นิยาม “การเป็น พลเมืองของธุรกิจ” ว่า 13 “การก้าวข้ามการกุศล (philanthropy) และการปฏิบัติตามกฎหมาย (compliance) ไปสู่การจัดการกับผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ของธุรกิจ รวมถึงการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจ “พลเมืองภาคธุรกิจ” ไม่เพียงแต่มีความรับผิดต่อผู้ถือหุ้นเท่านั้น หากแต่ ยังมีความรับผิดต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ อาทิ พนักงาน ผู้บริโภค คู่ค้า ชุมชนท้องถิ่น และสังคมส่วนรวม”
  • 16. ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” 16 • 1962 “Silent Spring” โดย Rachel Carson • 1972 “Limits to Growth” โดย Club of Rome • 1972 UN Conference on the Human Environment ในกรุงสต็อคโฮล์มส์ • 1973 วิกฤตินามันครังแรก • 1987 Brundtland Commission Report : “Our Common Future” • 1989 Montreal Agreement เพื่อกาจัดสาร CFC
  • 17. ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” (ต่อ) 17 • 1991 World Business Council on Sustainable Development ก่อตัง • 1992 Earth Summit ในกรุงริโอ เดอจาไนโร • 1997 Kyoto Protocol • 2005 เฮอริเคน Katrina / GE launch “Ecomagination” • 2010 Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD): Interim Green Growth Report • 2011 United Nations Environment Programme (UNEP) Green Economy Report • 2011 European Commission’s EU Low Carbon Roadmap
  • 18. การปะทะระหว่างโลกทัศน์ หรือความเคยจริง vs ความจริง 18 “เรื่องจำเป็น” ต่อ ควำมอยู่รอดในยุคนี้ “เรื่องหรูหรำ” ที่ ไม่จำเป็นยำมตกอับ หรือ การพัฒนาที่ยั่งยืนคืออะไร ระหว่าง... ความเป็นจริง
  • 19. ที่มา : www.storyofstuff.com, มูลนิธิโลกสีเขียว กำจัด ขยะผลิต สินค ้ำ สกัด วัตถุดิบ จัดจำหน่ำย บริโภค กำรตลำด เพื่อทิ้งขว ้ำง 19 ทุนนิยมอุตสาหกรรม = จากอู่สู่ขยะ
  • 20. “เศรษฐกิจที่ยั่งยืน” ในอุดมคติ: “จากอู่สู่อู่” (cradle to cradle) พืช สัตว์ ผู้ย่อยสลาย สาร อาหาร ในดิน “จากอู่สู่อู่” ในระบบนิเวศ “จากอู่สู่อู่” ในระบบมนุษย์ ผลิต/ประกอบ วัสดุ ผลิตภัณฑ์ บริโภค 20
  • 22. ลักษณะสาคัญบางประการของ “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” 22 ให้ความสาคัญกับความเท่าเทียมกัน (equity) และความยุติธรรม (fairness) มีมุมมองระยะยาว (long-term view) ภายใต้หลักความรอบคอบ (precautionary principle) ผู้เชี่ยวชาญบางคนเสนอว่า ตราบใดที่คนรุ่นหนึ่งคิดถึง คนรุ่นต่อไป (ประมาณ 50 ปี) ก็แปลว่าคนทุกรุ่นจะได้รับการดูแล คิดแบบเป็นระบบ (systems thinking) ซึ่งต้องอาศัยความเข้าใจในความ เชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
  • 24. Global Risk Report โดย World Economic Forum • รายงานเล่มล่าสุดคือฉบับ พ.ศ. 2562 เป็นรายงานฉบับที่ 14 • จัดทาโดย World Economic Forum ร่วมกับ Marsh & McLennan Companies และ Zurich Insurance Group ความเสี่ยงโลก (global risk) นิยาม เหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนหรือเงื่อนไขที่หากเกิดขึนภายในกรอบเวลา 10 ปีข้างหน้า จะทาให้เกิดผลกระทบเชิงลบที่มีนัยสาคัญต่อหลายประเทศหรือหลายอุตสาหกรรม แนวโน้มโลก (global trend) นิยาม แนวโน้มที่กาลังเกิดขึนอยู่ในปัจจุบันและอาจส่งผลให้ความเสี่ยงโลกมีความรุนแรงขึน และ/หรือ ปรับเปลี่ยนลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงต่างๆ โดยรวมถึงแนวโน้มที่ ช่วยบรรเทาความเสี่ยงเหล่านันด้วย 24
  • 27. • ส่วนที่ 1 ความเสี่ยงระดับโลกใน พ.ศ. 2019 การวิเคราะห์ความเสี่ยงในแง่ต่างๆ เช่น ความน่าจะเป็นและผลกระทบจากความเสี่ยงแต่ละ ประเภท พัฒนาการของแต่ละความเสี่ยงปีต่อปี การรับรู้ความเสี่ยงในแต่ละภูมิภาค ความเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละความเสี่ยง ความเชื่อมโยงระหว่างความเสี่ยงและแนวโน้มโลก รวมทังระดับความกังวลที่แตกต่างกัน ระหว่างความเสี่ยงในระยะสันและความเสี่ยงในระยะยาว โครงสร้าง Global Risk Report ฉบับล่าสุด 27
  • 28. โครงสร้าง Global Risk Report ฉบับล่าสุด • ส่วนที่ 2 รายละเอียดความเสี่ยงและผลกระทบที่สาคัญ ในรายงานจัดกลุ่มความเสี่ยงที่เชื่อมโยงกันออกเป็น 4 กลุ่มย่อยที่ถือเป็นความ เสี่ยงสาคัญ โดยระบุผลกระทบ ปัจจัยผลักดัน และแนวทางการแก้ไข โดยความเสี่ยงทัง 4 กลุ่มประกอบด้วย • Power and Values: การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงในโลกที่มีหลายแนวคิด (เช่น ความเสี่ยงจากสงครามการค้าจีน-สหรัฐ และความถดถอยของแนวคิดพหุนิยม) • Heads and Hearts: ด้านที่เป็นมนุษย์ของความเสี่ยงโลก (เช่น สถิติการป่วยเป็น อาการทางจิต ความรุนแรง สาเหตุการตาย) • Going Viral: การเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงทางชีววิทยา (โรคระบาด การก่อการ ร้ายทางชีวภาพ) • Fight or Flight: การเตรียมพร้อมรับมือกับภาวะระดับนาทะเลหนุนสูง 28
  • 29. การเติบโตของประชากรโลก • จานวนประชากรโลกกาลังจะโตจาก 7 พันล้านคนในค.ศ. 2012 เป็น 9.6 ล้านคนใน ค.ศ. 2050 มากกว่าร้อยละ 50 ของประชากรที่จะเกิดใหม่จะอยู่ในทวีปอาฟริกาที่ ในปัจจุบันประชากรจานวน 1 ใน 4 ขาดสารอาหารอยู่แล้ว ที่มา: https://www.flickr.com/photos/laurenmanning/2979574719, http://www.wri.org/blog/2013/12/global-food-challenge-explained-18-graphics 29
  • 33. ผลกระทบต่อไทยจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ที่มา: ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์ วิจัย และฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลก แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ “โครงการการจาลองสภาพ ภูมิอากาศอนาคตสาหรับประเทศไทย และพื้นที่ข้างเคียง” โครงการ ศึกษาภายใต้การสนับสนุนของสานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย http://startcc.iwlearn.or g/doc/Doc_thai_23.pdf 33
  • 34. ความเสี่ยงที่กรุงเทพฯ จะจมนา • กรุงเทพฯ ทรุดตัวปีละ 3-5 เซนติเมตร จากการสูบนาใต้ดินเกินขนาด การกัด เซาะชายฝั่งจากระดับนาทะเลที่สูงขึน และการก่อสร้างที่ไร้การควบคุม • สุ่มเสี่ยงจะเกิดความเสียหาย 150,000 ล้านบาท 34 วัดขุนสมุทรจีน จ.สมุทรปราการ
  • 35. 35
  • 36. Sustainable Development Goals (SDGs) คืออะไร • ชุด “เป้าหมายโลก” ชุดใหม่ ซึ่งองค์การสหประชาชาติให้ทุกประเทศรับไปเป็นกรอบ ในการพัฒนา รัฐบาล 193 ประเทศให้สัตยาบันในเดือนกันยายน 2558 • เป้าหมายทัง 17 ข้อถูกใช้เป็น “จริยธรรมสากล” กากับทิศทางการพัฒนาโลกในช่วง 15 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2558 ถึง 2573 • เป็นเป้าหมายที่รวมความคิดเห็นของทุกภาคส่วนมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของ UN รวมทังภาคธุรกิจอย่างน้อยกว่า 1,500 รายจาก UN Global Compact มีส่วนร่วม ในการพิจารณา • ถึงแม้จะมีกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นรัฐบาลของประเทศต่างๆ แต่ SDGs มองว่าภาค ธุรกิจมีความสามารถและต้องมีส่วนร่วมในการทาให้เป้าหมายต่างๆ บรรลุผล 36
  • 37. 37
  • 38. 38
  • 39. 39
  • 40. 40
  • 41. 41 จีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ไทย = 50%+ พลาสติกในทะเล
  • 44. การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากรไทย (ต่อ) • ไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ (aging society) มาตังแต่ปี 2547 • ปี 2553 ประเทศไทยมีประชากรอายุ 65 ปี ขึนไปคิดเป็นสัดส่วน 9% ของประชากร ทังหมด และจะเพิ่มขึนเป็น 14% ในปี 2564 และจะเพิ่มขึนเป็น 20% ในปี 2574 เมื่อนัน จะเรียกประเทศไทยว่าเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” • สัดส่วนผู้สูงอายุของไทยมากกว่าประเทศอื่นๆ ในอาเซียน และไทยก้าวเข้าสู่สังคมคนแก่เร็ว กว่าประเทศส่วนใหญ่ในอาเซียนประมาณ 20 ปี • เมื่อ 50 ปีก่อน อัตราการเพิ่มประชากรเคยสูงมากเกิน 3% ต่อปี แต่ปัจจุบันลดลงเหลือ 0.5% ต่อปี และแนวโน้มจะลดต่าลงหรืออาจจะติดลบหลังปี 2569 • ภาพรวมประชากรไทยกาลังอยู่ในสภาพ “คงตัว” ตลอดช่วง 30 ปีข้างหน้า โดยประชากร ไทยจะมีจานวนสูงสุด 66.4 ล้านคน ในปี 2569 หลังจากนันจะปรับลดลงอยู่ในสภาพคงตัว ที่มา: รายงาน “การศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบเชิงนโยบายต่อการพัฒนาประเทศจากผลการคาดประมาณประชากรของไทย พ.ศ. 2553-2583” จัดทาโดย “คณะอนุกรรมการคาดประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583” สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เผยแพร่เมื่อกุมภาพันธ์ 2556 44
  • 45. 45
  • 46. ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ = ต้นทุน 46 • ปี 2011 ภัยธรรมชาติ ทั่วโลกก่อความ เสียหาย 380,000 ล้านเหรียญสหรัฐ สูง เป็นประวัติการณ์ • ทศวรรษ 2000-2010 ภัยธรรมชาติรุนแรง เพิ่มขึน 200%+ จาก ทศวรรษก่อนหน้า
  • 48. “ฟองสบู่คาร์บอน” & ความเสี่ยงจาก stranded assets • ถ้าหากปัญหาโลกร้อนรุนแรงขึนเรื่อยๆ หลังปี 2020 นามัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ สารองของบริษัทต่างๆ อาจขุดขึนมาใช้ไม่ได้ 48
  • 49. “ฟองสบู่คาร์บอน” & ความเสี่ยงจาก stranded assets (ต่อ) • ในกรณีนัน “สินทรัพย์” เหล่านีจะกลายเป็น “สินทรัพย์สูญเปล่า” หรือ stranded assets ส่งผลต่อราคาหุ้นในอนาคต • นักลงทุนสถาบันหลายรายเริ่มย้ายเงินออกจากหุ้นของบริษัทที่มีสินทรัพย์เหล่านีสูง 49
  • 50. คนจนพึ่งพาบริการระบบนิเวศมากกว่า 50 • เกษตรกรรม ประมง และป่าไม้คิดเป็นสัดส่วนค่อนข้างน้อยของจีดีพี แต่บริการนิเวศของ ธรรมชาติเป็นส่วนสาคัญใน “จีดีพีคนจน” • ‘เศรษฐกิจเขียว’ จึงจาเป็นต่อการลดความจนและความเหลื่อมลา
  • 51. สถานการณ์ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ 51 สู่เศรษฐกิจสีเขียว: ความท้าทายคู่แฝด ที่มา: The Ecological Wealth of Nations: Earth’s Biocapacity as New Framework for International Cooperation. Global Footprint Network (2010) หน้า 13; ข้อมูลดัชนีพัฒนามนุษย์จาก Human Development Report 2009. UNDP (2009). ประเทศในแอฟริกา ประเทศในเอเชีย ประเทศในยุโรป ประเทศในอเมริกาใต้และทะเลคาริบเบียน ประเทศในอเมริกาเหนือ ประเทศในโอเชียเนีย ขีดความสามารถทางชีวภาพเฉลี่ยต่อหัวของโลก ปี 1961 ขีดความสามารถทางชีวภาพเฉลี่ยต่อหัว ของโลก ปี 2006 ดัชนีพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาติ เส้น“การพัฒนามนุษย์ระดับสูง”ของUNDP พัฒนามนุษย์ระดับสูงได้ ภายในขีดจากัดของโลก รอยเท้านิเวศโลก(เฮคเตอร์ต่อหัว)
  • 53. Green is the new Black 53
  • 54. เหตุผลที่บริษัทอยากทาธุรกิจที่ยั่งยืน • แรงจูงใจทางศีลธรรม • ลดต้นทุนและลด/บริหารความเสี่ยง • ประโยชน์ด้านประสิทธิภาพเชิงนิเวศ (eco-efficiency) • สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่แตกต่างจากคู่แข่ง (product differentiation) • เป็นกลยุทธ์ในการเอาตัวรอดในระยะยาว (“creative destruction”) 54 แต่ละบริษัทมีเหตุผลที่แตกต่างกันในการนาหลัก “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” มา ใช้ในการดาเนินธุรกิจ เหล่านีคือ “เหตุผลทางธุรกิจ”
  • 55. “Push factors” เป็นทังวิกฤตและโอกาส ที่มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org 55 ปัจจัยผลักดัน 10 ประการ 5 ประเด็นร้อน 5 ผู้มีส่วนได้เสียสาคัญที่ ผลักดัน ภาวะสภาพภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง ผู้บริโภคที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม มลพิษและอันตรายต่อ สุขภาพ ผู้ถือหุ้นนักเคลื่อนไหว การต่อต้านโลกาภิวัตน์ที่ไม่ เป็นธรรม ภาคประชาสังคม/เอ็นจีโอ วิกฤตพลังงาน ผู้กากับดูแลภาครัฐ/ นักวิทยาศาสตร์ ความไว้วางใจของประชาชน ในภาคธุรกิจเสื่อมถอย ประชาชน
  • 56. “Pull factor” : ธุรกิจใหม่ที่ยั่งยืนโตเร็ว 56 อัตราการเติบโตต่อปี(%) 30% 50% สินค้า แฟร ์เทรด $2.2 พันล้าน เสื้อผ้าออร ์ แกนิก $583 ล้าน อาหารปลอด สารพิษ $15.5 พันล้าน ไมโคร ไฟแนนซ ์ $7 พันล้าน 10% 20% 40% รายได้ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009 ที่มา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation
  • 57. “Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ล้านล้าน 57 • ทั่วโลกมีผู้มีรายได้น้อยกว่า $2 ต่อวัน 2.6 พันล้านคน → รายได้ น้อย แต่มี จานวน มาก
  • 58. “Pull factor” : นักลงทุนเพื่อความยั่งยืน 58 Key elements of Socially Responsible Investing (SRI) funds: • Screening • นักลงทุนสถาบันที่ลงนามใน UN Principles of Responsible Investment บริหารเงินรวมกัน $45 ล้านล้าน (ราว 45% ของทังโลก) • ประเมินกันว่ากองทุนที่ลงทุนอย่าง “รับผิดชอบ ต่อสังคม” (value-based investing) บริหาร เงินราว 12% ของเงินทุนใต้การจัดการทังโลก • Community Investment • Shareholder Advocacy
  • 60. “ประโยชน์ทางธุรกิจ” : บริษัทที่มี climate action plan 60 ที่มา: Climate Disclosure Project, Climate action and profitability: CDP S&P 500 Climate Change Report 2014, on behalf of 767 investors representing USD 92 trillion in assets
  • 62. ที่มา: Wayne Dunn, “CSR Value Continuum: Another way to think about Shared Value”, CSR Training Institute, http://www.slideshare.net/waynedunn/csr-value-continuum-another-way-to-think-about-shared-value 62
  • 63. ที่มา: Wayne Dunn, “CSR Value Continuum: Another way to think about Shared Value”, CSR Training Institute, http://www.slideshare.net/waynedunn/csr-value-continuum-another-way-to-think-about-shared-value 63
  • 69. ความคิดที่เปลี่ยนไปของภาคธุรกิจต่อปัญหาสังคม ก่อนค.ศ. 2000 • It’s not a problem. • เพิกเฉยต่อ ปัญหา หรือไม่มองว่า เป็นเรื่องใหญ่ • ลดระดับความ รับผิดชอบให้ น้อยที่สุด • การทาการ กุศลขึนอยู่กับ รสนิยม ส่วนตัว 2000-2005 • It’s a problem. • ลดขนาดของ ปัญหาให้เล็ก ลงที่สุดแล้วใส่ เงินเข้าไป แก้ปัญหา เพื่อ แสดงว่าเรามี ส่วนร่วม • CSR และการ กุศลเป็นเรื่อง “ชื่อเสียง” ของบริษัท 2006-2010 • Let’s solve the problem. • เราต้องเพิ่ม ต้นทุนเพื่อ แก้ปัญหานี • เราต้องมีการ รายงานเรื่อง วิธีแก้ปัญหา อย่างโปร่งใส • เราใช้ ความสามารถ หลักของ บริษัทมา แก้ปัญหาได้ 2010 เป็นต้นมา • It’s an opportunity to create shared value. • เราลดต้นทุน สร้างรายได้เพิ่ม และสร้างคุณ ค่าที่แตกต่างได้ ด้วยการแก้ไข ปัญหาสังคม • กระทั่งปัญหา สังคมที่ไม่ส่งผล กระทบต่อ ธุรกิจของเราก็ กลายเป็น “โอกาส” ได้ ที่มา: https://www.fsg.org/sites/default/files/tools-and-resources/CSV_Webinar.pdf 69
  • 70. “ความได้เปรียบในการแข่งขัน” กับ “ประเด็นสังคม/สิ่งแวดล้อม” 70 ที่มา: แปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, January- February 2011. ดาวน์โหลดได้จาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx ประเด็นสังคมและ สิ่งแวดล้อมส่งผลต่อผลิต ภาพ (productivity) ฉะนัน จึงส่งผลต่อความได้เปรียบ ในการแข่งขันของบริษัท!
  • 71. Source: FSG.org 71 “คุณค่าร่วม” “Shared Value” คืออะไร? การสร้างคุณค่าทางสังคม ลงทุนในทางที่บรรลุ เป้าหมายทางสังคม และสิ่งแวดล้อม การสร้างคุณค่าทาง ธุรกิจ ลงทุนในทางที่สร้าง ความได้เปรียบในการ แข่งขันระยะยาว การสร้างคุณค่าร่วม ลงทุนในทางที่สร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขัน ระยะยาว และบรรลุเป้าหมาย ทางสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วย นโยบายหรือวิถีปฏิบัติของบริษัทที่สามารถสร้าง “ความได้เปรียบจากการแข่งขัน” ในทางที่บรรลุเป้าทางสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วย
  • 72. จาก CSR สู่ CSV CSR ให้ความสาคัญกับการทาตามหลักเกณฑ์ ความโปร่งใส อาสาสมัครและงานกุศล CSV นโยบายและวิธีปฏิบัติที่สร้างความสามารถใน การแข่งขันไปพร้อมกับการพัฒนาสภาพ เศรษฐกิจและสังคม ปรับปรุงชื่อเสียงขององค์กรต่อผู้มีส่วนได้เสีย สร้างความสามารถในการแข่งขัน และวิธีการแก้ปัญหา สังคมที่ยั่งยืน กระตุ้นโดย การเพิ่มงบประมาณหรือตัวชีวัด เช่น GRI คุณค่าที่สร้างขึน (ทางเศรษฐกิจและสังคม เทียบกับ ต้นทุน) ประเมินโดย แผนก CSR หรือแผนกที่ทาการกุศล แผนกต่างๆ ทางานร่วมกันตังแต่ผู้บริหารระดับสูง ฝ่าย ปฏิบัติการรวมทัง CSR จัดการโดย ทาตามกฎเกณฑ์หรือเป็นปฏิกิริยาต่อแรงกดดันจาก ภายนอก วิธีการทางานที่จะสร้างความสามารถในการแข่งขัน และการทากาไรสูงสุด ถูกมองว่า ประโยชน์ทางอ้อมจากการลดความเสี่ยงและแสดง ความเป็นมิตร ได้นวัตกรรมที่สร้างโอกาสทางธุรกิจและขยายเป็นกล ยุทธ์หลัก ประโยชน์ทาง ธุรกิจ จากัดอยู่กับรอยเท้าของบริษัทและกิจกรรมการกุศล สร้างผลกระทบต่อสังคมในวงกว้างและมีความยั่งยืน และเปลี่ยนแปลงชุมชน ประโยชน์ทาง สังคม ที่มำ: https://www.fsg.org/sites/default/files/tools-and-resources/CSV_Webinar.pdf 72
  • 73. จาก CSR สู่ CSV : กรณีของ Novartis ในอินเดีย 73ที่มา: https://www.fsg.org/sites/default/files/tools-and-resources/CSV_Webinar.pdf ปัญหา: • ร้อยละ 75 ของโครงสร้างพืนฐานด้านสุขภาพ บุคลากรทางการแพทย์และทรัพยากร ด้านสุขภาพของอินเดียกระจุกตัวอยู่แต่ในเขตเมืองที่มีประชากรอยู่อาศัยเพียงร้อยละ 27 • คนที่อาศัยในเขตชนบทที่มีรายได้น้อย ($1-5 ต่อวัน) ต้องเดินทางไกลเพื่อเข้าถึง บริการทางการแพทย์
  • 74. วิธีแก้ปัญหา: • ในค.ศ. 2007 บริษัทเริ่มโครงการ “อโรคยา ปาริวาร์” เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ในเขต ชนบทของอินเดีย (จากเดิมที่ชนบทเป็นตลาดในการทา CSR) • นาเสนอผลิตภัณฑ์และบริการทางสุขภาพ ตังแต่ยาสามัญและยาที่มีแบรนด์ที่นามาใส่บรรจุภัณฑ์ใหม่ใน ปริมาณที่น้อยๆ เพื่อขายในราคาที่ผู้มีรายได้น้อยหาซือได้ • สร้างช่องทางการจัดจาหน่ายใหม่และสร้างทีมขายใหม่ในท้องถิ่นเพื่อทาความเข้าใจข้อมูลเชิงลึกของลูกค้า และสร้างความไว้วางใจ เช่น ส่งหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ลงไปในเขตชนบทเป็นอีกหนึ่งช่องทางการจัดจาหน่าย (ไม่จาเป็นต้องจ่ายยาของ Novatis เท่านัน) จาก CSR สู่ CSV : กรณีของ Novartis ในอินเดีย 74 ที่มา: https://www.fsg.org/sites/default/files/tools-and-resources/CSV_Webinar.pdf
  • 75. จาก CSR สู่ CSV (creating shared value) 75 ที่มา: แปลจาก Michael Porter และ Mark Kramer, “Creating Shared Value,” Harvard Business Review, January- February 2011. ดาวน์โหลดได้จาก http://www.fsg.org/tabid/191/ArticleId/241/Default.aspx CSR CSV ➢ คุณค่า: การทาดี ➢ การเป็นพลเมือง, การกุศล, ความยั่งยืน ➢ ทาตามอาเภอใจ หรือเป็นปฏิกิริยาต่อแรง กดดันจากภายนอก ➢ แยกจากการมุ่งทากาไรสูงสุด ➢ วาระถูกกาหนดด้วยภาระการรายงานและ รสนิยมส่วนตัวของผู้บริหาร/เจ้าของ ➢ ผลกระทบถูกจากัดด้วยรอยเท้าธุรกิจและงบ ซีเอสอาร์ ➢ คุณค่า: ประโยชน์ต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมเทียบกับต้นทุนที่เสียไป ➢ ธุรกิจกับชุมชนสร้างคุณค่าร่วมกัน ➢ เป็นหัวใจของความสามารถในการแข่งขัน ➢ เป็นหัวใจของการทากาไรสูงสุด ➢ วาระถูกกาหนดจากภายในองค์กร ➢ ปรับเปลี่ยนงบการลงทุนและการใช้จ่าย ของทังบริษัท
  • 76. จาก CSR สู่ CSV : กรณีของ Novartis 76 CSR CSV ➢ กิจกรรม: บริจาคยาให้กับประชาชนใน ประเทศยากจน ➢ ผลิตภัณฑ์เดียวกันกับที่ขายในตลาดคน รวย แต่ให้ฟรีหรือลดราคาพิเศษให้ ➢ ทาให้ผู้ป่วยยากจนได้เข้าถึงยา ➢ รายได้ลดลง ต้นทุนเท่าเดิม ➢ โครงการ “อโรคยา ปาริวาร์” : บริการ สุขภาพสาหรับคนจนในอินเดีย ➢ คิดใหม่ตังแต่ผลิตภัณฑ์, บรรจุภัณฑ์, การ ให้การศึกษาแก่ผู้ป่วย และการกระจาย ➢ ช่วยปรับปรุงสาธารณูปโภคการให้บริการ สุขภาพในท้องถิ่น ➢ เรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมลูกค้าและโมเดล ธุรกิจใหม่ๆ ➢ รายได้เพิ่ม โมเดลธุรกิจใหม่ที่ได้กาไร ที่มา: Michael Porter, “Creating Shared Value: Redefining Capitalism and the Role of the Corporation in Society,” FSG CSV Leadership Summit, 2011
  • 77. ความเข้าใจผิดที่แพร่หลายเกี่ยวกับ CSV 77 การ “คืนกาไรสู่สังคม” การแบ่งปันผลกาไร การกุศล ศีลธรรม คุณค่าความเชื่อส่วนบุคคล การลดระดับความเสียหาย แค่ “ความยั่งยืน” ไตรกาไรสุทธิ (triple bottom line) การหาจุดสมดุลระหว่างประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียฝ่ายต่างๆ
  • 78. วิธีสร้าง Shared Value 1. คิดใหม่ (reconceive) เรื่อง ความ ต้องการของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ และ ตลาด 2. นิยาม ผลิตภาพ (productivity) ตลอด สายห่วงโซ่คุณค่า (value chain) ใหม่หมด 3. พัฒนา คลัสเตอร์ท้องถิ่น (local cluster) 78
  • 79. คิดใหม่ (reconceive) เรื่อง ความ ต้องการของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ และตลาด ตอบสนองความต้องการด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วย • การมอบสินค้าและบริการที่ดีขึนแก่ตลาดปัจจุบัน • การเข้าหาลูกค้ากลุ่มใหม่ เช่น กลุ่มลูกค้าฐานราก (Bottom of the Pyramid: BOP) และลูกค้าที่มีความต้องการพิเศษ • การสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีนวัตกรรมในการตอบสนองความต้องการของ สังคม 79
  • 80. Shared Value จากผลิตภัณฑ์ใหม่: กรณี “SpinetoRam” 80 สารหลักในผลิตภัณฑ์ยาควบคุมแมลงของบริษัทในเครือ Dow Chemical พัฒนามาจากสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในธรรมชาติ ใช้เทคโนโลยีการควบคุมแมลง ล่าสุด ภาพ: nourishtheplanet.com
  • 81. Shared Value จากผลิตภัณฑ์ใหม่: กรณี “SpinetoRam” 81 ผลลัพธ์ทางสังคม: ใช้ได้ผลในปริมาณที่น้อยกว่ายาฆ่าแมลงทั่วไป, ส่งผล กระทบน้อยมากต่อแมลงที่เป็นหัวใจของระบบนิเวศ, ไม่เป็นพิษกับสัตว์ เลียงลูกด้วยนม นก และสัตว์นา, ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อโดน แดดและโดยจุลินทรีย์ในดิน ผลลัพธ์ทางธุรกิจ: ยอดขายเติบโตปีละกว่า 10% ตังแต่เริ่มวางจาหน่ายในปี 2010
  • 84. Tesla – รถยนต์ไฟฟ้าเปี่ยมประสิทธิภาพและตีตลาดแมสสาเร็จ • ค่าใช้จ่ายของการใช้รถไฟฟ้าอยู่ที่ประมาณหนึ่งในห้าของรถยนต์ใช้นามัน • เครื่องยนต์ไฟฟ้ามีประสิทธิภาพถึง 95 เปอร์เซ็นต์ เทียบกับ 40 เปอร์เซ็นต์ของ เครื่องยนต์สันดาปภายในที่ลาหน้าที่สุด • สาธารณูปโภคการชาร์จไฟน่าจะสามารถส่งมอบพลังงานสาหรับส่งไฟฟ้าได้ในราคา ประมาณ 26 เซ็นต์ต่อลิตร มีโครงการรีไซเคิลสาหรับแบตเตอรี่รถเทสลา 84 P. 111
  • 85. Opower – ลดความต้องการ เพิ่มอุปทานพลังงาน • บริษัท Opower ผู้ผลิตซอฟต์แวร์สาหรับผู้ผลิตพลังงานในสหรัฐอเมริกา ใช้ส่วนผสม ระหว่างไอที, big data และเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม กระตุ้นให้ผู้บริโภคประหยัด พลังงาน เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตพลังงานกับผู้บริโภค • ก่อตังปี 2007 ช่วยประหยัดพลังงานได้แล้ว 8 พันล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็นเงิน กว่า 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐ 85 P. 88
  • 86. นิยามผลิตภาพ (productivity) ตลอดสายห่วงโซ่ คุณค่า (value chain) ใหม่หมด การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมไปพร้อมๆ กับ • การพัฒนาคุณภาพสินค้า • การเพิ่มปริมาณการผลิต • การลดต้นทุนของสินค้า • การสร้างอุปทานที่ต่อเนื่อง • การกระจายสินค้าที่วางใจได้ 86
  • 88. ตัวอย่างการนิยามผลิตภาพใหม่ : Value Chain ธุรกิจเหมืองแร่ 88 ที่มา: Michael Porter, “Creating Shared Value: Redefining Capitalism and the Role of the Corporation in Society,” FSG CSV Leadership Summit, 2011
  • 89. Zara – “instant fashion” จากพฤติกรรมสู่ดีไซน์ใหม่ใน <1 เดือน 89 P. 280
  • 90. พัฒนาคลัสเตอร์ท้องถิ่น (local cluster) การทางานร่วมกับฝ่ายต่างๆ ในคลัสเตอร์เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการแข่งขันของ ท้องถิ่น เช่น • การสร้างซัพพลายเออร์ท้องถิ่นที่มีความสามารถและวางใจได้ • การสร้างโครงสร้างพืนฐานที่ดี • การเข้าถึงบุคลากรที่มีความสามารถ • การเข้าถึงระบบกฎหมายที่มีประสิทธิภาพ 90
  • 91. Shared Value ผ่านการพัฒนาคลัสเตอร์ท้องถิ่น: กรณี Cisco 91 • การเติบโตของบริษัทถูกจากัดด้วยจานวน ผู้ดูแลระบบ (network administrators) ที่ ผ่านการอบรม • Cisco ก่อตัง “Cisco Networking Academy” ขึนมารับมือกับความท้าทายข้อนี เป็นโครงการศึกษาทางไกลสาหรับนักเรียน ระดับมัธยมปลาย ในพืนที่ยากจนหรือกันดาร เพื่อฝึกผู้ดูแลระบบรุ่นใหม่ ผสมหลักสูตรผ่าน เว็บเข้ากับครูและห้องแล็บในท้องถิ่น จับมือ เป็นพันธมิตรกับบริษัทคู่แข่ง อาทิ HP, Panduit
  • 92. Shared Value ผ่านการพัฒนาคลัสเตอร์ท้องถิ่น: กรณี Cisco 92 ผลลัพธ์ทางสังคม: Academy กว่า 10,000 แห่ง ใน 50 มลรัฐของอเมริกา และ 170 ประเทศ, นักเรียนกว่า 4 ล้านคนผ่านการอบรม ในจานวนนี 750,000 คนเข้าข่าย “พร้อมรับใบรับรองจาก Cisco”, 50% หางานได้ และ 70% ได้งานใหม่ที่ดีกว่าเดิม ผลลัพธ์ทางธุรกิจ: ปลดล็อกข้อจากัดสาคัญด้านแรงงานสาหรับลูกค้าของ Cisco, ผู้ดูแลระบบที่ผ่านการอบรมคุ้นเคยกับผลิตภัณฑ์ของ Cisco, บริษัท มีความสัมพันธ์ที่ดีขึนกับคู่ค้าสาคัญ ธุรกิจในท้องถิ่น และรัฐบาล
  • 93. Source: Measuring Shared Value How to Unlock Value by Linking Social and Business Results by FSG http://www.fsg.org/Portals/0/Uploads/Documents/PDF/Measuring_Shared_Value.pdf 93
  • 96. ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 2561 ตัวเลขของสมาคมผู้ผลิต อาหารสัตว์ไทย เป็น ตัวเลขการคาดการณ์ ความต้องการใช้ที่ คานวณจากประชากร สัตว์ในปีก่อนหน้า การใช้ข้าวโพดเลียงสัตว์และปลาป่นในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ไทย 96
  • 97. 2556-2557 • ความตื่นตัวเรื่องปัญหาการตัดไม้ทาลายป่าต้นนา • ปัญหาหมอกควันจากการเผาพืนที่ทาไร่ข้าวโพด • งานวิจัย: ห่วงโซ่อุปทานข้าวโพดเลียงสัตว์ 4 ตาบล 2558-2560 • ความเคลื่อนไหวของภาคเอกชน เอ็นจีโอ และภาค ประชาชน ในการหาโมเดลเปลี่ยนผ่านออกจากข้าวโพด • มาตรการของภาครัฐ เช่น “60 วันอันตราย” 2561-อนาคต • งานวิจัย: ผลลัพธ์ทางสังคมของโมเดลเปลี่ยนผ่าน • ถอดบทเรียนโมเดลที่ “win-win” (สิ่งแวดล้อม + คุณภาพชีวิตเกษตรกร) ทบทวนสถานการณ์ ห่วงโซ่อุปทานข้าวโพดเลียงสัตว์ จ. น่าน 97
  • 98. 98 98
  • 99. • งานวิจัยปี 2561 เพื่อศึกษาผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในช่วง การเปลี่ยนผ่านของการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ผ่านโครงการต่าง ๆ ที่มี วัตถุประสงค์เพื่อลดการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในพื้นที่จังหวัดน่าน และ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ • เปรียบเทียบข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อน ในพื้นที่ปลูกข้าวโพดและป่า (โดยความอนุเคราะห์ของ GISTDA) และผล การสัมภาษณ์กลุ่ม และสัมภาษณ์เชิงลึกในพื้นที่โครงการ ระยะเวลาการเปลี่ยนผ่านการปลูก ข้าวโพดที่ศึกษา: เปรียบเทียบปี พ.ศ. 2557 กับปี พ.ศ. 2560 ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของโครงการเปลี่ยนผ่าน จ.น่าน และ จ.เชียงใหม่ 99
  • 100. • โครงการแม่แจ่มโมเดลและแม่แจ่ม โมเดลพลัส อาเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ - บ้านสองธาร - บ้านแม่ขี้มูกน้อย - บ้านกองกาย - บ้านห้วยริน - บ้านใหม่ปูเลย • โครงการสวมหมวกให้ภูเขา สวมรองเท้า ให้ตีนดอย ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ชุมชน (วัดโป่งคา) - บ้านโป่งคา บ้านศรีบุญเรือง อ. สันติสุข • โครงการช่องสาลิกาโมเดล - บ้านดอนแท่น อ. เชียงกลาง • โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบบูรณาการ แก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ จังหวัด น่าน ตามพระราชดาริ - บ้านน้าป้าก บ้านห้วยธนู บ้านห้วยม่วง • โครงการสถานีพัฒนาเกษตรที่สูง ตาม แนวพระราชดาริ จังหวัดน่าน (อาเภอ ท่าวังผา) ตามแนวพระราชดาริ - บ้านสบขุ่น บ้านดอยติ้ว โครงการเปลี่ยนผ่านและพืนที่ศึกษา 100
  • 101. • จานวนพื้นที่เผาไหม้ในไร่ข้าวโพดลดลงอย่างมีนัยสาคัญ ในทุกตาบลที่มีการดาเนิน โครงการเปลี่ยนผ่าน ยกเว้นตาบลพงษ์ จ.น่าน เปรียบเทียบระหว่างปี 2557 และ 2560 ซึ่งสะท้อนว่าปัญหาหมอกควันในภาคเหนือปัจจุบันไม่น่าจะมีส่วนเกิดจากการ เผาตอซังข้าวโพดในพื้นที่โครงการเหล่านี้ • พื้นที่ป่าโดยรวมลดลงทุกตาบลที่มีการดาเนินโครงการเปลี่ยนผ่าน มาตรการเรียก คืนพื้นที่ป่าและการปลูกป่ายังไม่เกิดผลในสาระสาคัญเมื่อเทียบกับเนื้อที่ป่าที่หายไป เปรียบเทียบปี 2557 และ 2560 ถึงแม้ว่าอัตราการสูญเสียจะลดลงจากในอดีต • การลดลงอย่างมีนัยสาคัญของราคาข้าวโพดตั้งแต่ปี 2558 เป็นปัจจัยหลักที่ทาให้ เกษตรกรหันมาพยายามหารายได้จากทางอื่น เกษตรกรจากการสัมภาษณ์สะท้อน ว่าราคาข้าวโพดลดลงอย่างมากในช่วงสามปี (จาก 8 บาทต่อกิโลกรัม เหลือเพียง 4 บาทต่อกิโลกรัม) เป็นแรงจูงใจหลักที่ทาให้เกษตรกรหลายคนมองหาทางเลือกอื่น 101 สรุปข้อค้นพบ: พืนที่เผาไหม้ลดลง ป่ายังไม่เพิ่ม และผลทางสังคมยังไม่ชัด
  • 102. • ภาระหนี้สินยังคงสูงมากโดยไม่มีองค์กรใดช่วยเหลืออย่างเป็นกิจลักษณะ ถึงแม้ว่า โครงการเปลี่ยนผ่านหลายโครงการมุ่งรักษาหรือเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร ก็ยังไม่มี องค์กรใดเข้ามาช่วยเหลือในการปลดหรือลดภาระหนี้สินจากการปลูกข้าวโพดใน ฤดูกาลก่อนๆ แต่อย่างใด • โครงการเปลี่ยนผ่านบางโครงการเสนอทางเลือกรายได้ที่น่าจะเป็นไปได้ในอนาคต แต่ยังไม่เห็นผลในปี 2560 เกษตรกรจานวนมากจึงยังปลูกข้าวโพดเป็นหลัก เกษตรกรหลายคนมีความหวังกับพืชทดแทน อาทิ กาแฟ มะม่วงหิมพานต์ ยางพารา แต่ต้องใช้เวลาอีกหลายปีกว่าจะได้ผลผลิต • “การคุ้มครองสิทธิในการใช้ที่ดิน” และ “การมีตลาด/ผู้ซื้อที่แน่นอน” สาคัญต่อ การสร้างความมั่นคงในการดารงชีวิต และสร้างแรงจูงใจให้เลิกปลูกข้าวโพด เกษตรกรหลายคนนอกจากจะกลัวขาดรายได้ ยังกลัวไม่มีสิทธิในการทากินถ้าเลิก ปลูกข้าวโพด และไม่มั่นใจว่าปลูกพืชทางเลือกไปแล้วจะสามารถขายได้ทันที มีผู้รับ ซื้อแน่นอนเช่นเดียวกับข้าวโพดหรือไม่ สรุปข้อค้นพบ (ต่อ): พืนที่เผาไหม้ลดลง ป่ายังไม่เพิ่ม และผลทางสังคมยังไม่ชัด 102
  • 104. • “การธนาคารที่ยั่งยืน” (sustainable banking) ในภาคปฏิบัติวันนี้ จะต้องพิสูจน์ผ่านการดาเนินธุรกิจในสองด้านหลักด้วยกัน 1) การปล่อยสินเชื่ออย่างรับผิดชอบ (responsible lending) ทั้งสินเชื่อสาหรับ ลูกค้าธุรกิจ และสินเชื่อสาหรับลูกค้ารายย่อย และ 2) การเสริมสร้างการเข้าถึงบริการทางการเงินของประชากรที่ยังเข้าไม่ถึง (financial inclusion) 104 รูปธรรมของธนาคารที่ยั่งยืนในไทย?
  • 105. 105
  • 107. ผลการประเมินธนาคารของ Fair Finance Thailand ประจาปี 2562 107 อันดับ 2562 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อันดับ 2561 9 1 2 4 6 5 3 8 7 อันดับเพิ่ม/ลด คะแนน 2562 22.6% 20.7% 20.3% 17.2% 17.0% 16.0% 15.7% 15.4% 14.6% คะแนนเพิ่ม/ลด +12.9% +3.6% +3.6% +3.6% +5.4% +5.2% +0.8% +5.0% +1.7%
  • 109. เปรียบเทียบผลการประเมิน 2018 กับ 2019 109 1. ทุกธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึน ธนาคารที่คะแนนเพิ่มขึนมากที่สุด คือ TMB (พุ่ง 13% จากอันดับสุดท้าย มาเป็นอันดับ 1) รองลงมาคือ ธนาคารกรุงเทพ (เพิ่มราว 5.4%) และธนาคารทิสโก้ (เพิ่ม 5.2%) 2. ธนาคารที่คะแนนเพิ่มขึนน้อยที่สุด คือ กรุงไทย (เพิ่มเพียง 0.8%) ส่งผล ให้อันดับตกลงจากอันดับที่ 3 เป็นอันดับที่ 7 3. หมวดที่ธนาคารโดยเฉลี่ยได้คะแนนเพิ่มมากที่สุด คือ “อาวุธ” (ข้อที่ เปิดเผยต้องปฏิบัติตามกฎหมายไทยอยู่แล้ว) รองลงมาคือหมวด “ภาษี” “การตอบแทน” “สิทธิแรงงาน” และ “สิทธิมนุษยชน” 4. หมวดที่ธนาคารได้คะแนนน้อยที่สุด ยังคงเป็น “ธรรมชาติ” โดยมีเพียง TMB ที่ได้คะแนนในหมวดนี
  • 110. เปรียบเทียบผลการประเมิน 2018 กับ 2019 (ต่อ) 110 5. หมวดที่ธนาคารได้คะแนนมากที่สุด 3 อันดับแรก ไม่ต่างจากปี 2018 ได้แก่ การต่อต้านคอรัปชัน การคุ้มครองผู้บริโภค และการขยายบริการ ทางการเงิน สองหมวดแรกธนาคารต้องปฏิบัติตามกฎหมายและประกาศ ธปท. และ ปปง. ที่เข้มงวดมากขึน แต่เริ่มเห็นรายละเอียดที่แตกต่าง โดยเฉพาะความชัดเจนของกระบวนการรับเรื่องร้องเรียนและเยียวยา 6. ส่วนการขยายบริการทางการเงิน ธนาคารตื่นตัวกับ digital banking แต่ต้องจับตาดูว่าในอนาคต จะมีผู้ที่เคยเข้าถึงแต่วันนีเข้าไม่ถึง เพราะ เปลี่ยนจากการให้บริการผ่านสาขามาเป็น digital banking เพียงใด 7. หมวดที่ธนาคารได้คะแนนน้อยที่สุด ล้วนกาลังทวีความสาคัญเร่งด่วนใน ไทย – ธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสิทธิมนุษยชน
  • 111. 111
  • 112. 112
  • 115. • ก.ค. 2559: คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฟิลิปปินส์ ดาเนินการส่งหนังสือร้องเรียนเรื่อง ผลกระทบด้าน สิทธิมนุษยชนให้แก่บรรษัทผู้ผลิตและปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนยักษ์ใหญ่ (Carbon Majors) 47 บรรษัท ซึ่ง ประกอบด้วยบรรษัทยักษ์ใหญ่อย่าง เชลล์ (Shell), บีพี (BP), เชฟรอน (Chevron), บีเอชพี บิลิตัน (BHP Billiton) • หนังสือร้องเรียนระบุว่า ธุรกิจของบรรษัททัง 47 บรรษัทละเมิดสิทธิมนุษยชนขันพืนฐานอันได้แก่ “สิทธิในชีวิต อาหาร นาดื่มสะอาด สุขอนามัย ที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม และสิทธิในการกาหนดเจตจานงของตนเอง” • กรณีแรกในโลกที่มีการตรวจสอบผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยหน่วยงานรัฐ • หนังสือร้องเรียนชีว่า บรรษัททัง 47 บรรษัทต้องรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึนในประเทศฟิลิปปินส์จากการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของธุรกิจ อีกทังเรียกร้องให้บรรษัททังหมดชีแจงว่าบรรษัทจะดาเนินการ “กาจัด เยียวยา และป้องกัน” การละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึนจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างไร สิทธิมนุษยชนในศตวรรษที่ 21 = จริยธรรมสากลในการทาธุรกิจ ? https://www.theguardian.com/sustainable-business/2016/may/07/climate- change-shell-exxon-philippines-fossil-fuel-companies-liability-extreme-weather 115
  • 116. เหตุผลทางธุรกิจ ● ระบุและตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียฝ่ายต่างๆ ได้ดีขึน ● จัดการกับความเสี่ยงด้านชื่อเสียง ปฏิบัติการ กฎหมาย และการเงินได้ดีขึน ● ดึงดูดคนที่มีความสามารถให้อยากมาทางานกับบริษัท และสร้างแรงจูงใจให้พนักงาน ● เป็นเครื่องสาธิตภาวะผู้นา และมาตรฐานการจัดการขององค์กร ● 2558 จากการสารวจนโยบายของบรรษัทข้ามชาติทั่วโลก จานวน 76 แห่งจาก 225 แห่ง ในหลายอุตสาหกรรม อาทิ เครื่องนุ่งห่ม เทคโนโลยี อาหารและ เครื่องดื่ม แร่ นามันและก๊าซธรรมชาติ การเงิน มีกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิ มนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence) ● 2559 ร้อยละ 50 ของบริษัทต่างๆ ทั่วโลกจานวน 152 แห่งจัดทากระบวนการ ตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน ● กฎหมายที่เกี่ยวข้องเข้มข้นขึนเรื่องความรับผิดชอบของบริษัท สถานการณ์และแนวโน้มเรื่องธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน 116
  • 117. Human Rights Due Diligence 1. การประกาศนโยบายด้านสิทธิ มนุษยชน 2. ประเมินผลกระทบด้านสิทธิ มนุษยชนที่เกิดขึนแล้วและมี แนวโน้มว่าจะเกิด 3. บูรณาการข้อค้นพบและลงมือ ปฏิบัติเพื่อป้องกันหรือบรรเทา ผลกระทบ 4. ติดตามตรวจสอบว่าบริษัทจัดการ กับผลกระทบต่างๆ อย่างมี ประสิทธิผลเพียงใด เหตุผลทางธุรกิจ ● 1945 หลักการสิทธิมนุษยชน ● 1999 UN Global Compact ● 2011 UN Guiding Principles on Business and Human Rights- UNGP ● California Transparency in Supply Chain Act 2010 ● EU Non-Financial Reporting Directive of 2014 ● UK Modern Slavery Act 2015 117
  • 118. 118
  • 121. • องค์กรต่างๆ ในไทยสนใจการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม (SIA) มากขึ้น ด้วยข้อ กาหนดการรายงานเพื่อสมัคร Dow Jones Sustainability Index (DJSI) ของ บริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ ผู้ให้ทุนกิจการเพื่อสังคม และภาครัฐในการ สนับสนุนโครงการต่างๆ • ความเข้าใจเรื่องความเหมาะสมในการใช้เครื่องมือประเมินผลลัพธ์ทางสังคมยัง มีจากัด เช่น ยังไม่เห็นว่าการทา SIA ไม่เหมาะกับอีเว้นท์หรือโครงการระยะสั้น • แม้จะมีการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมเพิ่มขึ้น แต่การเปิดเผยผลการประเมินยัง มีน้อยเช่นเดิม ยกเว้นในภาคกิจการเพื่อสังคม เช่น มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ บัดดี้ โฮมแคร์ และสยาม ออร์แกนิกส์ ที่มีการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ 121 ข้อสังเกตเรื่องการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม (social impact assessment)
  • 122. • โครงการและกิจการหลายแห่งขาดข้อมูลฐาน (baseline) ก่อนเริ่มทาโครงการ ทาให้ การเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงก่อน-หลัง ทาได้ไม่ชัดเจนนัก และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อาจมีอคติจากความทรงจา (recall bias) • บางโครงการมีกิจกรรม (intervention) จากฝ่ายอื่นๆ สูงนอกจากเจ้าของโครงการ ทาให้ต้องอาศัยการประเมินแบบเทียบกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม • บางโครงการเล็งผลลัพธ์ทางสังคมสุดท้าย แต่มีบทบาทเป็นเพียงองค์กรตัวกลาง (intermediate) ทาให้ผลลัพธ์ที่ต้องการสร้างยังตกไม่ถึงกลุ่มเป้าหมาย • การนาข้อมูลที่ได้จากผล SIA ไปปรับปรุงการทางานเพื่อสร้างผลลัพธ์ทางสังคมด้าน บวกให้เพิ่มขึ้น หรือลดผลกระทบทางลบลง มักจะยังไม่ใช่เป้าหมายสาคัญของเจ้าของ โครงการ เมื่อเทียบกับความต้องการทราบผลและ “ตัวเลข” ทั้งที่ประโยชน์หลักของ SIA อยู่ในฐานะ “เครื่องมือ” ช่วยการบริหารจัดการ ไม่ใช่การวัดอย่างเที่ยงตรง 122 ความท้าทายในการทา SIA
  • 123. • ทางานโดยตรงและใกล้ชิดกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากกว่าอาศัยตัวกลางหลาย ระดับชั้น • เข้าใจปัญหาของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตั้งต้นจากสิ่งที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคิดว่าเป็น ปัญหาเช่นกัน และนาเสนอวิธีแก้ที่องค์กรอื่นๆ ยังไม่เคยทากับกลุ่มเป้าหมายนั้น • ทางานกับกลุ่มเปราะบางหรือผู้ที่ขาดโอกาสที่มีองค์กรอื่นๆ เข้าไปทางานด้วยไม่ มาก • ทากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง หากทางานกับปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือมีหลายมิติ จะมุ่งแก้ปัญหาในหลายจุดเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ทางสังคมสุดท้ายอย่างที่คาดหวัง ประเภทของโครงการ/กิจการที่มักสร้างผลลัพธ์ทางสังคมสูง 123
  • 124. • มีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของโครงการอย่างสม่าเสมอ และปรับเปลี่ยน กิจกรรมตามผลลัพธ์ที่เจอในแต่ละช่วง เช่น โครงการด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องใช้ เวลานานกว่าจะเห็นผล • ไม่ตั้งเป้าหมายในขอบเขตที่เล็กเกินไป ใหญ่เกินไป เป็นไปไม่ได้ เป็นนามธรรม หรือ คลุมเครือ เจ้าของโครงการ/กิจการระบุไม่ได้ว่าเมื่อทา “สาเร็จ” คาดว่าจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงอะไรบ้างที่ชัดเจนว่าเป็น “ผลลัพธ์ทางสังคม” • มองเห็นเป้าหมายเดียวกันกับพันธมิตรที่ดาเนินโครงการร่วมกัน • เจ้าของโครงการเข้าใจบทบาทและขอบเขตความสามารถในการแก้ไขปัญหาสังคม และสิ่งแวดล้อม เข้าใจ deadweight, attribution และ displacement ประเภทของโครงการ/กิจการที่มักสร้างผลลัพธ์ทางสังคมสูง (ต่อ) 124
  • 126. • Diminishing returns ของ after-process CSR (ปลูกป่า ฯลฯ) • ความรุนแรงขึนเรื่อยๆ ของวิกฤตสิ่งแวดล้อม • แรงกดดันในห่วงโซ่อุปทาน • ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียไทย vs. มาตรฐานสากล เช่น ดัชนี Dow Jones Sustainability Index • การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย vs. ทิศทางนโยบายของภาครัฐ • แรงกดดันทางสังคมจาก Paris Agreement (COP21) • AEC อิทธิพลของจีน กับความท้าทายระดับภูมิภาค ความท้าทายของธุรกิจไทย 126
  • 128. ที่มา: Business Strategy for Sustainable Development: Leadership and Accountability for the 90s, International Institute for Sustainable Development in conjunction with Deloitte & Touche and the World Business Council for Sustainable Development, 1992. วิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วน ได้เสีย กาหนดนโยบายและกลยุทธ์ด้าน ธุรกิจที่ยั่งยืน ออกแบบและลงมือทาตาม แผนปฏิบัติการ พัฒนาวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อ การเปลี่ยนผ่าน สร้างตัวชี้วัดและมาตรฐานผลการ ดาเนินงาน จัดทาและเผยแพร่รายงานภายใน และนอก 1 7 2 3 4 5 6 ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบ ภายใน 128 “บันไดเจ็ดขัน” ในกระบวนการเปลี่ยนผ่านสู่ธุรกิจที่ยั่งยืนแต่ละระดับ บริษัทหลายแห่งกระโดดมาทาขั้นนี้ เลย เช่น ด้วยการทารายงานความ ยั่งยืนเพียงเพื่อยื่นเป็นสมาชิก DJSI รากฐานที่มักถูกละเลย
  • 129. การกาหนดและเปิดเผยนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายด้านความยั่งยืนที่ ชัดเจน โดยตั้งต้นจากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ประกอบกับการ ประเมินความเสี่ยงด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัท มีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสาคัญกับระดับความรับผิดชอบของบริษัท กล่าวคือ บริษัทที่ เปิดเผยนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายความยั่งยืนอย่างชัดเจนเป็นเหตุเป็น ผล สอดคล้องกับโอกาสและความเสี่ยงด้านความยั่งยืนที่บริษัทวิเคราะห์ และ ผลจากการปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย มีแนวโน้มที่จะมีระดับความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมสูงกว่าบริษัทที่ไม่เคยกาหนดนโยบายหรือ กลยุทธ์ด้านความยั่งยืน หรือกาหนดแบบเป็นนามธรรมกว้างๆ โดยอ้างอิง หลักการสากล แต่มิได้ระบุรูปธรรมที่ชัดเจนและเกี่ยวข้องกับบริบทการดาเนิน ธุรกิจของบริษัท 129 ข้อสังเกตจากงานวิจัยเรื่องการประเมินระดับความรับผิดชอบของบริษัทพลังงาน
  • 130. 130 การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย • จาเป็นในการระบุตัว “ผู้มีส่วนได้เสีย” ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจาก การดาเนินธุรกิจ ทั้งทางบวกและทางลบ • คานึงจากทุก “พฤติกรรมการดาเนินธุรกิจ” (business conduct) และทุก “พื้นที่การ ดาเนินธุรกิจ” (operating location) • ค้นหาประเด็น ความกังวล ความคาดหวัง และข้อมูลที่ต้องการจากบริษัท สาหรับผู้มี ส่วนได้เสียแต่ละฝ่าย • วางกลไกการมีส่วนร่วม (stakeholder engagement) กับผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง
  • 131. • บริษัทจานวนไม่น้อยอ้างอิงการได้ “รางวัล” ต่างๆ อาทิ CSR Award หรือการได้รับ เลือกเข้าเป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Index (DJSI) ราวกับเป็น “ข้อพิสูจน์” ถึงความเป็นบริษัทที่ยั่งยืนแล้ว จึงไม่ลงมือประเมินผลกระทบของ บริษัทต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โอกาสและความเสี่ยงด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม วิธี บริหารจัดการความเสี่ยง ตลอดจนกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน • รางวัลเหล่านี้โดยมากมิใช่ “ข้อพิสูจน์” ถึงระดับความยั่งยืนหรือระดับความ รับผิดชอบของบริษัท หากแต่เป็นเครื่องมือ สร้างแรงจูงใจ ให้บริษัทมีการพัฒนาบน เส้นทางการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง และสามารถใช้เป็นแนวทางสาหรับการ ดาเนินกิจการของบริษัท • ระดับความยั่งยืนที่แท้จริง และโอกาสทางธุรกิจด้านความยั่งยืน เกิดจากผลการ ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย การประเมินความเสี่ยง และการกาหนดกลยุทธ์ด้าน ความยั่งยืนและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง ความเข้าใจผิดเรื่องบทบาทและความหมายของรางวัล และดัชนีความยั่งยืน 131
  • 133. มาตรฐานที่เกี่ยวข้องและดัชนีความยั่งยืน มาตรฐานที่มีกระบวนการรับรอง (certification process) • ISO 14000 • Fairtrade International, FSC (ป่าไม้), MSC (ประมง), Bonsucro (น้าตาล) ฯลฯ มาตรฐานโดยสมัครใจ ไม่มีกระบวนการรับรอง (self-report) • UN Global Compact • ISO 26000 • Principles of Responsible Investment (PRI) ดัชนีความยั่งยืน • Dow Jones Sustainability Index • FTSE4Good • Global Climate 100, Domini 400 133
  • 134. Reliability & Comparability • Reliability: เชื่อถือได้แค่ไหน? (ถ้าใช้แบบสารวจ ถาม คาถามเดิม จะได้คาตอบเดิมหรือไม่?) • Comparability: เปรียบเทียบข้ามบริษัทได้หรือไม่? ข้าม อุตสาหกรรม? ข้ามประเทศ? 134
  • 135. Validity (ความถูกต้อง) • ตัวชี้วัดที่ใช้สะท้อน “ผลงาน” ของบริษัทที่สาคัญต่อ “สังคม” หรือไม่? • ยังมีตัวชี้วัดน้อยตัวที่สะท้อน “ผลประกอบการทางสังคม” ของคู่ค้าและ ห่วงโซ่อุปทาน • ตัวอย่าง – จานวนตัวแทนชนกลุ่มน้อยในคณะกรรมการบริษัท → บอกได้หรือไม่ ว่าบริษัทปฏิบัติต่อชนกลุ่มน้อยอย่างไร? – ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยในแต่ละปี → สะท้อนผลกระทบ ภายนอกเชิงลบทั้งหมดของโรงงานได้หรือไม่? – จานวนกรรมการในคณะกรรมการบริษัท → บอกคุณภาพของธรร มาภิบาลบริษัทได้หรือไม่? 135