SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
Joseph Stiglitz
กับความเหลื่อมล้าที่เราเลือกได ้
สฤณี อาชวานันทกุล
https://www.facebook.com/SarineeA
www.salforest.com
งานนี้เผยแพร่ภายใต ้ลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share
Alike (by-nc-sa) โดยผู้สร้างอนุญาตให ้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใด
ส่วนหนึ่งของงานนี้ได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให ้เครดิตผู้สร้าง ไม่นาไปใช ้ในทางการค ้า และ
เผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
2012
2016
2
ความเชื่อและข ้อเสนอของ อจ. Stiglitz
1.เราควรพยายามสร ้างโอกาสที่เท่าเทียม การเติบโตและ
การกระจายรายได ้ที่เป็นธรรม
2.เราต ้องมีสนามแข่งขันที่เป็นธรรม มองเห็นและแบกรับ
ต ้นทุนภายนอก
3.การเมืองและโครงสร ้างเชิงสถาบันส่งผลต่อรายได ้ ความ
มั่งคั่ง และความเหลื่อมล้า
4.มหาเศรษฐี (“1%”) ใช ้อิทธิพลทางการเมือง แสวงและ
รักษาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ ซ้าเติมความเหลื่อมล้า
5.ความเหลื่อมล้าระดับสูงมากๆ ส่งผลเสียต่อการเติบโต
และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และบั่นทอนประชาธิปไตย
3
4
1950-1980 รายได้คน
อเมริกันเติบโตทุกช่วงชั้น
รายได้ รายได้ของคนที่จน
ที่สุดเติบโตเร็วกว่าคนที่
รวยที่สุด
5
6
ความเดือดร ้อนใน Great Recession
(2008-2011)
• สมมุติ: ครัวเรือนหนึ่งมีคนหารายได ้หนึ่งคน ลูกสอง สุขภาพดีพอประมาณ
ทางานได ้เต็มที่ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉลี่ยของอเมริกาอยู่ที่ 34 ชั่วโมง) ได ้
ค่าจ ้างมากกว่าค่าแรงขั้นต่าเล็กน้อย = $8.50 ต่อชั่วโมง หลังหักภาษี
ประกันสังคมจะมีรายได ้เฉลี่ย $16,640 ต่อปี หลังหักค่าเช่าบ ้าน จะเหลือราว
$2,840 ต่อปี (วันละไม่ถึง $3 ต่อคน) สาหรับค่าใช ้จ่ายพื้นฐานอย่างเช่นอาหาร
ถ ้าเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้นมา เขาจะรับมือไม่ได ้เลย
• ช่วงเศรษฐกิจถดถอยรุนแรง (Great Recession) อัตราการมีงานทาลดลงกว่า
8.7 ล ้านตาแหน่งระหว่างปี 2007-2011 ปกติช่วงนี้จะมีคนเข ้าทางานใหม่ 7
ล ้านคน เท่ากับอัตราว่างงานจริงกว่า 15 ล ้าน คนหลายล ้านหางานทาไม่ได ้จน
ล ้มเลิกความตั้งใจ
• ระบบประกันการว่างงานของรัฐให ้สวัสดิการนาน 6 เดือนเท่านั้น แต่ใน Great
Recession คนว่างงานเกือบครึ่งหนึ่งว่างงานนานนับปี
• ปัญหาสามเด ้ง – ตกงาน + ผ่อนบ ้านไม่ได ้+ เงินเก็บระยะยาวหาย (ตลาดหุ้น
ตกฮวบ; การเปลี่ยนระบบการจ่ายบานาญแบบ defined benefits มาเป็น
defined contributions ทาให ้ลูกจ ้างประสบปัญหาออมเงินไม่ได ้)
7
ความเหลื่อมล้ายิ่งสูง โอกาสยิ่งน้อย
• “American Dream” เป็นเพียงมายาคติ ไม่มีอยู่จริง
• คนที่จนที่สุดมีแนวโน้มว่ารุ่นลูกจะจนต่อไป ส่วนคนรวยก็มีแนวโน้มว่าจะรวย
ต่อไป
• ถ ้าหากประเทศมีความเท่าเทียมของโอกาสจริงๆ ร ้อยละ 20 ของคนที่จนที่สุด
ร ้อยละ 20 ก็จะพบว่าลูกอยู่กลุ่มคนที่จนที่สุดร ้อยละ 20
• ตัวเลขนี้ของเดนมาร์กใกล ้เคียง ราวร ้อยละ 25 ส่วนอังกฤษซึ่งมีความเหลื่อมล้า
ทางชนชั้นสูงมากก็ยังแย่กว่าเล็กน้อย คือร ้อยละ 30 แปลว่าคนจนมีโอกาสร ้อย
ละ 70 ที่จะเลื่อนฐานะ
• ตัวเลขของอเมริกาแย่กว่ามาก มีเพียงร ้อยละ 58 เท่านั้นของคนที่เกิดมาใน
ครอบครัวที่จนที่สุดร ้อยละ 20 เลื่อนฐานะได ้และก็เลื่อนได ้เพียงเล็กน้อย –
เกือบ 2/3 ของคนที่จนที่สุดร ้อยละ 20 มีลูกในกลุ่มที่จนที่สุดร ้อยละ 40 หรือสูง
กว่าระดับโอกาสที่เท่าเทียมราวร ้อยละ 50
• เช่นกัน คนร ้อยละ 20 ของกลุ่มที่จนที่สุดร ้อยละ 20 จะเลื่อนฐานะเข ้าสู่กลุ่มที่
รวยที่สุดร ้อยละ 20 ได ้ไม่มีประเทศไหนทาได ้แต่เดนมาร์ก (ร ้อยละ 14) กับ
อังกฤษ (ร ้อยละ 12) ทาได ้ดีกว่าอเมริกา (ร ้อยละ 8)
8
Marginal Productivity Theory
• มองความเหลื่อมล้าได ้สองแบบใหญ่ๆ – คนที่รวยที่สุดแย่งเค ้กไปจากคนอื่น
(exploitation) หรือว่าพวกเขาได ้ในสิ่งที่สมควรจะได ้ตามทฤษฎีผลผลิตส่วน
เพิ่มของแรงงาน (marginal productivity theory) ซึ่งบอกว่า ค่าแรงที่แท ้จริง
จะต ้องเท่ากับมูลค่าเพิ่มที่นายจ ้างได ้รับ หรือพูดอีกอย่างคือ คนทุกคนได ้
ค่าตอบแทนเท่ากับผลผลิตส่วนเพิ่มของเขาหรือเธอ
• ภายใต ้ทฤษฎีนี้ การเอารัดเอาเปรียบ (อันเป็นผลจากอานาจผูกขาด หรือการ
เลือกปฏิบัติ) ไม่มีทางอยู่ได ้นาน ส่วนเพิ่มของทุนจะทาให ้ค่าจ ้างค่อยๆ เพิ่มขึ้น
คนทางานจะมีชีวิตที่ดีกว่าเดิมจากการออมและนวัตกรรมของคนที่รวยที่สุด
• ทฤษฎีนี้ถูกใช ้สร ้างความชอบธรรมให ้กับการเก็บภาษีน้อยๆ – การเก็บภาษีคน
รวยมากๆ ไม่ยุติธรรม เพราะทาให ้เขาไม่ได ้รับ ‘ผลตอบแทนที่คู่ควร’ กับการ
สร ้างประโยชน์ให ้สังคม และจะบั่นทอนแรงจูงใจไม่ให ้เขาใช ้พรสวรรค์หรือพร
แสวง
• ยิ่งคนรวยทางาน ยิ่งออม คนทางานระดับล่างกว่ายิ่งมีชีวิตดีขึ้น ค่าจ ้างจะสูงขึ้น
9
ค่าจ ้างมัธยฐานรายชั่วโมง รายได ้เฉลี่ย และ
ผลิตภาพในสหรัฐอเมริกา, 1975-2013
ที่มา: “State of Working America,” 12th Ed., Economic Policy Institute, Piketty & Saerz
10
รายได ้ของครัวเรือนเพิ่มน้อยมาก ทั้งที่ผลิต
ภาพเพิ่มสูงมาก
• ค่าแรงมัธยฐาน (ปรับตามเงินเฟ้อแล ้ว) เพิ่มเพียงร ้อยละ 5 ระหว่างปี 1979-
2012 แม ้ว่าผลิตภาพในช่วงเดียวกันเพิ่มถึงร ้อยละ 74.5
• รายได ้มัธยฐานของครัวเรือนอเมริกันระหว่าง 1975-2013 เพิ่มเพียงร ้อยละ 9
และการเติบโตนี้ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในปีแรกๆ ของช่วงนี้เท่านั้น ระหว่างปี 1989-
2013 ตัวเลขนี้หดตัวร ้อยละ 0.9 ด ้วยซ้า
• คนที่จนที่สุดเดือดร ้อนกว่านั้นอีก เพราะมีรายได ้เท่าที่ได ้เพียงเพราะทางานนาน
ขึ้น คนที่จนที่สุดร ้อยละ 20 เพิ่มชั่วโมงการทางานร ้อยละ 22 ระหว่างปี 1979-
2007 มากกว่าคนกลุ่มอื่น
• คนอเมริกันที่จบปริญญาตรีเพิ่มจานวนขึ้นสองเท่านับจากปี 1980 เป็นกว่าร ้อย
ละ 30 ดังนั้นตามทฤษฎี ค่าตอบแทนควรสูงกว่านี้มาก แต่ในความเป็นจริง
ค่าแรงรายชั่วโมงเฉลี่ยที่แท ้จริงของคนอเมริกันที่จบมัธยมปลาย หรือปริญญาตรี
หดตัวลงด ้วยซ้าในรอบ 30 ปีที่ผ่านมา
11
ภาพกว ้าง: ค่าสัมประสิทธิ์จีนี่ (Gini
Coefficient) ของประเทศ OECD แตกต่างกัน
มาก ทั้งที่ผลิตภาพไม่ต่างกันขนาดนั้น
12
ที่มาภาพ:
http://www.newyorker.com/news/john-
cassidy/pikettys-inequality-story-in-six-charts 13
ที่มาภาพ:
http://www.newyorker.com/news/john-
cassidy/pikettys-inequality-story-in-six-charts 14
ถ ้า Marginal Productivity Theory ไม่
ถูกต ้อง ความเหลื่อมล้าจริงๆ มาจากไหน?
• เหตุผลที่ความคิดทานอง “ความเหลื่อมล้าเป็นเรื่องธรรมชาติ”
หรือ “คนรวยได ้ในสิ่งที่พวกเขาสมควรจะได ้” (Marginal
Productivity Theory) อยู่มานานมาก ก็คือมันมีมูลความจริง
• มหาเศรษฐีบางคนสร ้างประโยชน์กับสังคม ได ้ประโยชน์ส่วนตนไป
เพียงเสี้ยวเดียวของประโยชน์ที่สร ้างให ้กับสังคม
• แต่ความเหลื่อมล้ามีสาเหตุอีกมากมาย อาทิ การเอารัดเอาเปรียบ
การเลือกปฏิบัติ การเถลิงอานาจผูกขาด
• โดยทั่วไป ความเหลื่อมล้าเป็นผลสาคัญจากปัจจัยเชิงสถาบันและ
การเมืองจานวนมาก อาทิ สถาบันในตลาดแรงงาน ระบบภาษี
ระบบสวัสดิการ ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ ้างและลูกจ ้าง เป็นต ้น
• ปัจจัยเหล่านี้ทางานอย่างเป็นอิสระจากผลิตภาพ และส่งผลต่อ
ผลิตภาพ
15
การแสวงค่าเช่าทางเศรษฐกิจ (Rent
seeking)
• ตลอดระยะเวลา 30 ปีที่ผ่านมา การเติบโตของรายได ้ของกลุ่มคนที่รวยที่สุด
เกิดขึ้นในสองกลุ่มอาชีพ ได ้แก่ ภาคการเงิน (ระดับผู้บริหารและไม่ใช่ผู้บริหาร)
และผู้บริหารนอกภาคการเงิน
• มีหลักฐานว่า การแสวงค่าเช่าทางเศรษฐกิจมีส่วนสาคัญในการเติบโตของ
รายได ้ของสองกลุ่มนี้
• การเติบโตของค่าตอบแทนผู้บริหารไม่สะท ้อนผลิตภาพ – ไม่พบความสัมพันธ์
(correlation) ระหว่างค่าตอบแทนผู้บริหาร กับผลประกอบการของบริษัท
• ปี 1990 Jensen & Murphy พบว่าการเปลี่ยนแปลงของค่าตอบแทนซีอีโอ
2,505 คน ในบริษัท 1,400 แห่ง ไม่สะท ้อนการเปลี่ยนแปลงของผล
ประกอบการ งานของ Bebchuk, Fried & Grinstein ชี้ว่าการเติบโตมหาศาล
ของค่าตอบแทนผู้บริหารในอเมริกาตั้งแต่ปี 1993 อธิบายไม่ได ้ด ้วยผล
ประกอบการบริษัท หรือโครงสร ้างอุตสาหกรรม แต่ที่จริงส่วนใหญ่มาจาก
ช่องว่างของธรรมาภิบาล ซึ่งทาให ้ผู้บริหารสามารถตั้งค่าตอบแทนตัวเองได ้ใน
การปฏิบัติ
• Mishel & Sabadish สารวจบริษัท 350 แห่ง ชี้ว่าค่าตอบแทนซีอีโอเพิ่มมากกว่า
มูลค่าของบริษัทในตลาดหุ้น และยังเติบโตแม ้ในภาวะที่หุ้นตก
16
ความเหลื่อมล้าของค่าตอบแทน
• ในสหรัฐอเมริกา สัดส่วนผลตอบแทนซีอีโอต่อค่าตอบแทนของพนักงานเฉลี่ย
เพิ่มจาก 20 เท่า ในปี 1965 เป็น 300 เท่า ในปี 2013
• ไม่มีการเปลี่ยนแปลงด ้านเทคโนโลยีใดๆ ที่จะอธิบายการเปลี่ยนแปลงของผลิต
ภาพโดยเปรียบเทียบระดับนี้ และไม่มีคาอธิบายอะไรว่าการเปลี่ยนแปลงด ้าน
เทคโนโลยีจะเกิดในอเมริกา แต่ไม่เกิดในประเทศอื่น
• การออกแบบระบบตอบแทนชี้ชัดว่า มันไม่ได ้ถูกออกแบบมาตอบแทนความ
พยายาม แต่โยงกับราคาหุ้น ซึ่งราคาหุ้นก็เปลี่ยนแปลงด ้วยปัจจัยมากมายที่อยู่
นอกเหนือการควบคุมของซีอีโอ
• ง่ายมากถ ้าจะออกแบบระบบตอบแทนที่มีความเสี่ยงน้อยกว่านี้ เช่น เปรียบเทียบ
กับกลุ่มบริษัทในอุตสาหกรรมที่ใกล ้เคียงกัน
• ผลการศึกษาของ Philippon & Reshef ชี้ว่าใน 20 ปีที่ผ่านมา คนทางานในภาค
การเงินมี ‘พรีเมี่ยมค่าตอบแทน’ เทียบกับธุรกิจอื่น ซึ่งอธิบายไม่ได ้ด ้วยค่าแทน
(proxy) ปกติของผลผลิต (เช่น ระดับการศึกษา หรือระดับความสามารถ) โดย
ได ้ค่าตอบแทนสูงกว่าระดับ “การแข่งขันสมบูรณ์” ถึงร ้อยละ 40
17
หลักฐานหลัง Great Recession
• ธนาคารขนาด “ใหญ่เกินกว่าจะล ้ม” (too big to fail) ได ้ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ
จากหลักประกันโดยนัยว่ารัฐจะไม่ปล่อยให ้ล ้ม นักลงทุนรู้ดี และดังนั้นจึงยินดีให ้
ธนาคารกู้ในอัตราดอกเบี้ยที่ต่ามาก
• ธนาคารเหล่านี้ได ้กาไรดีไม่ใช่เพราะมีประสิทธิภาพสูง หรือให ้บริการดีกว่า แต่
เพราะเท่ากับว่าได ้เงินอุดหนุนจากผู้เสียภาษี ค่าเช่านี้แปลงเป็นรายได ้ที่เพิ่มขึ้น
ของผู้บริหาร และผู้ถือหุ้น
• ผู้บริหารของธนาคารที่นาบริษัทและเศรษฐกิจโลกไปปากเหวยังได ้ค่าตอบแทน
สูงมาก ผลการศึกษา Bear Stearns และ Lehman Brothers ระหว่างปี 2000-
2008 พบว่าผู้บริหารสูงสุดของสองบริษัทนี้ได ้ค่าตอบแทน ‘ตามผลงาน’
(performance-based) ราว $1 พันล ้านสาหรับ Lehman และ $1.4 พันล ้าน
สาหรับ Bear Stearns และค่าตอบแทนนี้ก็ไม่ถูกบริษัทดึงกลับ (claw back)
เมื่อบริษัททั้งสองล่มสลาย
18
ค่าเช่าทางเศรษฐกิจสร ้างความมั่งคั่ง สะสม
สินทรัพย์ที่ไม่สร ้างผลิตภาพ
• ค่าเช่าทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นจากสินทรัพย์ที่ไม่สร ้างผลิตภาพ เช่น
ที่ดินที่ถือเก็งกาไร หุ้น ตราสารทางการเงินหลายประเภท ความมั่ง
คั่งของเจ ้าของสินทรัพย์เพิ่มขึ้น แต่สินทรัพย์เหล่านี้ไม่ทาให ้
เศรษฐกิจมีผลิตภาพมากขึ้น หรือผลิตภาพส่วนเพิ่ม หรือค่าจ ้าง
เฉลี่ยของคนทางานสูงขึ้น
• ในทางตรงกันข ้าม ค่าจ ้างอาจอยู่กับที่หรือลดลง
• ความมั่งคั่งถูกเอาไปลงทุนในสินทรัพย์ไม่ก่อให ้เกิดผลผลิต
แทนที่จะไปลงทุนในสินทรัพย์ที่สร ้างผลผลิต (real productive
capital)
• เงินออมสัดส่วนสูงมากในปีหลังๆ ถูกเอาไปซื้อบ ้าน ซึ่งไม่ได ้เพิ่ม
ผลผลิตของ ‘เศรษฐกิจจริง’
19
ที่มาภาพ:
http://www.newyorker.com/news/john-
cassidy/pikettys-inequality-story-in-six-charts 20
เมื่อรัฐบาลสนับสนุนการแสวงค่าเช่าทาง
เศรษฐกิจ
• การผ่อนปรนกฎเกณฑ์ในทศวรรษ 1980 นาไปสู่วิกฤตการเงิน
• ความล ้มเหลวของรัฐไม่ใช่เรื่องบังเอิญ ภาคการเงินใช ้อิทธิพลทาง
การเมืองสูงมากในการล็อบบี้ภาครัฐ ไม่ให ้แก ้ไขความล ้มเหลวของ
ตลาด
• ค่าเช่าที่ร ้ายแรงที่สุดก็คือความสามารถของภาคการเงินในการฉวย
โอกาสเอาเปรียบคนจนและคนที่ไม่รู้เรื่อง อาทิ การปล่อยสินเชื่อ
ดอกโหด (predatory lending) และการขายสินเชื่อบ ้านให ้กับคน
ที่ไม่มีกาลังผ่อน
• รัฐบาลไม่ดาเนินการใดๆ เพื่อหยุดยั้งกิจกรรมทานองนี้เลย แม ้แต่
เห็นชัดแล ้วในปี 2007 ว่ากาลังเกิดอะไรขึ้น
21
สังคมเหลื่อมล้าสูง
เพราะนโยบายเอื้อเหลื่อมล้า
1. การเมืองส่งผลต่อความมั่งคั่งที่ไม่ได ้มาจากการทางาน
(unearned wealth)
2. รายได ้ทางการเงินถูกเก็บภาษีน้อยมาก
3. รายได ้กว่า 73% ของคนที่มีรายได ้สูงสุด 1% คือ
รายได ้ทางการเงิน
4. การอุดหนุนของภาครัฐ ช่วยเพิ่มผลกาไรทางธุรกิจของ
คนรวย
5. การอุดหนุนของภาครัฐ ทาให ้การจัดสรรทรัพยากรบิด
เบี้ยว
22
การสร ้างอานาจผูกขาดที่ยืนยง
(“sustainable monopolies”)
• วิธีที่ง่ายที่สุดของการได ้อานาจผูกขาด ก็คือไปขอให ้รัฐบาลมอบอานาจผูกขาด
ให ้เช่น ยืดอายุของกฎหมายสิทธิบัตร ลดการเข ้ามาแข่งขันของคู่แข่ง และเพิ่ม
อานาจผูกขาด กฎหมายสิทธิบัตรของอเมริกาไม่ได ้ถูกออกแบบมาเสริมสร ้าง
นวัตกรรม แต่เพื่อเอื้อต่อการแสวงค่าเช่าสูงสุด
• ต่อให ้ไม่ใช ้อานาจรัฐ บริษัทต่างๆ ก็สามารถกีดกันคู่แข่งได ้หลายวิธี เช่น รักษา
กาลังการผลิตส่วนเกิน (excess capacity) เพื่อรอดั๊มราคา ทาให ้คู่แข่งขาดทุน
• อีกวิธีคือการกาหนดโควตา หรือคุณสมบัติไว ้สูงๆ เช่น จากัดจานวนที่ในคณะ
แพทยศาสตร์ หรือจากัดการนาเข ้ามืออาชีพ เพื่อรักษารายได ้ของกลุ่มอาชีพ
บางกลุ่ม
• ต ้นศตวรรษที่ 20 สังคมกังวลเรื่องอานาจผูกขาด ปธน. Theodore Roosevelt
ออกกฎหมายทลายบริษัทผูกขาด อาทิ น้ามัน บุหรี่ ฯลฯ
• แต่แล ้ววันนี้เราก็เห็นภาคธุรกิจหลายภาค มีบริษัทครองตลาดอยู่ไม่กี่เจ ้า
23
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเถลิงอานาจผูกขาด
• ประการแรก ความคิดของนักเศรษฐศาสตร์สานักชิคาโก (เช่น Milton
Friedman และ George Stigler) เสนอว่าตลาดมีการแข่งขันโดยธรรมชาติ
กิจกรรมที่ดูเหมือนต่อต ้านการแข่งขันนั้นจริงๆ แล ้วเพิ่มประสิทธิภาพ มูลนิธิฝ่ าย
ขวาอย่าง Olin Foundation สปอนเซอร์โครงการ “ให ้การศึกษา” ขนานใหญ่กับ
ผู้พิพากษา และประชาชน
• ประการที่สอง การเปลี่ยนโครงสร ้างของระบบเศรษฐกิจ เกิดภาคธุรกิจใหม่ๆ
มากมาย ที่มี “ผลกระทบภายนอกเชิงเครือข่าย” หรือ network externalities
สูง เช่น โทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ ผู้ผูกขาดมาตรฐานได ้ประโยชน์
• ประการที่สาม ธุรกิจพบกลเม็ดใหม่ๆ ในการกีดกันคู่แข่ง อาทิ Microsoft ใช ้กล
ยุทธ์ FUD (fear, uncertainty, and doubt) สุ่มแสดงข ้อความว่าเกิดความ
ผิดพลาดต่างๆ ถ ้ามีการลงโปรแกรมของคู่แข่งคือ Netscape ในคอมพิวเตอร์
รวมถึงไม่เปิดเผย spec ที่จาเป็น และพ่วง Internet Explorer กับการขาย
ระบบปฏิบัติการ Windows
24
“Regulatory Capture”
• บางครั้ง “ของขวัญ” ก็มาในรูปตัวบทกฎหมายที่คนไม่ค่อยรู้เช่น กฎหมายที่
ผ่อนปรนกฎเกณฑ์ให ้กับตลาดอนุพันธ์ทางการเงิน กาหนดว่าตราสารอนุพันธ์มี
“seniority” ในกรณีล ้มละลาย ธนาคารที่ล ้มละลายจะต ้องจ่ายพันธะตามตราสาร
เหล่านี้ ก่อนจ่ายคนงาน คู่ค ้า หรือเจ ้าหนี้รายอื่นๆ ต่อให ้ตราสารอนุพันธ์นั้นเป็น
ตัวการที่ทาให ้ล ้ม (AIG ต ้องให ้รัฐใช ้เงินกว่า $182,000 ล ้านในการอุ้ม)
• เวลาที่ธนาคารกลางปล่อยกู้ธนาคารในอัตราดอกเบี้ยต่าเตี้ย และยอมให ้ธนาคาร
เดียวกันเอาเงินมาให ้รัฐบาลกู้(หรือรัฐบาลต่างด ้าวกู้) ในอัตราดอกเบี้ยสูงๆ ก็
เท่ากับว่ารัฐบาลให ้ของขวัญมูลค่าหลายพันหลายหมื่นล ้านเหรียญ
• ในธุรกิจยา กฎหมายห ้ามรัฐบาลเจรจาต่อรองราคายา เท่ากับของขวัญมูลค่า
$50,000 ล ้านสาหรับบริษัทยา
• โดยทั่วไป การจัดซื้อจัดจ ้างของภาครัฐที่จ่ายแพงเกินควรก็คือการเอื้อประโยชน์
เอกชน
25
ผลเสียของเงินอุดหนุนภาคธุรกิจ (subsidies)
• ในทศวรรษ 1970 เกิดวิกฤตน้ามัน OPEC รัฐบาลอเมริกันวางแผนว่าจะลดการ
พึ่งพิงการนาเข ้าน้ามัน ด ้วยการส่งเสริมการผลิตเอธานอลจากข ้าวโพด
• เอธานอลจากน้าตาลที่คิดค ้นโดยบราซิลประสบความสาเร็จสูงมาก อเมริกาแข่ง
ได ้ด ้วยการเก็บภาษีเอธานอลจากน้าตาล 54 เซ็นต์ต่อแกลลอน และอุดหนุน
โรงงานเอธานอล เช่น โดยให ้สิทธิประโยชน์ทางภาษี ผ่านมา 40 ปี เงินอุดหนุน
นี้ยังอยู่
• เมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจปี 2008 โรงงานเอธานอลหลายโรงล ้มละลาย ต่อให ้ได ้
เงินอุดหนุนเยอะมาก ต ้องรอถึงปี 2011 ก่อนที่ภาษีและเงินอุดหนุนจะถูกปล่อย
ให ้หมดอายุ
• ผู้ได ้ประโยชน์โดยตรงจากมาตรการนี้คือบริษัทยักษ์ Archer Daniels Midland
(ADM) บริษัทนี้ดูจะจัดการการเมืองเก่งกว่าจัดการนวัตกรรม บริจาคเงินให ้กับ
พรรคการเมืองใหญ่ทั้งสองพรรค ทาให ้นักการเมืองไม่แตะการอุดหนุนเอธานอล
• บริษัทต่างๆ ที่ได ้ประโยชน์จากระบบแบบนี้มักอ ้างว่าผู้รับประโยชน์คือคนอื่น ใน
กรณีนี้อ ้างว่า ชาวนาผู้ปลูกข ้าวโพดของอเมริกาได ้ประโยชน์ แต่นี่ไม่เป็นความ
จริงอย่างน้อยก็ในระยะแรกๆ ของเงินอุดหนุนเอธานอล
26
27
โลกาภิวัตน์ซ้าเติมความเหลื่อมล้าในอเมริกา
• โลกาภิวัตน์ไม่ใช่ไม่มีประโยชน์เลย แต่ที่ผ่านมา ไม่เสมอภาค
(asymmetric) เพราะจัดการไม่ดี
• ค่าจ ้างลดต่าลงส่วนหนึ่งเพราะอานาจต่อรองของคนงานถูก
ทาลาย เมื่อทุนเคลื่อนย ้ายได ้อย่างเสรี บริษัทก็บอกคนงานได ้
ง่ายๆ ว่า ถ ้าไม่ยอมรับค่าจ ้างต่า และสภาพการทางานที่แย่ลง
บริษัทก็จะย ้ายไปที่อื่นหรือ outsource จากประเทศอื่น
• ลองคิดดูว่าถ ้าโลกมีอิสระของแรงงาน แต่ไม่มีอิสระของทุน
ประเทศต่างๆ ก็จะแข่งขันกันดึงดูดคนทางาน สัญญาว่าสร ้าง
โรงเรียนและสภาพแวดล ้อมที่ดี เก็บภาษีจากคนทางานน้อยๆ
โดยเอาเงินมาจากการเก็บภาษีทุนสูงๆ
• แต่โลกของเรากลับตรงข ้าม
ที่มาภาพ: Global Inequality, Branco Milanovic 28
การเติบโตของรายได ้จริง แบ่งตามช่วงชั้นรายได ้
ชนชั้นกลางใหม่ระดับโลก
โดยเฉพาะในจีนกับอินเดีย คนราว 60 ล้านคนที่เป็น
Top 1% ของโลก
ชนชั้นกลางเก่าระดับโลก
โดยเฉพาะในอเมริกากับยุโรป
กลไกคุ้มครองคนทางาน: ดีต่อคนทางาน
และดีต่อระบบเศรษฐกิจ
• เศรษฐศาสตร์กระแสหลักมองว่า “ตลาดแรงงานที่ยืดหยุ่น” ดีต่อเศรษฐกิจ
• สหภาพแรงงาน ถูกมองว่าเป็นบ่อเกิดหนึ่งของความไม่ยึดหยุ่น ไร ้ประสิทธิภาพ
• Stiglitz มองมุมกลับว่า กลไกคุ้มครองคนทางานที่เข ้มแข็งช่วยแก ้ไข “ความไม่
สมดุลของอานาจทางเศรษฐกิจ”
• กลไกการคุ้มครองที่ดี ส่งผลให ้มีแรงงานคุณภาพสูง คนทางานภักดีต่อองค์กร
และอยากลงทุนในตัวเองและในงานมากขึ้น และทาให ้สังคมเหนียวแน่นกลม
เกลียวกันมากขึ้น สถานที่ทางานก็ดีขึ้น
• จากแบบแผนและระดับการเปลี่ยนแปลงของค่าตอบแทน ในแง่สัดส่วนของ
รายได ้ประชาชาติ ยากที่จะอธิบายได ้ด ้วยปัจจัยทางเศรษฐกิจล ้วนๆ อย่างเดียว
ยกตัวอย่างเช่น ในภาคการผลิต ระหว่างปี 1949-1980 ผลิตภาพและ
ค่าตอบแทนรายชั่วโมงเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน แต่ทันทีในปี 1980 ก็เริ่ม
แยกห่างจากกัน ค่าตอบแทนรายชั่วโมงหยุดนิ่งเกือบ 15 ปี จากนั้นค่อยๆ เพิ่ม
ในอัตราเดียวกันกับผลิตภาพ ระหว่างปี 1995-200จ แต่หลังจากนั้นก็หยุดนิ่งอีก
• ข ้อมูลนี้บอกว่า ในช่วงเวลาที่ค่าจ ้างเติบโตน้อยกว่าผลิตภาพ คือช่วงที่ผู้บริหาร
ได ้ส่วนแบ่ง “ค่าเช่า” จากบริษัทมากขึ้น
29
นโยบายภาษีตรึงและเพิ่มความเหลื่อมล้า
• อัตราภาษีสูงสุดในอเมริกาลดลงเรื่อยๆ จาก 70% เหลือ 35%
• หั่นภาษีเงินปันผลจาก 35% เป็น 15%, ภาษีผลได ้จากทุนจาก
20% เป็น 15%
• คนที่รวยที่สุด 10% ครอบครองผลได ้ระยะยาวจากทุน (long-
term capital gains) กว่า 90%
• อัตราภาษีสูงสุดที่คนรวยสุดจ่าย ลดลงจาก 37% เป็น 29% วันนี้
ค่าเฉลี่ยคือ 22%
• ภาษีเงินได ้นิติบุคคลจาก 30% เหลือ 9% ของรายได ้รัฐบาลกลาง
• ขยายการยกเว ้นภาษีมรดก เป็น $10.5 ล ้าน สาหรับคู่ครอง
• ทั้งหมดนี้ช่วยให ้การเติบโตของรายได ้60-75% ที่ผ่านมาอยู่ในมือ
คนรวยสุด 10%
• อย่าลืมว่าความเหลื่อมล้าส่งผลต่อโอกาสในชีวิต
30
วอร์เรน บุฟเฟตต์ : “ผมเสียภาษีในอัตราน้อย
กว่าเลขาของผม”
“…Some of us are investment managers who earn billions
from our daily labors but are allowed to classify our income
as “carried interest,” thereby getting a bargain 15 percent
tax rate. Others own stock index futures for 10 minutes
and have 60 percent of their gain taxed at 15 percent, as if
they’d been long-term investors.
These and other blessings are showered upon us by
legislators in Washington who feel compelled to protect us,
much as if we were spotted owls or some other
endangered species. It’s nice to have friends in high
places.
Last year my federal tax bill — the income tax I paid, as
well as payroll taxes paid by me and on my behalf — was
$6,938,744. That sounds like a lot of money. But what I
paid was only 17.4 percent of my taxable income — and
that’s actually a lower percentage than was paid by any of
the other 20 people in our office. Their tax burdens ranged
from 33 percent to 41 percent and averaged 36 percent.
If you make money with money, as some of my super-rich
friends do, your percentage may be a bit lower than mine.
But if you earn money from a job, your percentage will
surely exceed mine — most likely by a lot.”
ที่มา: Warren Buffet, “Stop Coddling the Super Rich,” 2011,
https://www.nytimes.com/2011/08/15/opinion/stop-
coddling-the-super-rich.html?_r=2
31
ทั้งหมดนี้สาคัญไฉน
• การล็อบบี้ล ้วนนาไปสู่นโยบายที่เอื้อประโยชน์คนรวย ไม่ใช่เพื่อ
ประโยชน์สาธารณะ
• การหั่นภาษีคนรวย ไม่ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่มีส่วนเพิ่มหนี้
สาธารณะ
• ทรัพยากรในสังคมถูกจัดสรรไปให ้คนที่รวยที่สุดเป็นหลัก
• 20-40% ของกาไรภาคธุรกิจทั้งหมดเป็นของภาคการเงิน ไม่ใช่
ภาคเศรษฐกิจจริง
• ธนาคารกลางเน้นคุมเงินเฟ้อ ไม่สนใจอัตราว่างงาน
• กฎเกณฑ์กากับดูแลภาคการเงินแบบครึ่งใบ ธนาคารยักษ์ใหญ่
“too big to fail”
32
• วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ มักจะมาหลังช่วงที่เกิดความเหลื่อมล้าสูงมากๆ
• นี่อาจไม่ใช่เรื่องบังเอิญก็ได ้เมื่อเงินกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มเศรษฐี คนอเมริกัน
ทั่วไปก็ขาดกาลังซื้อ หรืออย่างน้อยก็ไม่มีถ ้าไม่ได ้‘แรงพยุงเทียม’ ซึ่งใน
วิกฤต 2008 มารูปของฟองสบู่ที่อยู่อาศัย หนุนโดยนโยบายธนาคารกลาง
• ฟองสบู่ที่อยู่อาศัยช่วยกระพือมหกรรมบริโภค สร ้างภาพลวงตาว่าไม่มีปัญหา
• การย ้ายเงินจากคนจนสุด ไปหาคนรวยสุด ลดการบริโภครวมในสังคมเพราะ
คนที่มีรายได ้สูงกว่า จะบริโภคคิดเป็นสัดส่วนของรายได ้น้อยกว่าคนที่จนกว่า
(คนที่รวยที่สุดออมเงิน 15-25% ของรายได ้คนที่จนที่สุดจาเป็นต ้องใช ้
รายได ้ทั้งหมดที่หามาได ้)
• สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ ถ ้าหากไม่มีปัจจัยอื่น เช่น การลงทุนเพิ่ม หรือการส่งออก
เพิ่ม อุปสงค์รวมในระบบเศรษฐกิจก็จะน้อยกว่าระดับอุปทานที่เศรษฐกิจผลิต
ได ้แปลว่าจะเกิดการว่างงาน
• ในทศวรรษ 1990 “ปัจจัยอื่น” คือ ฟองสบู่เทคโนโลยี รอบ 2008 คือฟองสบู่
ตลาดที่อยู่อาศัย
• อย่างน้อยฟองสบู่เทคโนโลยียังทิ้งโครงสร ้างพื้นฐาน โครงข่ายไฟเบอร์ออบ
ติกส์ ไว ้ให ้ใช ้ประโยชน์
ความเหลื่อมล้าสูงๆ ไม่ดีต่อเศรษฐกิจอย่างไร
33
• โดยทั่วไป การมีสินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยต่าจะช่วยส่งเสริมการลงทุน
• แต่แทนที่จะส่งเสริมการลงทุนที่ช่วยสร ้างการเติบโตระยะยาว การปล่อย
สินเชื่ออย่างง่ายดายอาจนาไปสู่ภาวะฟองสบู่ ฟองสบู่อาจชักนาให ้
ครัวเรือนบริโภคในทางที่ไม่ยั่งยืน เพราะกู้เงินมาบริโภค
• เมื่อฟองสบู่แตก ก็อาจเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย
• ภาวะขาดแคลนอุปสงค์ที่เกิดจากการเติบโตของความเหลื่อมล้า อาจไม่ทา
ให ้ผู้ดาเนินนโยบายตอบสนองในทางที่นาไปสู่ความไร ้เสถียรภาพและ
สิ้นเปลืองทรัพยากร แต่ในอดีตมักเป็นเช่นนั้น
• นโยบายของธนาคารกลางที่เน้นคุมเงินเฟ้อ เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อ
ความเหลื่อมล้าและลดอานาจการต่อรองของแรงงาน ทันทีที่ค่าจ ้างเริ่ม
ปรับตัว โดยเฉพาะถ ้าขึ้นเร็วกว่าอัตราเงินเฟ้อ ธนาคารกลางที่เน้นคุมเงิน
เฟ้อก็จะขึ้นดอกเบี้ย ส่งผลให ้อัตราว่างงานสูงกว่าปกติและกดดันทางลบ
ต่อค่าจ ้าง เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย ค่าจ ้างที่แท ้จริงก็มักจะลดลง
นโยบายธนาคารกลางซ้าเติมความเหลื่อมล้า
34
35
• สหรัฐอเมริกาเคยออกกฎเกณฑ์กากับภาคการเงินที่เข ้มข ้น
อย่าง Glass-Steagall Act ในปี 1933 ภายหลังเกิดภาวะ
เศรษฐกิจถดถอยรุนแรง
• กฎหมายฉบับนี้แยก investment bank (จัดการเงินของคนรวย)
ออกจาก commercial bank (จัดการเงินของคนทั่วไป)
• ต่อมาหลายทศวรรษ อเมริกาไม่ประสบวิกฤตการเงินเลย
• ปี 1999 กฎหมายนี้และกฎเกณฑ์อื่นๆ ถูกยกเลิก
• “นวัตกรรม” ในภาคการเงินถูกใช ้เพื่อเพิ่มระดับการกู้เงินมาเก็ง
กาไร หลบเลี่ยงกฎกติกาที่ยังเหลืออยู่ ปล่อยสินเชื่อดอกโหด
และหลอกลวงลูกหนี้
ผลจากการผ่อนปรนกฎเกณฑ์ (deregulation)
36
• ความเหลื่อมล้ามีส่วนทาให ้เศรษฐกิจขาดเสถียรภาพ และภาวะ
ขาดเสถียรภาพก็ทาให ้ความเสี่ยงมีมากขึ้น บริษัทต่างๆ ซึ่ง
เกลียดความเสี่ยงจะเรียกร ้องผลตอบแทนสูงขึ้นจากการรับความ
เสี่ยง ไม่อย่างนั้นก็จะลงทุนน้อยลง
• ตลกร ้ายคือ ความไร ้เสถียรภาพส่งผลให ้เกิดความเหลื่อมล้ามาก
ขึ้นด ้วย คนจนและชนชั้นกลางเดือดร ้อนจากภาวะเศรษฐกิจ
ถดถอยมากกว่าคนรวย เพราะเผชิญกับการว่างงาน ค่าจ ้างลดลง
ราคาบ ้านลดลง และสูญเสียความมั่งคั่ง
• คนรวยรับมือกับความเสี่ยงได ้มากกว่า จึงได ้ผลตอบแทนสูงกว่า
จากการแบกรับความเสี่ยง
ความเหลื่อมล้า → ไร ้เสถียรภาพ → เพิ่มความ
เสี่ยง → การเติบโตถดถอย
37
• ความเหลื่อมล้าไม่ได ้ส่งผลต่อเศรษฐกิจผ่านความไร ้เสถียรภาพที่เกิดจากมัน
อย่างเดียว แต่มีอีกหลายช่องทางที่ทาให ้เศรษฐกิจด ้อยประสิทธิภาพ และ
ด ้อยผลิตภาพกว่าเดิม
• ประการแรก การลดลงของการลงทุนสาธารณะ อาทิ ด ้านสุขภาพ และ
การศึกษา คนรวยไม่ต ้องอาศัยบริการของรัฐ ซื้อสินค ้าเหล่านี้ได ้เอง เหินห่าง
จากคนธรรมดาและไม่สนใจการบริการสาธารณะ
• ประการที่สอง การบิดเบือนมโหฬารในระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะกิจกรรมที่
เกี่ยวกับการแสวงค่าเช่าทางเศรษฐกิจ ในกฎหมายและระบบการกากับดูแล
• ประการที่สาม ผลกระทบต่อขวัญกาลังใจของคนทางาน และปัญหา
“พยายามมีหน้ามีตาเหมือนเพื่อนบ ้าน” (keeping up with the Joneses)
ความเหลื่อมล้า → เศรษฐกิจด ้อยประสิทธิภาพ
และด ้อยผลิตภาพกว่าเดิม
38
• เมื่ออุตสาหกรรมน้ามันล็อบบี้ให ้ขุดเจาะนอกชายฝั่งได ้ และผลักดันการแก ้กฎหมายลด
ขีดความรับผิดชอบต่อน้ามันรั่ว ก็เท่ากับขอการอุดหนุนสาธารณะ
• การอุดหนุนสาธารณะเหล่านี้ไม่ใช่แค่ให ้ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ แต่ยังบิดเบือนการจัดสรร
ทรัพยากร เช่น กรณีน้ามันรั่วของ BP ในอ่าวเม็กซิโก ลดสวัสดิการรวมของสังคม
• บริษัทน้ามันและถ่านหินที่ใช ้เงินส่งอิทธิพลต่อกฎเกณฑ์กากับดูแลด ้านสิ่งแวดล ้อม ทา
ให ้เราอยู่ในโลกที่มีมลพิษทางน้าและอากาศมากขึ้น สถาพแวดล ้อมแย่ลง คนมีสุขภาพ
แย่ลง
• ต ้นทุนเหล่านี้ปรากฏในรูปของมาตรฐานการครองชีพของคนทั่วไปที่ลดลง ผลกาไรที่
สูงขึ้นของบริษัทน้ามันและถ่านหิน
• ผลตอบแทนทางสังคม (ซึ่งอาจติดลบ ผลจากการลดมาตรฐานการครองชีพหรือการ
ทาลายสิ่งแวดล ้อม) กับผลตอบแทนของเอกชน ไปคนละทางกัน
• แทนที่จะมีระบบที่บัญญัติความรับผิดชอบต่อสังคมระดับสูง และกฎกติกาคุ้มครอง
สิ่งแวดล ้อม คนทางาน และผู้บริโภคที่ดี อเมริกากลับมีระบบ ex post accountability
(รับผิดหลังจากที่เกิดปัญหาแล ้ว) ที่มีราคาแพงมาก ส่วนใหญ่ระบบนี้อาศัยการลงโทษ
ผู้กระทาผิด (เช่น ทาลายสิ่งแวดล ้อม) มากกว่าจากัดการกระทาก่อนเกิดความเสียหาย
ต ้นทุนภายนอก (externalities) กับการ
บิดเบือนการจัดสรรทรัพยากร
39
• ความเครียดและความกังวลส่งผลต่อการแสวงทักษะและความรู้ใหม่ๆ ซึ่งจะส่งผลให ้
การเพิ่มขึ้นของผลิตภาพช ้าลง ส่งผลเสียต่อการทางานของเศรษฐกิจโดยรวม
• สานึกเรื่องความเป็นธรรมก็สาคัญเช่นกัน คนเริ่มรู้สึกว่าความเหลื่อมล้าของค่าจ ้างนั้น
“ไม่เป็นธรรม”
• เวลาที่ผู้บริหารอ ้างว่าต ้องลดค่าจ ้างหรือปลดคนออก เพื่อทาให ้บริษัทแข่งขันได ้ แต่
ขณะเดียวกันก็ขึ้นเงินเดือนตัวเอง คนทางานจะตั้งคาถาม
• ความไม่เป็นธรรมส่งผลให ้คนไม่อยากใช ้ความพยายาม ไม่ยินดีที่จะร่วมมือกับคนอื่น
และไม่อยากลงทุนเพื่ออนาคตของบริษัท
• Krueger & Mas ศึกษาโรงงานที่ผลิตยางรถยนต์ให ้กับบริษัท
Bridgestone/Firestone หลังจากที่ผู้บริหารเปลี่ยนกะทางาน จากแปดชั่วโมงเป็นสิบ
สองชั่วโมง ลดอัตราค่าจ ้างคนงานใหม่ลง 30% ส่งผลให ้เกิดการผลิตยางรถยนต์มี
ตาหนิมากขึ้น เกี่ยวโยงกับการตายและบาดเจ็บกว่า 1,000 กรณี ก่อนที่ Firestone
จะเรียกคืนในปี 2000
ความเหลื่อมล้าบั่นทอนกาลังใจของคนทางาน
40
• ในรัสเซียภายใต ้ระบอบคอมมิวนิสต์ ความรู้สึกของคนงานคือ “พวกเขาแสร ้ง
ทาเป็นจ่ายเรา และเราก็แสร ้งทาเป็นทางาน”
• การทดลองใหม่ๆ ยืนยันความสาคัญของความเป็นธรรม การทดลองทาง
เศรษฐศาสตร์ครั้งหนึ่งชี้ว่า การขึ้นค่าจ ้างให ้กับคนงานที่รู้สึกว่าได ้รับการ
ปฏิบัติไม่เป็นธรรม ส่งผลต่อผลิตภาพอย่างมีนัยสาคัญ และไม่มีผลกระทบ
ใดๆ ต่อคนงานที่รู้สึกว่าได ้รับความเป็นธรรมอยู่แล ้ว
• เกมยื่นคาขาด (ultimatum game): ผู้เล่นคนแรกตัดสินว่าจะแบ่งเงิน 100
เหรียญ ให ้คนที่สองเท่าไร คนที่สองมีสิทธิปฏิเสธ ถ ้าปฏิเสธทั้งคู่จะไม่ได ้
อะไรเลย ทฤษฎี “สัตว์เศรษฐกิจ” บอกว่ากลยุทธ์คือเสนอ 99:1 เพราะ 1
ดีกว่าศูนย์ แต่ในความจริง คนเสนอราว 70:30 หรือ 60:40 และผู้เล่นคนที่
สองโดยเฉลี่ยจะปฏิเสธถ ้าได ้ส่วนแบ่งไม่ถึง 20 เหรียญ
• พูดอีกอย่างคือ ไม่ได ้เงินเลย ดีกว่าได ้ส่วนแบ่งที่มองว่าไม่เป็นธรรมมาก
เกินไป
เราอยากได ้ความเป็นธรรม
41
• เศรษฐกิจมีการแข่งขันสมบูรณ์ ผลตอบแทนส่วนตัวเท่ากับผลตอบแทน
สังคม → ข ้อเท็จจริงคือ เศรษฐกิจเต็มไปด ้วยการแสวงค่าเช่า และการ
บิดเบือนอื่นๆ มากมาย รัฐบาลก็ไม่ยอมแก ้ภาวะล ้มเหลวของตลาด
• ช่องว่างมโหฬารระหว่างผลตอบแทนส่วนตัวกับผลตอบแทนสังคม เป็น
ลักษณะสาคัญของเศรษฐกิจแสวงค่าเช่าทางเศรษฐกิจ แปลว่าแรงจูงใจที่
ปัจเจกเผชิญมักจะทาให ้ลงมือทาผิดทาง และคนที่ได ้ผลตอบแทนสูงๆ ไม่
จาเป็นต ้องเป็นคนที่สร ้างผลตอบแทนสังคมสูงๆ
• ในกรณีที่ผลตอบแทนส่วนตัวของคนที่รวยที่สุดสูงกว่าผลตอบแทนสังคมที่
พวกเขาสร ้างมาก การกระจายรายได ้ก็สามารถลดความเหลื่อมล้าและเพิ่ม
ประสิทธิภาพได ้
• ถ ้าหากไม่มีกลไกคุ้มครองทางสังคม สวัสดิการของปัจเจกจะลดลง และ
ความยินดีที่จะรับความเสี่ยงสูงๆ ก็ลดลง การปรับปรุงกลไกคุ้มครองทาง
สังคมจะช่วยสร ้างเศรษฐกิจที่มีพลวัตมากขึ้น
สรุปความเข ้าใจผิด
42
1. การเมืองถูกครอบงาโดยภาคเอกชนและคนรวย
2. คนที่จนที่สุดมีอิทธิพลน้อยมาก
3. ความเท่าเทียมน้อยลง ความไว ้วางใจน้อยลง ส่งผลให ้คน
อยากประนีประนอมกันน้อยลง ความขัดแย ้งสูงขึ้น
4. ประชาธิปไตยอเมริกันต ้องเหลื่อมล้าน้อยลง ให ้คนออกมาใช ้
สิทธิเลือกตั้งง่ายขึ้น จากัดการสนับสนุนพรรคการเมืองของ
ธุรกิจ มองบริษัทว่าเป็นบริษัท ไม่ใช่ให ้สิทธิเท่าเทียมกับคน
5. ในกรณีที่ผลตอบแทนส่วนตัวของคนที่รวยที่สุดสูงกว่า
ผลตอบแทนสังคมที่พวกเขาสร ้างมาก การกระจายรายได ้ก็
สามารถลดความเหลื่อมล้าและเพิ่มประสิทธิภาพได ้
ประชาธิปไตยตกอยู่ในอันตราย
43
• คาตัดสินศาลฎีกาอเมริกัน ปี 2010 ในคดี Citizens United v. Federal
Election Commission ยอมให ้บริษัทและสหภาพต่างๆ “ใช ้เสรีภาพการ
แสดงออก” ในการสนับสนุนผู้สมัครลงเลือกตั้งที่ตนชอบ โดยสามารถบริจาค
เงินอุดหนุนแคมเปญหาเสียงได ้อย่างไร ้ขีดจากัด
• ในเมื่อบริษัทจานวนมากมีเงินมากกว่าชาวอเมริกันเป็นล ้านๆ เท่า คาตัดสินนี้
ส่งผลให ้เกิดมหาเศรษฐีนักทาแคมเปญเลือกตั้ง มีเป้าหมายเดียวเท่านั้นคือ
เพิ่มผลกาไรของตัวเอง
• คาตัดสินของศาลสะท ้อนความสาเร็จของกลุ่มผลประโยชน์ในการสร ้างระบบ
“one dollar one vote” – สามารถเลือกตั้งนักการเมือง ที่ไปแต่งตั้งผู้
พิพากษา ที่ไปรับรองสิทธิของบริษัทในการใช ้จ่ายเงินไม่อั้นในสนาม
การเมือง
คดีประวัติศาสตร์ Citizens United
44
• “การแข่งขันทางภาษี” ซึ่งประเทศต่างๆ แข่งกันดึงดูดการลงทุน ด ้วยการลด
ภาษีให ้ต่าเตี้ยที่สุด ลดขอบเขตที่จะใช ้ระบบภาษีก ้าวหน้า บริษัทต่างๆ ขู่ว่า
จะย ้ายฐานการผลิตถ ้าภาษีสูงเกินไป เศรษฐีก็ขู่ย ้ายเหมือนกัน
• สหรัฐอเมริกาอย่างน้อยดีกว่าประเทศอื่นตรงที่คนต ้องจ่ายภาษีจากรายได ้ที่
ได ้จากทั่วโลก ไม่เฉพาะรายได ้ที่หาได ้ในประเทศ
• คนสัญชาติกรีกที่ได ้ประโยชน์จากระบบการศึกษาของรัฐ ได ้ประโยชน์จาก
ระบบสุขภาพของรัฐไปแล ้ว สามารถย ้ายไปอยู่ลักเซมเบิร์ก ทาธุรกิจในยุโรป
อย่างเป็นอิสระ และไม่ต ้องเสียภาษีใดๆ ให ้กับรัฐบาลกรีก
• หลายคนบอกว่า โลกาภิวัตน์ทาให ้เราไม่มีทางเลือก แต่ในความเป็นจริง เรา
มีทางเลือก วิธีจัดการโลกาภิวัตน์ที่ผ่านมาจากัดทางเลือกของระบอบ
ประชาธิปไตย ทาให ้ยากมากที่รัฐบาลจะดาเนินนโยบายภาษีและการใช ้จ่าย
สาธารณะเพื่อสร ้างสังคมที่เท่าเทียมกว่าเดิม สร ้างโอกาสมากกว่าเดิม
• รัฐเปลี่ยนวิธีจัดการได ้เช่น เก็บภาษีจากบริษัทที่มีรายได ้จากอเมริกา ไม่
จาเป็นต ้องมีฐานการผลิตในอเมริกา
• เปลี่ยนวาระการลงทุนและนวัตกรรมให ้รักษางานและสิ่งแวดล ้อม
“การแข่งขันทางภาษี”
45
1. ความเหลื่อมล้าเป็นเรื่องธรรมดา ไม่ส่งผลสาคัญอะไร
2. ตลาดดูแลตัวเองได ้ มีประสิทธิภาพสูงสุดถ ้ารัฐไม่คุม
3. ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น
4. คนรวยโดยรวมช่วยสังคมมากกว่าส่งผลเสีย ด ้วยการ
ลงทุน บริจาคเงินเพื่อการกุศล ฯลฯ
5. การรัดเข็มขัดของรัฐ จาเป็นเพื่อลดหนี้สาธารณะ
สร ้างสภาพแวดล ้อมทางธุรกิจที่ดี แล ้วคนทุกคนจะได ้
ประโยชน์
ความเข ้าใจผิด (อีกที)
46
บางตัวอย่าง
• มลพิษที่ไม่ถูกกากับดูแลก่อปัญหาสุขภาพ
• สินเชื่อที่อยู่อาศัยปล่อยแบบชุ่ยๆ โดยไม่ใช ้ข ้อมูลที่ถูกต ้อง
• การแก ้กฎหมายล ้มละลายเอื้อประโยชน์แก่เจ ้าหนี้มากกว่า
ลูกหนี้ – คนที่มีหนี้ 100% ของรายได ้อาจต ้องเอารายได ้ก่อน
หักภาษี 25% ไปจ่ายธนาคารตลอดชีวิต เพราะธนาคารเพิ่ม
ดอกเบี้ย 30% ทุกปี
• รัฐอุดหนุนสินเชื่อเพื่อการศึกษา โดยไม่โยงกับความพึงพอใจ
ของนักเรียน หรือสถิติว่าจบเท่าไร สามารถหางานที่
สถานศึกษาสัญญาว่าจะได ้จริงหรือไม่
• ธนาคารเสียหาย ผู้บริหารธนาคารลอยตัว ได ้โบนัสสูงๆ ต่อไป
• หลบเลี่ยงภาษีในหลากหลายรูปแบบ
หลักนิติรัฐถูกบั่นทอน ซ้าเติมความเหลื่อมล้า
47
• กากับภาคการเงิน เช่น จากัดการใช ้หนี้ (leverage) ของ
สถาบันการเงิน กากับการปล่อยหนี้โหด กากับการจ่ายเงิน
โบนัสผู้บริหาร ปิด offshore banking centers
• ปรับปรุงกฎหมายและการบังคับใช ้กฎหมายแข่งขันทางการค ้า
• ปรับปรุงธรรมาภิบาล เช่น ให ้สิทธิผู้ถือหุ้นตัดสินค่าตอบแทน
ผู้บริหาร (say on pay)
• ปฏิรูปกฎหมายล ้มละลายให ้เป็นมิตรกับลูกหนี้มากขึ้น
• รัฐหยุดเอื้อประโยชน์แก่ธุรกิจ หยุดให ้สวัสดิการแก่ธุรกิจ
รวมถึงการอุดหนุนที่ซ่อนเร ้น (ในกฎหมายภาษี ฯลฯ)
• ปฏิรูประบบภาษีให ้ก ้าวหน้ามากขึ้น ปิดช่องโหว่ เก็บภาษีมรดก
อย่างเข ้มข ้นมากขึ้น
• ปรับปรุงกลไกคุ้มครองทางสังคม การศึกษา ประกันสุขภาพ
ถ ้วนหน้า เพิ่มแรงจูงใจให ้คนทั่วไปออม เช่น ให ้รัฐจ่ายสมทบ
วาระการปฏิรูปเศรษฐกิจที่จาเป็น
48
ความเชื่อมโยงระหว่าง
ความเหลื่อมล้าด้านต่าง
ความเหลื่อมล้าด้าน
รายได้และทรัพย์สิน
ความไม่เท่าเทียมใน
การแข่งขัน
ความเหลื่อมล้าด้าน
ทรัพยากร
ความเหลื่อมล้าด้าน
สิทธิและโอกาสการมี
ส่วนร่วมทางการเมือง
ความเหลื่อมล้าด้าน
สิทธิและโอกาสในการ
รับบริการสาธารณะ
ความเหลื่อมล้าด้าน
สิทธิและโอกาสในการ
ได้รับความยุติธรรม
ความเหลื่อมล้าเชิง
พื้นที่
ความเหลื่อมล้าด้าน
โครงสร้างภาษี
ส่งผลกระทบสองทางเนื่องจาก
คอร์รัปชั่น
49

More Related Content

More from Sarinee Achavanuntakul

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open ForumSarinee Achavanuntakul
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Sarinee Achavanuntakul
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismSarinee Achavanuntakul
 
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandCrowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 
Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
 
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?
 
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandCrowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
 
Business Models of Social Business
Business Models of Social BusinessBusiness Models of Social Business
Business Models of Social Business
 

Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้

  • 1. Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้าที่เราเลือกได ้ สฤณี อาชวานันทกุล https://www.facebook.com/SarineeA www.salforest.com งานนี้เผยแพร่ภายใต ้ลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผู้สร้างอนุญาตให ้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใด ส่วนหนึ่งของงานนี้ได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให ้เครดิตผู้สร้าง ไม่นาไปใช ้ในทางการค ้า และ เผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
  • 3. ความเชื่อและข ้อเสนอของ อจ. Stiglitz 1.เราควรพยายามสร ้างโอกาสที่เท่าเทียม การเติบโตและ การกระจายรายได ้ที่เป็นธรรม 2.เราต ้องมีสนามแข่งขันที่เป็นธรรม มองเห็นและแบกรับ ต ้นทุนภายนอก 3.การเมืองและโครงสร ้างเชิงสถาบันส่งผลต่อรายได ้ ความ มั่งคั่ง และความเหลื่อมล้า 4.มหาเศรษฐี (“1%”) ใช ้อิทธิพลทางการเมือง แสวงและ รักษาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ ซ้าเติมความเหลื่อมล้า 5.ความเหลื่อมล้าระดับสูงมากๆ ส่งผลเสียต่อการเติบโต และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และบั่นทอนประชาธิปไตย 3
  • 4. 4
  • 6. 6
  • 7. ความเดือดร ้อนใน Great Recession (2008-2011) • สมมุติ: ครัวเรือนหนึ่งมีคนหารายได ้หนึ่งคน ลูกสอง สุขภาพดีพอประมาณ ทางานได ้เต็มที่ 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉลี่ยของอเมริกาอยู่ที่ 34 ชั่วโมง) ได ้ ค่าจ ้างมากกว่าค่าแรงขั้นต่าเล็กน้อย = $8.50 ต่อชั่วโมง หลังหักภาษี ประกันสังคมจะมีรายได ้เฉลี่ย $16,640 ต่อปี หลังหักค่าเช่าบ ้าน จะเหลือราว $2,840 ต่อปี (วันละไม่ถึง $3 ต่อคน) สาหรับค่าใช ้จ่ายพื้นฐานอย่างเช่นอาหาร ถ ้าเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้นมา เขาจะรับมือไม่ได ้เลย • ช่วงเศรษฐกิจถดถอยรุนแรง (Great Recession) อัตราการมีงานทาลดลงกว่า 8.7 ล ้านตาแหน่งระหว่างปี 2007-2011 ปกติช่วงนี้จะมีคนเข ้าทางานใหม่ 7 ล ้านคน เท่ากับอัตราว่างงานจริงกว่า 15 ล ้าน คนหลายล ้านหางานทาไม่ได ้จน ล ้มเลิกความตั้งใจ • ระบบประกันการว่างงานของรัฐให ้สวัสดิการนาน 6 เดือนเท่านั้น แต่ใน Great Recession คนว่างงานเกือบครึ่งหนึ่งว่างงานนานนับปี • ปัญหาสามเด ้ง – ตกงาน + ผ่อนบ ้านไม่ได ้+ เงินเก็บระยะยาวหาย (ตลาดหุ้น ตกฮวบ; การเปลี่ยนระบบการจ่ายบานาญแบบ defined benefits มาเป็น defined contributions ทาให ้ลูกจ ้างประสบปัญหาออมเงินไม่ได ้) 7
  • 8. ความเหลื่อมล้ายิ่งสูง โอกาสยิ่งน้อย • “American Dream” เป็นเพียงมายาคติ ไม่มีอยู่จริง • คนที่จนที่สุดมีแนวโน้มว่ารุ่นลูกจะจนต่อไป ส่วนคนรวยก็มีแนวโน้มว่าจะรวย ต่อไป • ถ ้าหากประเทศมีความเท่าเทียมของโอกาสจริงๆ ร ้อยละ 20 ของคนที่จนที่สุด ร ้อยละ 20 ก็จะพบว่าลูกอยู่กลุ่มคนที่จนที่สุดร ้อยละ 20 • ตัวเลขนี้ของเดนมาร์กใกล ้เคียง ราวร ้อยละ 25 ส่วนอังกฤษซึ่งมีความเหลื่อมล้า ทางชนชั้นสูงมากก็ยังแย่กว่าเล็กน้อย คือร ้อยละ 30 แปลว่าคนจนมีโอกาสร ้อย ละ 70 ที่จะเลื่อนฐานะ • ตัวเลขของอเมริกาแย่กว่ามาก มีเพียงร ้อยละ 58 เท่านั้นของคนที่เกิดมาใน ครอบครัวที่จนที่สุดร ้อยละ 20 เลื่อนฐานะได ้และก็เลื่อนได ้เพียงเล็กน้อย – เกือบ 2/3 ของคนที่จนที่สุดร ้อยละ 20 มีลูกในกลุ่มที่จนที่สุดร ้อยละ 40 หรือสูง กว่าระดับโอกาสที่เท่าเทียมราวร ้อยละ 50 • เช่นกัน คนร ้อยละ 20 ของกลุ่มที่จนที่สุดร ้อยละ 20 จะเลื่อนฐานะเข ้าสู่กลุ่มที่ รวยที่สุดร ้อยละ 20 ได ้ไม่มีประเทศไหนทาได ้แต่เดนมาร์ก (ร ้อยละ 14) กับ อังกฤษ (ร ้อยละ 12) ทาได ้ดีกว่าอเมริกา (ร ้อยละ 8) 8
  • 9. Marginal Productivity Theory • มองความเหลื่อมล้าได ้สองแบบใหญ่ๆ – คนที่รวยที่สุดแย่งเค ้กไปจากคนอื่น (exploitation) หรือว่าพวกเขาได ้ในสิ่งที่สมควรจะได ้ตามทฤษฎีผลผลิตส่วน เพิ่มของแรงงาน (marginal productivity theory) ซึ่งบอกว่า ค่าแรงที่แท ้จริง จะต ้องเท่ากับมูลค่าเพิ่มที่นายจ ้างได ้รับ หรือพูดอีกอย่างคือ คนทุกคนได ้ ค่าตอบแทนเท่ากับผลผลิตส่วนเพิ่มของเขาหรือเธอ • ภายใต ้ทฤษฎีนี้ การเอารัดเอาเปรียบ (อันเป็นผลจากอานาจผูกขาด หรือการ เลือกปฏิบัติ) ไม่มีทางอยู่ได ้นาน ส่วนเพิ่มของทุนจะทาให ้ค่าจ ้างค่อยๆ เพิ่มขึ้น คนทางานจะมีชีวิตที่ดีกว่าเดิมจากการออมและนวัตกรรมของคนที่รวยที่สุด • ทฤษฎีนี้ถูกใช ้สร ้างความชอบธรรมให ้กับการเก็บภาษีน้อยๆ – การเก็บภาษีคน รวยมากๆ ไม่ยุติธรรม เพราะทาให ้เขาไม่ได ้รับ ‘ผลตอบแทนที่คู่ควร’ กับการ สร ้างประโยชน์ให ้สังคม และจะบั่นทอนแรงจูงใจไม่ให ้เขาใช ้พรสวรรค์หรือพร แสวง • ยิ่งคนรวยทางาน ยิ่งออม คนทางานระดับล่างกว่ายิ่งมีชีวิตดีขึ้น ค่าจ ้างจะสูงขึ้น 9
  • 10. ค่าจ ้างมัธยฐานรายชั่วโมง รายได ้เฉลี่ย และ ผลิตภาพในสหรัฐอเมริกา, 1975-2013 ที่มา: “State of Working America,” 12th Ed., Economic Policy Institute, Piketty & Saerz 10
  • 11. รายได ้ของครัวเรือนเพิ่มน้อยมาก ทั้งที่ผลิต ภาพเพิ่มสูงมาก • ค่าแรงมัธยฐาน (ปรับตามเงินเฟ้อแล ้ว) เพิ่มเพียงร ้อยละ 5 ระหว่างปี 1979- 2012 แม ้ว่าผลิตภาพในช่วงเดียวกันเพิ่มถึงร ้อยละ 74.5 • รายได ้มัธยฐานของครัวเรือนอเมริกันระหว่าง 1975-2013 เพิ่มเพียงร ้อยละ 9 และการเติบโตนี้ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในปีแรกๆ ของช่วงนี้เท่านั้น ระหว่างปี 1989- 2013 ตัวเลขนี้หดตัวร ้อยละ 0.9 ด ้วยซ้า • คนที่จนที่สุดเดือดร ้อนกว่านั้นอีก เพราะมีรายได ้เท่าที่ได ้เพียงเพราะทางานนาน ขึ้น คนที่จนที่สุดร ้อยละ 20 เพิ่มชั่วโมงการทางานร ้อยละ 22 ระหว่างปี 1979- 2007 มากกว่าคนกลุ่มอื่น • คนอเมริกันที่จบปริญญาตรีเพิ่มจานวนขึ้นสองเท่านับจากปี 1980 เป็นกว่าร ้อย ละ 30 ดังนั้นตามทฤษฎี ค่าตอบแทนควรสูงกว่านี้มาก แต่ในความเป็นจริง ค่าแรงรายชั่วโมงเฉลี่ยที่แท ้จริงของคนอเมริกันที่จบมัธยมปลาย หรือปริญญาตรี หดตัวลงด ้วยซ้าในรอบ 30 ปีที่ผ่านมา 11
  • 12. ภาพกว ้าง: ค่าสัมประสิทธิ์จีนี่ (Gini Coefficient) ของประเทศ OECD แตกต่างกัน มาก ทั้งที่ผลิตภาพไม่ต่างกันขนาดนั้น 12
  • 15. ถ ้า Marginal Productivity Theory ไม่ ถูกต ้อง ความเหลื่อมล้าจริงๆ มาจากไหน? • เหตุผลที่ความคิดทานอง “ความเหลื่อมล้าเป็นเรื่องธรรมชาติ” หรือ “คนรวยได ้ในสิ่งที่พวกเขาสมควรจะได ้” (Marginal Productivity Theory) อยู่มานานมาก ก็คือมันมีมูลความจริง • มหาเศรษฐีบางคนสร ้างประโยชน์กับสังคม ได ้ประโยชน์ส่วนตนไป เพียงเสี้ยวเดียวของประโยชน์ที่สร ้างให ้กับสังคม • แต่ความเหลื่อมล้ามีสาเหตุอีกมากมาย อาทิ การเอารัดเอาเปรียบ การเลือกปฏิบัติ การเถลิงอานาจผูกขาด • โดยทั่วไป ความเหลื่อมล้าเป็นผลสาคัญจากปัจจัยเชิงสถาบันและ การเมืองจานวนมาก อาทิ สถาบันในตลาดแรงงาน ระบบภาษี ระบบสวัสดิการ ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ ้างและลูกจ ้าง เป็นต ้น • ปัจจัยเหล่านี้ทางานอย่างเป็นอิสระจากผลิตภาพ และส่งผลต่อ ผลิตภาพ 15
  • 16. การแสวงค่าเช่าทางเศรษฐกิจ (Rent seeking) • ตลอดระยะเวลา 30 ปีที่ผ่านมา การเติบโตของรายได ้ของกลุ่มคนที่รวยที่สุด เกิดขึ้นในสองกลุ่มอาชีพ ได ้แก่ ภาคการเงิน (ระดับผู้บริหารและไม่ใช่ผู้บริหาร) และผู้บริหารนอกภาคการเงิน • มีหลักฐานว่า การแสวงค่าเช่าทางเศรษฐกิจมีส่วนสาคัญในการเติบโตของ รายได ้ของสองกลุ่มนี้ • การเติบโตของค่าตอบแทนผู้บริหารไม่สะท ้อนผลิตภาพ – ไม่พบความสัมพันธ์ (correlation) ระหว่างค่าตอบแทนผู้บริหาร กับผลประกอบการของบริษัท • ปี 1990 Jensen & Murphy พบว่าการเปลี่ยนแปลงของค่าตอบแทนซีอีโอ 2,505 คน ในบริษัท 1,400 แห่ง ไม่สะท ้อนการเปลี่ยนแปลงของผล ประกอบการ งานของ Bebchuk, Fried & Grinstein ชี้ว่าการเติบโตมหาศาล ของค่าตอบแทนผู้บริหารในอเมริกาตั้งแต่ปี 1993 อธิบายไม่ได ้ด ้วยผล ประกอบการบริษัท หรือโครงสร ้างอุตสาหกรรม แต่ที่จริงส่วนใหญ่มาจาก ช่องว่างของธรรมาภิบาล ซึ่งทาให ้ผู้บริหารสามารถตั้งค่าตอบแทนตัวเองได ้ใน การปฏิบัติ • Mishel & Sabadish สารวจบริษัท 350 แห่ง ชี้ว่าค่าตอบแทนซีอีโอเพิ่มมากกว่า มูลค่าของบริษัทในตลาดหุ้น และยังเติบโตแม ้ในภาวะที่หุ้นตก 16
  • 17. ความเหลื่อมล้าของค่าตอบแทน • ในสหรัฐอเมริกา สัดส่วนผลตอบแทนซีอีโอต่อค่าตอบแทนของพนักงานเฉลี่ย เพิ่มจาก 20 เท่า ในปี 1965 เป็น 300 เท่า ในปี 2013 • ไม่มีการเปลี่ยนแปลงด ้านเทคโนโลยีใดๆ ที่จะอธิบายการเปลี่ยนแปลงของผลิต ภาพโดยเปรียบเทียบระดับนี้ และไม่มีคาอธิบายอะไรว่าการเปลี่ยนแปลงด ้าน เทคโนโลยีจะเกิดในอเมริกา แต่ไม่เกิดในประเทศอื่น • การออกแบบระบบตอบแทนชี้ชัดว่า มันไม่ได ้ถูกออกแบบมาตอบแทนความ พยายาม แต่โยงกับราคาหุ้น ซึ่งราคาหุ้นก็เปลี่ยนแปลงด ้วยปัจจัยมากมายที่อยู่ นอกเหนือการควบคุมของซีอีโอ • ง่ายมากถ ้าจะออกแบบระบบตอบแทนที่มีความเสี่ยงน้อยกว่านี้ เช่น เปรียบเทียบ กับกลุ่มบริษัทในอุตสาหกรรมที่ใกล ้เคียงกัน • ผลการศึกษาของ Philippon & Reshef ชี้ว่าใน 20 ปีที่ผ่านมา คนทางานในภาค การเงินมี ‘พรีเมี่ยมค่าตอบแทน’ เทียบกับธุรกิจอื่น ซึ่งอธิบายไม่ได ้ด ้วยค่าแทน (proxy) ปกติของผลผลิต (เช่น ระดับการศึกษา หรือระดับความสามารถ) โดย ได ้ค่าตอบแทนสูงกว่าระดับ “การแข่งขันสมบูรณ์” ถึงร ้อยละ 40 17
  • 18. หลักฐานหลัง Great Recession • ธนาคารขนาด “ใหญ่เกินกว่าจะล ้ม” (too big to fail) ได ้ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ จากหลักประกันโดยนัยว่ารัฐจะไม่ปล่อยให ้ล ้ม นักลงทุนรู้ดี และดังนั้นจึงยินดีให ้ ธนาคารกู้ในอัตราดอกเบี้ยที่ต่ามาก • ธนาคารเหล่านี้ได ้กาไรดีไม่ใช่เพราะมีประสิทธิภาพสูง หรือให ้บริการดีกว่า แต่ เพราะเท่ากับว่าได ้เงินอุดหนุนจากผู้เสียภาษี ค่าเช่านี้แปลงเป็นรายได ้ที่เพิ่มขึ้น ของผู้บริหาร และผู้ถือหุ้น • ผู้บริหารของธนาคารที่นาบริษัทและเศรษฐกิจโลกไปปากเหวยังได ้ค่าตอบแทน สูงมาก ผลการศึกษา Bear Stearns และ Lehman Brothers ระหว่างปี 2000- 2008 พบว่าผู้บริหารสูงสุดของสองบริษัทนี้ได ้ค่าตอบแทน ‘ตามผลงาน’ (performance-based) ราว $1 พันล ้านสาหรับ Lehman และ $1.4 พันล ้าน สาหรับ Bear Stearns และค่าตอบแทนนี้ก็ไม่ถูกบริษัทดึงกลับ (claw back) เมื่อบริษัททั้งสองล่มสลาย 18
  • 19. ค่าเช่าทางเศรษฐกิจสร ้างความมั่งคั่ง สะสม สินทรัพย์ที่ไม่สร ้างผลิตภาพ • ค่าเช่าทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นจากสินทรัพย์ที่ไม่สร ้างผลิตภาพ เช่น ที่ดินที่ถือเก็งกาไร หุ้น ตราสารทางการเงินหลายประเภท ความมั่ง คั่งของเจ ้าของสินทรัพย์เพิ่มขึ้น แต่สินทรัพย์เหล่านี้ไม่ทาให ้ เศรษฐกิจมีผลิตภาพมากขึ้น หรือผลิตภาพส่วนเพิ่ม หรือค่าจ ้าง เฉลี่ยของคนทางานสูงขึ้น • ในทางตรงกันข ้าม ค่าจ ้างอาจอยู่กับที่หรือลดลง • ความมั่งคั่งถูกเอาไปลงทุนในสินทรัพย์ไม่ก่อให ้เกิดผลผลิต แทนที่จะไปลงทุนในสินทรัพย์ที่สร ้างผลผลิต (real productive capital) • เงินออมสัดส่วนสูงมากในปีหลังๆ ถูกเอาไปซื้อบ ้าน ซึ่งไม่ได ้เพิ่ม ผลผลิตของ ‘เศรษฐกิจจริง’ 19
  • 21. เมื่อรัฐบาลสนับสนุนการแสวงค่าเช่าทาง เศรษฐกิจ • การผ่อนปรนกฎเกณฑ์ในทศวรรษ 1980 นาไปสู่วิกฤตการเงิน • ความล ้มเหลวของรัฐไม่ใช่เรื่องบังเอิญ ภาคการเงินใช ้อิทธิพลทาง การเมืองสูงมากในการล็อบบี้ภาครัฐ ไม่ให ้แก ้ไขความล ้มเหลวของ ตลาด • ค่าเช่าที่ร ้ายแรงที่สุดก็คือความสามารถของภาคการเงินในการฉวย โอกาสเอาเปรียบคนจนและคนที่ไม่รู้เรื่อง อาทิ การปล่อยสินเชื่อ ดอกโหด (predatory lending) และการขายสินเชื่อบ ้านให ้กับคน ที่ไม่มีกาลังผ่อน • รัฐบาลไม่ดาเนินการใดๆ เพื่อหยุดยั้งกิจกรรมทานองนี้เลย แม ้แต่ เห็นชัดแล ้วในปี 2007 ว่ากาลังเกิดอะไรขึ้น 21
  • 22. สังคมเหลื่อมล้าสูง เพราะนโยบายเอื้อเหลื่อมล้า 1. การเมืองส่งผลต่อความมั่งคั่งที่ไม่ได ้มาจากการทางาน (unearned wealth) 2. รายได ้ทางการเงินถูกเก็บภาษีน้อยมาก 3. รายได ้กว่า 73% ของคนที่มีรายได ้สูงสุด 1% คือ รายได ้ทางการเงิน 4. การอุดหนุนของภาครัฐ ช่วยเพิ่มผลกาไรทางธุรกิจของ คนรวย 5. การอุดหนุนของภาครัฐ ทาให ้การจัดสรรทรัพยากรบิด เบี้ยว 22
  • 23. การสร ้างอานาจผูกขาดที่ยืนยง (“sustainable monopolies”) • วิธีที่ง่ายที่สุดของการได ้อานาจผูกขาด ก็คือไปขอให ้รัฐบาลมอบอานาจผูกขาด ให ้เช่น ยืดอายุของกฎหมายสิทธิบัตร ลดการเข ้ามาแข่งขันของคู่แข่ง และเพิ่ม อานาจผูกขาด กฎหมายสิทธิบัตรของอเมริกาไม่ได ้ถูกออกแบบมาเสริมสร ้าง นวัตกรรม แต่เพื่อเอื้อต่อการแสวงค่าเช่าสูงสุด • ต่อให ้ไม่ใช ้อานาจรัฐ บริษัทต่างๆ ก็สามารถกีดกันคู่แข่งได ้หลายวิธี เช่น รักษา กาลังการผลิตส่วนเกิน (excess capacity) เพื่อรอดั๊มราคา ทาให ้คู่แข่งขาดทุน • อีกวิธีคือการกาหนดโควตา หรือคุณสมบัติไว ้สูงๆ เช่น จากัดจานวนที่ในคณะ แพทยศาสตร์ หรือจากัดการนาเข ้ามืออาชีพ เพื่อรักษารายได ้ของกลุ่มอาชีพ บางกลุ่ม • ต ้นศตวรรษที่ 20 สังคมกังวลเรื่องอานาจผูกขาด ปธน. Theodore Roosevelt ออกกฎหมายทลายบริษัทผูกขาด อาทิ น้ามัน บุหรี่ ฯลฯ • แต่แล ้ววันนี้เราก็เห็นภาคธุรกิจหลายภาค มีบริษัทครองตลาดอยู่ไม่กี่เจ ้า 23
  • 24. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเถลิงอานาจผูกขาด • ประการแรก ความคิดของนักเศรษฐศาสตร์สานักชิคาโก (เช่น Milton Friedman และ George Stigler) เสนอว่าตลาดมีการแข่งขันโดยธรรมชาติ กิจกรรมที่ดูเหมือนต่อต ้านการแข่งขันนั้นจริงๆ แล ้วเพิ่มประสิทธิภาพ มูลนิธิฝ่ าย ขวาอย่าง Olin Foundation สปอนเซอร์โครงการ “ให ้การศึกษา” ขนานใหญ่กับ ผู้พิพากษา และประชาชน • ประการที่สอง การเปลี่ยนโครงสร ้างของระบบเศรษฐกิจ เกิดภาคธุรกิจใหม่ๆ มากมาย ที่มี “ผลกระทบภายนอกเชิงเครือข่าย” หรือ network externalities สูง เช่น โทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ ผู้ผูกขาดมาตรฐานได ้ประโยชน์ • ประการที่สาม ธุรกิจพบกลเม็ดใหม่ๆ ในการกีดกันคู่แข่ง อาทิ Microsoft ใช ้กล ยุทธ์ FUD (fear, uncertainty, and doubt) สุ่มแสดงข ้อความว่าเกิดความ ผิดพลาดต่างๆ ถ ้ามีการลงโปรแกรมของคู่แข่งคือ Netscape ในคอมพิวเตอร์ รวมถึงไม่เปิดเผย spec ที่จาเป็น และพ่วง Internet Explorer กับการขาย ระบบปฏิบัติการ Windows 24
  • 25. “Regulatory Capture” • บางครั้ง “ของขวัญ” ก็มาในรูปตัวบทกฎหมายที่คนไม่ค่อยรู้เช่น กฎหมายที่ ผ่อนปรนกฎเกณฑ์ให ้กับตลาดอนุพันธ์ทางการเงิน กาหนดว่าตราสารอนุพันธ์มี “seniority” ในกรณีล ้มละลาย ธนาคารที่ล ้มละลายจะต ้องจ่ายพันธะตามตราสาร เหล่านี้ ก่อนจ่ายคนงาน คู่ค ้า หรือเจ ้าหนี้รายอื่นๆ ต่อให ้ตราสารอนุพันธ์นั้นเป็น ตัวการที่ทาให ้ล ้ม (AIG ต ้องให ้รัฐใช ้เงินกว่า $182,000 ล ้านในการอุ้ม) • เวลาที่ธนาคารกลางปล่อยกู้ธนาคารในอัตราดอกเบี้ยต่าเตี้ย และยอมให ้ธนาคาร เดียวกันเอาเงินมาให ้รัฐบาลกู้(หรือรัฐบาลต่างด ้าวกู้) ในอัตราดอกเบี้ยสูงๆ ก็ เท่ากับว่ารัฐบาลให ้ของขวัญมูลค่าหลายพันหลายหมื่นล ้านเหรียญ • ในธุรกิจยา กฎหมายห ้ามรัฐบาลเจรจาต่อรองราคายา เท่ากับของขวัญมูลค่า $50,000 ล ้านสาหรับบริษัทยา • โดยทั่วไป การจัดซื้อจัดจ ้างของภาครัฐที่จ่ายแพงเกินควรก็คือการเอื้อประโยชน์ เอกชน 25
  • 26. ผลเสียของเงินอุดหนุนภาคธุรกิจ (subsidies) • ในทศวรรษ 1970 เกิดวิกฤตน้ามัน OPEC รัฐบาลอเมริกันวางแผนว่าจะลดการ พึ่งพิงการนาเข ้าน้ามัน ด ้วยการส่งเสริมการผลิตเอธานอลจากข ้าวโพด • เอธานอลจากน้าตาลที่คิดค ้นโดยบราซิลประสบความสาเร็จสูงมาก อเมริกาแข่ง ได ้ด ้วยการเก็บภาษีเอธานอลจากน้าตาล 54 เซ็นต์ต่อแกลลอน และอุดหนุน โรงงานเอธานอล เช่น โดยให ้สิทธิประโยชน์ทางภาษี ผ่านมา 40 ปี เงินอุดหนุน นี้ยังอยู่ • เมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจปี 2008 โรงงานเอธานอลหลายโรงล ้มละลาย ต่อให ้ได ้ เงินอุดหนุนเยอะมาก ต ้องรอถึงปี 2011 ก่อนที่ภาษีและเงินอุดหนุนจะถูกปล่อย ให ้หมดอายุ • ผู้ได ้ประโยชน์โดยตรงจากมาตรการนี้คือบริษัทยักษ์ Archer Daniels Midland (ADM) บริษัทนี้ดูจะจัดการการเมืองเก่งกว่าจัดการนวัตกรรม บริจาคเงินให ้กับ พรรคการเมืองใหญ่ทั้งสองพรรค ทาให ้นักการเมืองไม่แตะการอุดหนุนเอธานอล • บริษัทต่างๆ ที่ได ้ประโยชน์จากระบบแบบนี้มักอ ้างว่าผู้รับประโยชน์คือคนอื่น ใน กรณีนี้อ ้างว่า ชาวนาผู้ปลูกข ้าวโพดของอเมริกาได ้ประโยชน์ แต่นี่ไม่เป็นความ จริงอย่างน้อยก็ในระยะแรกๆ ของเงินอุดหนุนเอธานอล 26
  • 27. 27 โลกาภิวัตน์ซ้าเติมความเหลื่อมล้าในอเมริกา • โลกาภิวัตน์ไม่ใช่ไม่มีประโยชน์เลย แต่ที่ผ่านมา ไม่เสมอภาค (asymmetric) เพราะจัดการไม่ดี • ค่าจ ้างลดต่าลงส่วนหนึ่งเพราะอานาจต่อรองของคนงานถูก ทาลาย เมื่อทุนเคลื่อนย ้ายได ้อย่างเสรี บริษัทก็บอกคนงานได ้ ง่ายๆ ว่า ถ ้าไม่ยอมรับค่าจ ้างต่า และสภาพการทางานที่แย่ลง บริษัทก็จะย ้ายไปที่อื่นหรือ outsource จากประเทศอื่น • ลองคิดดูว่าถ ้าโลกมีอิสระของแรงงาน แต่ไม่มีอิสระของทุน ประเทศต่างๆ ก็จะแข่งขันกันดึงดูดคนทางาน สัญญาว่าสร ้าง โรงเรียนและสภาพแวดล ้อมที่ดี เก็บภาษีจากคนทางานน้อยๆ โดยเอาเงินมาจากการเก็บภาษีทุนสูงๆ • แต่โลกของเรากลับตรงข ้าม
  • 28. ที่มาภาพ: Global Inequality, Branco Milanovic 28 การเติบโตของรายได ้จริง แบ่งตามช่วงชั้นรายได ้ ชนชั้นกลางใหม่ระดับโลก โดยเฉพาะในจีนกับอินเดีย คนราว 60 ล้านคนที่เป็น Top 1% ของโลก ชนชั้นกลางเก่าระดับโลก โดยเฉพาะในอเมริกากับยุโรป
  • 29. กลไกคุ้มครองคนทางาน: ดีต่อคนทางาน และดีต่อระบบเศรษฐกิจ • เศรษฐศาสตร์กระแสหลักมองว่า “ตลาดแรงงานที่ยืดหยุ่น” ดีต่อเศรษฐกิจ • สหภาพแรงงาน ถูกมองว่าเป็นบ่อเกิดหนึ่งของความไม่ยึดหยุ่น ไร ้ประสิทธิภาพ • Stiglitz มองมุมกลับว่า กลไกคุ้มครองคนทางานที่เข ้มแข็งช่วยแก ้ไข “ความไม่ สมดุลของอานาจทางเศรษฐกิจ” • กลไกการคุ้มครองที่ดี ส่งผลให ้มีแรงงานคุณภาพสูง คนทางานภักดีต่อองค์กร และอยากลงทุนในตัวเองและในงานมากขึ้น และทาให ้สังคมเหนียวแน่นกลม เกลียวกันมากขึ้น สถานที่ทางานก็ดีขึ้น • จากแบบแผนและระดับการเปลี่ยนแปลงของค่าตอบแทน ในแง่สัดส่วนของ รายได ้ประชาชาติ ยากที่จะอธิบายได ้ด ้วยปัจจัยทางเศรษฐกิจล ้วนๆ อย่างเดียว ยกตัวอย่างเช่น ในภาคการผลิต ระหว่างปี 1949-1980 ผลิตภาพและ ค่าตอบแทนรายชั่วโมงเคลื่อนตัวไปในทิศทางเดียวกัน แต่ทันทีในปี 1980 ก็เริ่ม แยกห่างจากกัน ค่าตอบแทนรายชั่วโมงหยุดนิ่งเกือบ 15 ปี จากนั้นค่อยๆ เพิ่ม ในอัตราเดียวกันกับผลิตภาพ ระหว่างปี 1995-200จ แต่หลังจากนั้นก็หยุดนิ่งอีก • ข ้อมูลนี้บอกว่า ในช่วงเวลาที่ค่าจ ้างเติบโตน้อยกว่าผลิตภาพ คือช่วงที่ผู้บริหาร ได ้ส่วนแบ่ง “ค่าเช่า” จากบริษัทมากขึ้น 29
  • 30. นโยบายภาษีตรึงและเพิ่มความเหลื่อมล้า • อัตราภาษีสูงสุดในอเมริกาลดลงเรื่อยๆ จาก 70% เหลือ 35% • หั่นภาษีเงินปันผลจาก 35% เป็น 15%, ภาษีผลได ้จากทุนจาก 20% เป็น 15% • คนที่รวยที่สุด 10% ครอบครองผลได ้ระยะยาวจากทุน (long- term capital gains) กว่า 90% • อัตราภาษีสูงสุดที่คนรวยสุดจ่าย ลดลงจาก 37% เป็น 29% วันนี้ ค่าเฉลี่ยคือ 22% • ภาษีเงินได ้นิติบุคคลจาก 30% เหลือ 9% ของรายได ้รัฐบาลกลาง • ขยายการยกเว ้นภาษีมรดก เป็น $10.5 ล ้าน สาหรับคู่ครอง • ทั้งหมดนี้ช่วยให ้การเติบโตของรายได ้60-75% ที่ผ่านมาอยู่ในมือ คนรวยสุด 10% • อย่าลืมว่าความเหลื่อมล้าส่งผลต่อโอกาสในชีวิต 30
  • 31. วอร์เรน บุฟเฟตต์ : “ผมเสียภาษีในอัตราน้อย กว่าเลขาของผม” “…Some of us are investment managers who earn billions from our daily labors but are allowed to classify our income as “carried interest,” thereby getting a bargain 15 percent tax rate. Others own stock index futures for 10 minutes and have 60 percent of their gain taxed at 15 percent, as if they’d been long-term investors. These and other blessings are showered upon us by legislators in Washington who feel compelled to protect us, much as if we were spotted owls or some other endangered species. It’s nice to have friends in high places. Last year my federal tax bill — the income tax I paid, as well as payroll taxes paid by me and on my behalf — was $6,938,744. That sounds like a lot of money. But what I paid was only 17.4 percent of my taxable income — and that’s actually a lower percentage than was paid by any of the other 20 people in our office. Their tax burdens ranged from 33 percent to 41 percent and averaged 36 percent. If you make money with money, as some of my super-rich friends do, your percentage may be a bit lower than mine. But if you earn money from a job, your percentage will surely exceed mine — most likely by a lot.” ที่มา: Warren Buffet, “Stop Coddling the Super Rich,” 2011, https://www.nytimes.com/2011/08/15/opinion/stop- coddling-the-super-rich.html?_r=2 31
  • 32. ทั้งหมดนี้สาคัญไฉน • การล็อบบี้ล ้วนนาไปสู่นโยบายที่เอื้อประโยชน์คนรวย ไม่ใช่เพื่อ ประโยชน์สาธารณะ • การหั่นภาษีคนรวย ไม่ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่มีส่วนเพิ่มหนี้ สาธารณะ • ทรัพยากรในสังคมถูกจัดสรรไปให ้คนที่รวยที่สุดเป็นหลัก • 20-40% ของกาไรภาคธุรกิจทั้งหมดเป็นของภาคการเงิน ไม่ใช่ ภาคเศรษฐกิจจริง • ธนาคารกลางเน้นคุมเงินเฟ้อ ไม่สนใจอัตราว่างงาน • กฎเกณฑ์กากับดูแลภาคการเงินแบบครึ่งใบ ธนาคารยักษ์ใหญ่ “too big to fail” 32
  • 33. • วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ มักจะมาหลังช่วงที่เกิดความเหลื่อมล้าสูงมากๆ • นี่อาจไม่ใช่เรื่องบังเอิญก็ได ้เมื่อเงินกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มเศรษฐี คนอเมริกัน ทั่วไปก็ขาดกาลังซื้อ หรืออย่างน้อยก็ไม่มีถ ้าไม่ได ้‘แรงพยุงเทียม’ ซึ่งใน วิกฤต 2008 มารูปของฟองสบู่ที่อยู่อาศัย หนุนโดยนโยบายธนาคารกลาง • ฟองสบู่ที่อยู่อาศัยช่วยกระพือมหกรรมบริโภค สร ้างภาพลวงตาว่าไม่มีปัญหา • การย ้ายเงินจากคนจนสุด ไปหาคนรวยสุด ลดการบริโภครวมในสังคมเพราะ คนที่มีรายได ้สูงกว่า จะบริโภคคิดเป็นสัดส่วนของรายได ้น้อยกว่าคนที่จนกว่า (คนที่รวยที่สุดออมเงิน 15-25% ของรายได ้คนที่จนที่สุดจาเป็นต ้องใช ้ รายได ้ทั้งหมดที่หามาได ้) • สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ ถ ้าหากไม่มีปัจจัยอื่น เช่น การลงทุนเพิ่ม หรือการส่งออก เพิ่ม อุปสงค์รวมในระบบเศรษฐกิจก็จะน้อยกว่าระดับอุปทานที่เศรษฐกิจผลิต ได ้แปลว่าจะเกิดการว่างงาน • ในทศวรรษ 1990 “ปัจจัยอื่น” คือ ฟองสบู่เทคโนโลยี รอบ 2008 คือฟองสบู่ ตลาดที่อยู่อาศัย • อย่างน้อยฟองสบู่เทคโนโลยียังทิ้งโครงสร ้างพื้นฐาน โครงข่ายไฟเบอร์ออบ ติกส์ ไว ้ให ้ใช ้ประโยชน์ ความเหลื่อมล้าสูงๆ ไม่ดีต่อเศรษฐกิจอย่างไร 33
  • 34. • โดยทั่วไป การมีสินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยต่าจะช่วยส่งเสริมการลงทุน • แต่แทนที่จะส่งเสริมการลงทุนที่ช่วยสร ้างการเติบโตระยะยาว การปล่อย สินเชื่ออย่างง่ายดายอาจนาไปสู่ภาวะฟองสบู่ ฟองสบู่อาจชักนาให ้ ครัวเรือนบริโภคในทางที่ไม่ยั่งยืน เพราะกู้เงินมาบริโภค • เมื่อฟองสบู่แตก ก็อาจเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย • ภาวะขาดแคลนอุปสงค์ที่เกิดจากการเติบโตของความเหลื่อมล้า อาจไม่ทา ให ้ผู้ดาเนินนโยบายตอบสนองในทางที่นาไปสู่ความไร ้เสถียรภาพและ สิ้นเปลืองทรัพยากร แต่ในอดีตมักเป็นเช่นนั้น • นโยบายของธนาคารกลางที่เน้นคุมเงินเฟ้อ เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อ ความเหลื่อมล้าและลดอานาจการต่อรองของแรงงาน ทันทีที่ค่าจ ้างเริ่ม ปรับตัว โดยเฉพาะถ ้าขึ้นเร็วกว่าอัตราเงินเฟ้อ ธนาคารกลางที่เน้นคุมเงิน เฟ้อก็จะขึ้นดอกเบี้ย ส่งผลให ้อัตราว่างงานสูงกว่าปกติและกดดันทางลบ ต่อค่าจ ้าง เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย ค่าจ ้างที่แท ้จริงก็มักจะลดลง นโยบายธนาคารกลางซ้าเติมความเหลื่อมล้า 34
  • 35. 35
  • 36. • สหรัฐอเมริกาเคยออกกฎเกณฑ์กากับภาคการเงินที่เข ้มข ้น อย่าง Glass-Steagall Act ในปี 1933 ภายหลังเกิดภาวะ เศรษฐกิจถดถอยรุนแรง • กฎหมายฉบับนี้แยก investment bank (จัดการเงินของคนรวย) ออกจาก commercial bank (จัดการเงินของคนทั่วไป) • ต่อมาหลายทศวรรษ อเมริกาไม่ประสบวิกฤตการเงินเลย • ปี 1999 กฎหมายนี้และกฎเกณฑ์อื่นๆ ถูกยกเลิก • “นวัตกรรม” ในภาคการเงินถูกใช ้เพื่อเพิ่มระดับการกู้เงินมาเก็ง กาไร หลบเลี่ยงกฎกติกาที่ยังเหลืออยู่ ปล่อยสินเชื่อดอกโหด และหลอกลวงลูกหนี้ ผลจากการผ่อนปรนกฎเกณฑ์ (deregulation) 36
  • 37. • ความเหลื่อมล้ามีส่วนทาให ้เศรษฐกิจขาดเสถียรภาพ และภาวะ ขาดเสถียรภาพก็ทาให ้ความเสี่ยงมีมากขึ้น บริษัทต่างๆ ซึ่ง เกลียดความเสี่ยงจะเรียกร ้องผลตอบแทนสูงขึ้นจากการรับความ เสี่ยง ไม่อย่างนั้นก็จะลงทุนน้อยลง • ตลกร ้ายคือ ความไร ้เสถียรภาพส่งผลให ้เกิดความเหลื่อมล้ามาก ขึ้นด ้วย คนจนและชนชั้นกลางเดือดร ้อนจากภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยมากกว่าคนรวย เพราะเผชิญกับการว่างงาน ค่าจ ้างลดลง ราคาบ ้านลดลง และสูญเสียความมั่งคั่ง • คนรวยรับมือกับความเสี่ยงได ้มากกว่า จึงได ้ผลตอบแทนสูงกว่า จากการแบกรับความเสี่ยง ความเหลื่อมล้า → ไร ้เสถียรภาพ → เพิ่มความ เสี่ยง → การเติบโตถดถอย 37
  • 38. • ความเหลื่อมล้าไม่ได ้ส่งผลต่อเศรษฐกิจผ่านความไร ้เสถียรภาพที่เกิดจากมัน อย่างเดียว แต่มีอีกหลายช่องทางที่ทาให ้เศรษฐกิจด ้อยประสิทธิภาพ และ ด ้อยผลิตภาพกว่าเดิม • ประการแรก การลดลงของการลงทุนสาธารณะ อาทิ ด ้านสุขภาพ และ การศึกษา คนรวยไม่ต ้องอาศัยบริการของรัฐ ซื้อสินค ้าเหล่านี้ได ้เอง เหินห่าง จากคนธรรมดาและไม่สนใจการบริการสาธารณะ • ประการที่สอง การบิดเบือนมโหฬารในระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะกิจกรรมที่ เกี่ยวกับการแสวงค่าเช่าทางเศรษฐกิจ ในกฎหมายและระบบการกากับดูแล • ประการที่สาม ผลกระทบต่อขวัญกาลังใจของคนทางาน และปัญหา “พยายามมีหน้ามีตาเหมือนเพื่อนบ ้าน” (keeping up with the Joneses) ความเหลื่อมล้า → เศรษฐกิจด ้อยประสิทธิภาพ และด ้อยผลิตภาพกว่าเดิม 38
  • 39. • เมื่ออุตสาหกรรมน้ามันล็อบบี้ให ้ขุดเจาะนอกชายฝั่งได ้ และผลักดันการแก ้กฎหมายลด ขีดความรับผิดชอบต่อน้ามันรั่ว ก็เท่ากับขอการอุดหนุนสาธารณะ • การอุดหนุนสาธารณะเหล่านี้ไม่ใช่แค่ให ้ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ แต่ยังบิดเบือนการจัดสรร ทรัพยากร เช่น กรณีน้ามันรั่วของ BP ในอ่าวเม็กซิโก ลดสวัสดิการรวมของสังคม • บริษัทน้ามันและถ่านหินที่ใช ้เงินส่งอิทธิพลต่อกฎเกณฑ์กากับดูแลด ้านสิ่งแวดล ้อม ทา ให ้เราอยู่ในโลกที่มีมลพิษทางน้าและอากาศมากขึ้น สถาพแวดล ้อมแย่ลง คนมีสุขภาพ แย่ลง • ต ้นทุนเหล่านี้ปรากฏในรูปของมาตรฐานการครองชีพของคนทั่วไปที่ลดลง ผลกาไรที่ สูงขึ้นของบริษัทน้ามันและถ่านหิน • ผลตอบแทนทางสังคม (ซึ่งอาจติดลบ ผลจากการลดมาตรฐานการครองชีพหรือการ ทาลายสิ่งแวดล ้อม) กับผลตอบแทนของเอกชน ไปคนละทางกัน • แทนที่จะมีระบบที่บัญญัติความรับผิดชอบต่อสังคมระดับสูง และกฎกติกาคุ้มครอง สิ่งแวดล ้อม คนทางาน และผู้บริโภคที่ดี อเมริกากลับมีระบบ ex post accountability (รับผิดหลังจากที่เกิดปัญหาแล ้ว) ที่มีราคาแพงมาก ส่วนใหญ่ระบบนี้อาศัยการลงโทษ ผู้กระทาผิด (เช่น ทาลายสิ่งแวดล ้อม) มากกว่าจากัดการกระทาก่อนเกิดความเสียหาย ต ้นทุนภายนอก (externalities) กับการ บิดเบือนการจัดสรรทรัพยากร 39
  • 40. • ความเครียดและความกังวลส่งผลต่อการแสวงทักษะและความรู้ใหม่ๆ ซึ่งจะส่งผลให ้ การเพิ่มขึ้นของผลิตภาพช ้าลง ส่งผลเสียต่อการทางานของเศรษฐกิจโดยรวม • สานึกเรื่องความเป็นธรรมก็สาคัญเช่นกัน คนเริ่มรู้สึกว่าความเหลื่อมล้าของค่าจ ้างนั้น “ไม่เป็นธรรม” • เวลาที่ผู้บริหารอ ้างว่าต ้องลดค่าจ ้างหรือปลดคนออก เพื่อทาให ้บริษัทแข่งขันได ้ แต่ ขณะเดียวกันก็ขึ้นเงินเดือนตัวเอง คนทางานจะตั้งคาถาม • ความไม่เป็นธรรมส่งผลให ้คนไม่อยากใช ้ความพยายาม ไม่ยินดีที่จะร่วมมือกับคนอื่น และไม่อยากลงทุนเพื่ออนาคตของบริษัท • Krueger & Mas ศึกษาโรงงานที่ผลิตยางรถยนต์ให ้กับบริษัท Bridgestone/Firestone หลังจากที่ผู้บริหารเปลี่ยนกะทางาน จากแปดชั่วโมงเป็นสิบ สองชั่วโมง ลดอัตราค่าจ ้างคนงานใหม่ลง 30% ส่งผลให ้เกิดการผลิตยางรถยนต์มี ตาหนิมากขึ้น เกี่ยวโยงกับการตายและบาดเจ็บกว่า 1,000 กรณี ก่อนที่ Firestone จะเรียกคืนในปี 2000 ความเหลื่อมล้าบั่นทอนกาลังใจของคนทางาน 40
  • 41. • ในรัสเซียภายใต ้ระบอบคอมมิวนิสต์ ความรู้สึกของคนงานคือ “พวกเขาแสร ้ง ทาเป็นจ่ายเรา และเราก็แสร ้งทาเป็นทางาน” • การทดลองใหม่ๆ ยืนยันความสาคัญของความเป็นธรรม การทดลองทาง เศรษฐศาสตร์ครั้งหนึ่งชี้ว่า การขึ้นค่าจ ้างให ้กับคนงานที่รู้สึกว่าได ้รับการ ปฏิบัติไม่เป็นธรรม ส่งผลต่อผลิตภาพอย่างมีนัยสาคัญ และไม่มีผลกระทบ ใดๆ ต่อคนงานที่รู้สึกว่าได ้รับความเป็นธรรมอยู่แล ้ว • เกมยื่นคาขาด (ultimatum game): ผู้เล่นคนแรกตัดสินว่าจะแบ่งเงิน 100 เหรียญ ให ้คนที่สองเท่าไร คนที่สองมีสิทธิปฏิเสธ ถ ้าปฏิเสธทั้งคู่จะไม่ได ้ อะไรเลย ทฤษฎี “สัตว์เศรษฐกิจ” บอกว่ากลยุทธ์คือเสนอ 99:1 เพราะ 1 ดีกว่าศูนย์ แต่ในความจริง คนเสนอราว 70:30 หรือ 60:40 และผู้เล่นคนที่ สองโดยเฉลี่ยจะปฏิเสธถ ้าได ้ส่วนแบ่งไม่ถึง 20 เหรียญ • พูดอีกอย่างคือ ไม่ได ้เงินเลย ดีกว่าได ้ส่วนแบ่งที่มองว่าไม่เป็นธรรมมาก เกินไป เราอยากได ้ความเป็นธรรม 41
  • 42. • เศรษฐกิจมีการแข่งขันสมบูรณ์ ผลตอบแทนส่วนตัวเท่ากับผลตอบแทน สังคม → ข ้อเท็จจริงคือ เศรษฐกิจเต็มไปด ้วยการแสวงค่าเช่า และการ บิดเบือนอื่นๆ มากมาย รัฐบาลก็ไม่ยอมแก ้ภาวะล ้มเหลวของตลาด • ช่องว่างมโหฬารระหว่างผลตอบแทนส่วนตัวกับผลตอบแทนสังคม เป็น ลักษณะสาคัญของเศรษฐกิจแสวงค่าเช่าทางเศรษฐกิจ แปลว่าแรงจูงใจที่ ปัจเจกเผชิญมักจะทาให ้ลงมือทาผิดทาง และคนที่ได ้ผลตอบแทนสูงๆ ไม่ จาเป็นต ้องเป็นคนที่สร ้างผลตอบแทนสังคมสูงๆ • ในกรณีที่ผลตอบแทนส่วนตัวของคนที่รวยที่สุดสูงกว่าผลตอบแทนสังคมที่ พวกเขาสร ้างมาก การกระจายรายได ้ก็สามารถลดความเหลื่อมล้าและเพิ่ม ประสิทธิภาพได ้ • ถ ้าหากไม่มีกลไกคุ้มครองทางสังคม สวัสดิการของปัจเจกจะลดลง และ ความยินดีที่จะรับความเสี่ยงสูงๆ ก็ลดลง การปรับปรุงกลไกคุ้มครองทาง สังคมจะช่วยสร ้างเศรษฐกิจที่มีพลวัตมากขึ้น สรุปความเข ้าใจผิด 42
  • 43. 1. การเมืองถูกครอบงาโดยภาคเอกชนและคนรวย 2. คนที่จนที่สุดมีอิทธิพลน้อยมาก 3. ความเท่าเทียมน้อยลง ความไว ้วางใจน้อยลง ส่งผลให ้คน อยากประนีประนอมกันน้อยลง ความขัดแย ้งสูงขึ้น 4. ประชาธิปไตยอเมริกันต ้องเหลื่อมล้าน้อยลง ให ้คนออกมาใช ้ สิทธิเลือกตั้งง่ายขึ้น จากัดการสนับสนุนพรรคการเมืองของ ธุรกิจ มองบริษัทว่าเป็นบริษัท ไม่ใช่ให ้สิทธิเท่าเทียมกับคน 5. ในกรณีที่ผลตอบแทนส่วนตัวของคนที่รวยที่สุดสูงกว่า ผลตอบแทนสังคมที่พวกเขาสร ้างมาก การกระจายรายได ้ก็ สามารถลดความเหลื่อมล้าและเพิ่มประสิทธิภาพได ้ ประชาธิปไตยตกอยู่ในอันตราย 43
  • 44. • คาตัดสินศาลฎีกาอเมริกัน ปี 2010 ในคดี Citizens United v. Federal Election Commission ยอมให ้บริษัทและสหภาพต่างๆ “ใช ้เสรีภาพการ แสดงออก” ในการสนับสนุนผู้สมัครลงเลือกตั้งที่ตนชอบ โดยสามารถบริจาค เงินอุดหนุนแคมเปญหาเสียงได ้อย่างไร ้ขีดจากัด • ในเมื่อบริษัทจานวนมากมีเงินมากกว่าชาวอเมริกันเป็นล ้านๆ เท่า คาตัดสินนี้ ส่งผลให ้เกิดมหาเศรษฐีนักทาแคมเปญเลือกตั้ง มีเป้าหมายเดียวเท่านั้นคือ เพิ่มผลกาไรของตัวเอง • คาตัดสินของศาลสะท ้อนความสาเร็จของกลุ่มผลประโยชน์ในการสร ้างระบบ “one dollar one vote” – สามารถเลือกตั้งนักการเมือง ที่ไปแต่งตั้งผู้ พิพากษา ที่ไปรับรองสิทธิของบริษัทในการใช ้จ่ายเงินไม่อั้นในสนาม การเมือง คดีประวัติศาสตร์ Citizens United 44
  • 45. • “การแข่งขันทางภาษี” ซึ่งประเทศต่างๆ แข่งกันดึงดูดการลงทุน ด ้วยการลด ภาษีให ้ต่าเตี้ยที่สุด ลดขอบเขตที่จะใช ้ระบบภาษีก ้าวหน้า บริษัทต่างๆ ขู่ว่า จะย ้ายฐานการผลิตถ ้าภาษีสูงเกินไป เศรษฐีก็ขู่ย ้ายเหมือนกัน • สหรัฐอเมริกาอย่างน้อยดีกว่าประเทศอื่นตรงที่คนต ้องจ่ายภาษีจากรายได ้ที่ ได ้จากทั่วโลก ไม่เฉพาะรายได ้ที่หาได ้ในประเทศ • คนสัญชาติกรีกที่ได ้ประโยชน์จากระบบการศึกษาของรัฐ ได ้ประโยชน์จาก ระบบสุขภาพของรัฐไปแล ้ว สามารถย ้ายไปอยู่ลักเซมเบิร์ก ทาธุรกิจในยุโรป อย่างเป็นอิสระ และไม่ต ้องเสียภาษีใดๆ ให ้กับรัฐบาลกรีก • หลายคนบอกว่า โลกาภิวัตน์ทาให ้เราไม่มีทางเลือก แต่ในความเป็นจริง เรา มีทางเลือก วิธีจัดการโลกาภิวัตน์ที่ผ่านมาจากัดทางเลือกของระบอบ ประชาธิปไตย ทาให ้ยากมากที่รัฐบาลจะดาเนินนโยบายภาษีและการใช ้จ่าย สาธารณะเพื่อสร ้างสังคมที่เท่าเทียมกว่าเดิม สร ้างโอกาสมากกว่าเดิม • รัฐเปลี่ยนวิธีจัดการได ้เช่น เก็บภาษีจากบริษัทที่มีรายได ้จากอเมริกา ไม่ จาเป็นต ้องมีฐานการผลิตในอเมริกา • เปลี่ยนวาระการลงทุนและนวัตกรรมให ้รักษางานและสิ่งแวดล ้อม “การแข่งขันทางภาษี” 45
  • 46. 1. ความเหลื่อมล้าเป็นเรื่องธรรมดา ไม่ส่งผลสาคัญอะไร 2. ตลาดดูแลตัวเองได ้ มีประสิทธิภาพสูงสุดถ ้ารัฐไม่คุม 3. ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น 4. คนรวยโดยรวมช่วยสังคมมากกว่าส่งผลเสีย ด ้วยการ ลงทุน บริจาคเงินเพื่อการกุศล ฯลฯ 5. การรัดเข็มขัดของรัฐ จาเป็นเพื่อลดหนี้สาธารณะ สร ้างสภาพแวดล ้อมทางธุรกิจที่ดี แล ้วคนทุกคนจะได ้ ประโยชน์ ความเข ้าใจผิด (อีกที) 46
  • 47. บางตัวอย่าง • มลพิษที่ไม่ถูกกากับดูแลก่อปัญหาสุขภาพ • สินเชื่อที่อยู่อาศัยปล่อยแบบชุ่ยๆ โดยไม่ใช ้ข ้อมูลที่ถูกต ้อง • การแก ้กฎหมายล ้มละลายเอื้อประโยชน์แก่เจ ้าหนี้มากกว่า ลูกหนี้ – คนที่มีหนี้ 100% ของรายได ้อาจต ้องเอารายได ้ก่อน หักภาษี 25% ไปจ่ายธนาคารตลอดชีวิต เพราะธนาคารเพิ่ม ดอกเบี้ย 30% ทุกปี • รัฐอุดหนุนสินเชื่อเพื่อการศึกษา โดยไม่โยงกับความพึงพอใจ ของนักเรียน หรือสถิติว่าจบเท่าไร สามารถหางานที่ สถานศึกษาสัญญาว่าจะได ้จริงหรือไม่ • ธนาคารเสียหาย ผู้บริหารธนาคารลอยตัว ได ้โบนัสสูงๆ ต่อไป • หลบเลี่ยงภาษีในหลากหลายรูปแบบ หลักนิติรัฐถูกบั่นทอน ซ้าเติมความเหลื่อมล้า 47
  • 48. • กากับภาคการเงิน เช่น จากัดการใช ้หนี้ (leverage) ของ สถาบันการเงิน กากับการปล่อยหนี้โหด กากับการจ่ายเงิน โบนัสผู้บริหาร ปิด offshore banking centers • ปรับปรุงกฎหมายและการบังคับใช ้กฎหมายแข่งขันทางการค ้า • ปรับปรุงธรรมาภิบาล เช่น ให ้สิทธิผู้ถือหุ้นตัดสินค่าตอบแทน ผู้บริหาร (say on pay) • ปฏิรูปกฎหมายล ้มละลายให ้เป็นมิตรกับลูกหนี้มากขึ้น • รัฐหยุดเอื้อประโยชน์แก่ธุรกิจ หยุดให ้สวัสดิการแก่ธุรกิจ รวมถึงการอุดหนุนที่ซ่อนเร ้น (ในกฎหมายภาษี ฯลฯ) • ปฏิรูประบบภาษีให ้ก ้าวหน้ามากขึ้น ปิดช่องโหว่ เก็บภาษีมรดก อย่างเข ้มข ้นมากขึ้น • ปรับปรุงกลไกคุ้มครองทางสังคม การศึกษา ประกันสุขภาพ ถ ้วนหน้า เพิ่มแรงจูงใจให ้คนทั่วไปออม เช่น ให ้รัฐจ่ายสมทบ วาระการปฏิรูปเศรษฐกิจที่จาเป็น 48
  • 49. ความเชื่อมโยงระหว่าง ความเหลื่อมล้าด้านต่าง ความเหลื่อมล้าด้าน รายได้และทรัพย์สิน ความไม่เท่าเทียมใน การแข่งขัน ความเหลื่อมล้าด้าน ทรัพยากร ความเหลื่อมล้าด้าน สิทธิและโอกาสการมี ส่วนร่วมทางการเมือง ความเหลื่อมล้าด้าน สิทธิและโอกาสในการ รับบริการสาธารณะ ความเหลื่อมล้าด้าน สิทธิและโอกาสในการ ได้รับความยุติธรรม ความเหลื่อมล้าเชิง พื้นที่ ความเหลื่อมล้าด้าน โครงสร้างภาษี ส่งผลกระทบสองทางเนื่องจาก คอร์รัปชั่น 49