SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
สถานการณ์ถ่านหินโลก ถ่านหินไทย
และมุมมองของนักลงทุน
บริษัท ป่าสาละ จากัด
Sal Forest Co. Ltd.
สฤณี อาชวานันทกุล
20 พฤษภาคม 2564
รายงาน Net Zero by 2050 : องค์การพลังงานระหว่างประเทศ
2
ถ้าจะให้ทั้งโลกปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
(สอดคล้องกับเป้าอุณหภูมิเพิ่มไม่เกิน 1.5 องศา
เซลเซียส) ภายในปี 2050 ต้อง –
• หยุดสร้างหรือขยายเหมืองถ่านหิน หยุดอนุมัติ
การสารวจแปลงน้ามันและก๊าซธรรมชาติใหม่ๆ
และไม่อนุมัติโรงไฟฟ้าถ่านหินที่ไม่มีเทคโนโลยีกัก
เก็บคาร์บอน (unabated) ตั้งแต่ปี 2021
• เครื่องยนต์สันดาปภายใน (รถยนต์) เลิกใช้อย่าง
สิ้นเชิงภายในปี 2035
• ปลดระวางโรงไฟฟ้าถ่านหินและน้ามันที่ไม่มี
เทคโนโลยีกักเก็บคาร์บอนทุกแห่งภายในปี 2040
• ความต้องการใช้ถ่านหินลด 50% ในปี 2050
รายงาน Net Zero by 2050 (ต่อ)
3
ที่มา: IEA
โรงไฟฟ้าพลังถ่านหินที่มีแผนจะก่อสร้างทั่วโลก
4
ที่มา: IEA
Top 10 นโยบายสาธารณะด้านความยั่งยืนในปี 2021
5
คาดการณ์โดยโครงการ Inevitable Policy Response ภายใต้ UNPRI (แนวร่วมนักลงทุนที่รับผิดชอบ
องค์การสหประชาชาติ)
1. คาดว่ากลไกการปรับคาร์บอนก่อนเข้าพรมแดน (Carbon Border Adjustments Mechanisms:
CBAMs) จะถูกนามาใช้จริงมากขึ้น ส่งผลให้สหรัฐอเมริกาอาจประกาศระบบราคาคาร์บอน
(carbon pricing) ภายในปี 2025 หรืออาจเร็วตั้งแต่ปี 2023
2. คาดว่าการทาตามคามั่นของสหภาพยุโรปที่เข้มข้นขึ้นจะผลักดันราคาคาร์บอน กว่าจะถึงปี 2030
คาดว่านโยบายสหภาพยุโรปจะดันราคาคาร์บอน EU ETS ขั้นต่า (backstop) ที่ $75/ตันคาร์บอน
3. คาดว่ารัฐบาลอินเดียจะประกาศว่าจะไม่มีการลงทุนสร้างเหมืองและโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ๆ อีก
ต่อไป
4. คาดว่าจีนจะหยุดการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ๆ อย่างสิ้นเชิงหลังปี 2025 เพื่อให้สอดคล้องกับ
เป้าหมายที่จะปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี 2060 และนโยบายเปิดเสรีอย่างต่อเนื่อง
5. คาดว่าสหรัฐอเมริกาจะยกเลิกการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินทั้งประเทศภายในปี 2030 ผ่านการบังคับ
ใช้มาตรฐานการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผสมกับการตั้งราคาคาร์บอน ในระดับรัฐบาลกลางและ
รัฐบาลมลรัฐ ผสมผสานกับแรงผลักดันของตลาด
Top 10 นโยบายสาธารณะด้านความยั่งยืนในปี 2021 (ต่อ)
6
6. คาดว่าสหรัฐอเมริกาจะบังคับใช้มาตรฐานพลังงานสะอาด (clean power standard) 100% ที่
น่าเชื่อถือและมีผลทางกฎหมายภายในปี 2040
7. คาดว่าจีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และเกาหลีใต้ จะยกเลิกการขายรถยนต์และรถตู้ที่ใช้น้ามัน
ภายในปี 2035 ตลาดขนาดใหญ่ของประเทศเหล่านี้รวมกันจะผลักดันให้อุตสาหกรรมรถยนต์
เปลี่ยนผ่านไปสู่รถยนต์ไฟฟ้า และผลักดันนโยบายของรัฐบาลอื่นทั่วโลก
8. คาดว่าประเทศอุตสาหกรรมชั้นนาทุกประเทศ รวมทั้ง สหรัฐอเมริกา เยอรมนี ญี่ปุ่น และจีน จะ
บังคับให้โรงงานอุตสาหกรรมทุกชนิด เริ่มจากปูนซีเมนต์และเหล็กกล้า เป็นโรงงานคาร์บอนต่า
ภายในปี 2040 ผ่านการใช้มาตรฐานการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผสมกับการตั้งราคาคาร์บอน
9. คาดว่า สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย และประเทศผู้ผลิตสินค้าเกษตรรายใหญ่ทุก
ประเทศจะมีนโยบายบรรเทาผลกระทบ (mitigation policy) ที่เป็นระบบภายในปี 2025 เพื่อ
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตพืชอาหารและปศุสัตว์
10. คาดว่าประเทศที่มีป่าเขตร้อนขนาดใหญ่ทุกประเทศจะหยุดการตัดไม้ทาลายป่าภายในปี 2030
โดยนโยบายภายในประเทศจะเป็นปฏิกิริยาต่อแรงกดดันจากวงการการเงินที่เน้นการอนุรักษ์
สภาพภูมิอากาศ (climate finance) และแรงกดดันจากห่วงโซ่อุปทานของบริษัท
7
ที่มา: Paola Yanguas Parra, Christian Hauenstein, Pao-Yu Oei, “The death valley of coal – Modelling COVID-19
recovery scenarios for steam coal markets” Applied Energy, March 2021
“ฟองสบู่คาร์บอน” & ความเสี่ยงจาก stranded assets
• น้ามัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติสารองของบริษัทต่างๆ ส่วนใหญ่ขุดขึ้นมาใช้ไม่ได้ ถ้า
จะให้โลกไม่ร้อนขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียส
8
• ถ้าขุดขึ้นมาสร้างรายได้ไม่ได้ “สินทรัพย์” เชื้อเพลิงฟอสซิลจะกลายเป็น “สินทรัพย์สูญ
เปล่า” หรือ stranded assets แปลว่าราคาหุ้นปัจจุบันอาจ “แพงเกินจริง”
• นักลงทุนสถาบันจานวนมากเริ่มย้ายเงินออกจากหุ้นของบริษัทที่มีสินทรัพย์เหล่านี้สูง
9
“ฟองสบู่คาร์บอน” & ความเสี่ยงจาก stranded assets (ต่อ)
10
ที่มา: https://gofossilfree.org/divestment/commitments/
นักลงทุนสถาบัน 1,300+ ราย ควบคุมเงินลงทุน 14 ล้านล้าน
เหรียญสหรัฐ ประกาศถอนการลงทุนในบริษัทเชื้อเพลิงฟอสซิล
11
ที่มา: ประชาชาติธุรกิจ, https://www.prachachat.net/economy/news-573943
แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าฉบับชั่วคราว (PDP 2018 Rev. 1)
• ในแผน PDP 2018 Rev. 1 ยังระบุโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหิน/ลิกไนต์ 1,200 เมกะ
วัตต์, รับซื้อไฟฟ้าจาก สปป. ลาว โครงการหงสาลิกไนต์ 1,473 เมกะวัตต์, โรงไฟฟ้าแม่
เมาะทดแทนเครื่องที่ 8-9 ขนาด 600 เมกะวัตต์ ใช้ลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิงหลัก
12
การสารวจพื้นที่สาหรับโรงไฟฟ้าถ่านหินและเหมืองถ่านหิน
ที่มา: เว็บไซต์ Greenpeace

More Related Content

More from Sarinee Achavanuntakul

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open ForumSarinee Achavanuntakul
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Sarinee Achavanuntakul
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismSarinee Achavanuntakul
 
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandCrowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 
Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
 
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?
 
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandCrowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
 
Business Models of Social Business
Business Models of Social BusinessBusiness Models of Social Business
Business Models of Social Business
 

2021 Coal Situation & Investor View

  • 2. รายงาน Net Zero by 2050 : องค์การพลังงานระหว่างประเทศ 2 ถ้าจะให้ทั้งโลกปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (สอดคล้องกับเป้าอุณหภูมิเพิ่มไม่เกิน 1.5 องศา เซลเซียส) ภายในปี 2050 ต้อง – • หยุดสร้างหรือขยายเหมืองถ่านหิน หยุดอนุมัติ การสารวจแปลงน้ามันและก๊าซธรรมชาติใหม่ๆ และไม่อนุมัติโรงไฟฟ้าถ่านหินที่ไม่มีเทคโนโลยีกัก เก็บคาร์บอน (unabated) ตั้งแต่ปี 2021 • เครื่องยนต์สันดาปภายใน (รถยนต์) เลิกใช้อย่าง สิ้นเชิงภายในปี 2035 • ปลดระวางโรงไฟฟ้าถ่านหินและน้ามันที่ไม่มี เทคโนโลยีกักเก็บคาร์บอนทุกแห่งภายในปี 2040 • ความต้องการใช้ถ่านหินลด 50% ในปี 2050
  • 3. รายงาน Net Zero by 2050 (ต่อ) 3 ที่มา: IEA
  • 5. Top 10 นโยบายสาธารณะด้านความยั่งยืนในปี 2021 5 คาดการณ์โดยโครงการ Inevitable Policy Response ภายใต้ UNPRI (แนวร่วมนักลงทุนที่รับผิดชอบ องค์การสหประชาชาติ) 1. คาดว่ากลไกการปรับคาร์บอนก่อนเข้าพรมแดน (Carbon Border Adjustments Mechanisms: CBAMs) จะถูกนามาใช้จริงมากขึ้น ส่งผลให้สหรัฐอเมริกาอาจประกาศระบบราคาคาร์บอน (carbon pricing) ภายในปี 2025 หรืออาจเร็วตั้งแต่ปี 2023 2. คาดว่าการทาตามคามั่นของสหภาพยุโรปที่เข้มข้นขึ้นจะผลักดันราคาคาร์บอน กว่าจะถึงปี 2030 คาดว่านโยบายสหภาพยุโรปจะดันราคาคาร์บอน EU ETS ขั้นต่า (backstop) ที่ $75/ตันคาร์บอน 3. คาดว่ารัฐบาลอินเดียจะประกาศว่าจะไม่มีการลงทุนสร้างเหมืองและโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ๆ อีก ต่อไป 4. คาดว่าจีนจะหยุดการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ๆ อย่างสิ้นเชิงหลังปี 2025 เพื่อให้สอดคล้องกับ เป้าหมายที่จะปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี 2060 และนโยบายเปิดเสรีอย่างต่อเนื่อง 5. คาดว่าสหรัฐอเมริกาจะยกเลิกการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินทั้งประเทศภายในปี 2030 ผ่านการบังคับ ใช้มาตรฐานการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผสมกับการตั้งราคาคาร์บอน ในระดับรัฐบาลกลางและ รัฐบาลมลรัฐ ผสมผสานกับแรงผลักดันของตลาด
  • 6. Top 10 นโยบายสาธารณะด้านความยั่งยืนในปี 2021 (ต่อ) 6 6. คาดว่าสหรัฐอเมริกาจะบังคับใช้มาตรฐานพลังงานสะอาด (clean power standard) 100% ที่ น่าเชื่อถือและมีผลทางกฎหมายภายในปี 2040 7. คาดว่าจีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และเกาหลีใต้ จะยกเลิกการขายรถยนต์และรถตู้ที่ใช้น้ามัน ภายในปี 2035 ตลาดขนาดใหญ่ของประเทศเหล่านี้รวมกันจะผลักดันให้อุตสาหกรรมรถยนต์ เปลี่ยนผ่านไปสู่รถยนต์ไฟฟ้า และผลักดันนโยบายของรัฐบาลอื่นทั่วโลก 8. คาดว่าประเทศอุตสาหกรรมชั้นนาทุกประเทศ รวมทั้ง สหรัฐอเมริกา เยอรมนี ญี่ปุ่น และจีน จะ บังคับให้โรงงานอุตสาหกรรมทุกชนิด เริ่มจากปูนซีเมนต์และเหล็กกล้า เป็นโรงงานคาร์บอนต่า ภายในปี 2040 ผ่านการใช้มาตรฐานการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผสมกับการตั้งราคาคาร์บอน 9. คาดว่า สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย และประเทศผู้ผลิตสินค้าเกษตรรายใหญ่ทุก ประเทศจะมีนโยบายบรรเทาผลกระทบ (mitigation policy) ที่เป็นระบบภายในปี 2025 เพื่อ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตพืชอาหารและปศุสัตว์ 10. คาดว่าประเทศที่มีป่าเขตร้อนขนาดใหญ่ทุกประเทศจะหยุดการตัดไม้ทาลายป่าภายในปี 2030 โดยนโยบายภายในประเทศจะเป็นปฏิกิริยาต่อแรงกดดันจากวงการการเงินที่เน้นการอนุรักษ์ สภาพภูมิอากาศ (climate finance) และแรงกดดันจากห่วงโซ่อุปทานของบริษัท
  • 7. 7 ที่มา: Paola Yanguas Parra, Christian Hauenstein, Pao-Yu Oei, “The death valley of coal – Modelling COVID-19 recovery scenarios for steam coal markets” Applied Energy, March 2021
  • 8. “ฟองสบู่คาร์บอน” & ความเสี่ยงจาก stranded assets • น้ามัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติสารองของบริษัทต่างๆ ส่วนใหญ่ขุดขึ้นมาใช้ไม่ได้ ถ้า จะให้โลกไม่ร้อนขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียส 8
  • 9. • ถ้าขุดขึ้นมาสร้างรายได้ไม่ได้ “สินทรัพย์” เชื้อเพลิงฟอสซิลจะกลายเป็น “สินทรัพย์สูญ เปล่า” หรือ stranded assets แปลว่าราคาหุ้นปัจจุบันอาจ “แพงเกินจริง” • นักลงทุนสถาบันจานวนมากเริ่มย้ายเงินออกจากหุ้นของบริษัทที่มีสินทรัพย์เหล่านี้สูง 9 “ฟองสบู่คาร์บอน” & ความเสี่ยงจาก stranded assets (ต่อ)
  • 10. 10 ที่มา: https://gofossilfree.org/divestment/commitments/ นักลงทุนสถาบัน 1,300+ ราย ควบคุมเงินลงทุน 14 ล้านล้าน เหรียญสหรัฐ ประกาศถอนการลงทุนในบริษัทเชื้อเพลิงฟอสซิล
  • 11. 11 ที่มา: ประชาชาติธุรกิจ, https://www.prachachat.net/economy/news-573943 แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าฉบับชั่วคราว (PDP 2018 Rev. 1) • ในแผน PDP 2018 Rev. 1 ยังระบุโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหิน/ลิกไนต์ 1,200 เมกะ วัตต์, รับซื้อไฟฟ้าจาก สปป. ลาว โครงการหงสาลิกไนต์ 1,473 เมกะวัตต์, โรงไฟฟ้าแม่ เมาะทดแทนเครื่องที่ 8-9 ขนาด 600 เมกะวัตต์ ใช้ลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิงหลัก