SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
คาร์บอนเครดิตป่าไม้
อย่างไรจึง ‘ยุติธรรม’ และ ‘ไม่ฟอกเขียว’
สฤณี อาชวานันทกุล
พฤศจิกายน 2566
2
ความสาคัญของคาร์บอนเครดิตป่าไม้
• อุตสาหกรรมบางประเภทปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ ‘ลดยาก’ (hard-to-abate) เพราะ
การลดมีต้นทุนสูงมาก หรือปัจจุบันยังไม่มีเทคโนโลยี (abatement technologies) ที่
ช่วยลดได้อย่างมีประสิทธิภาพ – อุตสาหกรรม ‘ลดยาก’ หลัก ๆ ได้แก่ อุตสาหกรรม
หนัก (เช่น ซีเมนต์ เหล็กกล้า และเคมีภัณฑ์) และอุตสาหกรรมขนส่งขนาดใหญ่ (เช่น
การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางเรือ และการขนส่งโดยรถบรรทุกยักษ์)
• ในขณะเดียวกัน ข้อเท็จจริงก็คือ ไม่มีทางที่เราจะบรรลุเป้า 1.5 องศาได้ถ้าเราไม่เร่ง
ปกป้องและฟื้นฟูป่าไม้ ในยุคที่การตัดไม้ทำลายป่าทวีความรุนแรง และผู้ดูแลป่าทั้ง
ภาครัฐ เอกชน และชุมชน ยังขาดแคลนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการอนุรักษ์
• ด้วยเหตุนี้ ‘คาร์บอนเครดิตป่าไม้’ จึงน่าจะยังสำคัญในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่สังคมคาร์บอน
ต่ำ – สามารถสร้างแรงจูงใจให้บริษัทหาทางลดก๊าซเรือนกระจก (ถ้าราคาสูงพอ)
แสดงเจตจำนงต่อสาธารณะ และเพิ่มทรัพยากรให้ผู้ดูแลป่าใช้ดูแลป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า
• แต่ ‘ปีศาจอยู่ในรายละเอียด’ ! (devil is in the details)
3
ที่มา: John Costenbader, Legal frameworks for REDD: Designing and implementing national strategies https://www.un-
redd.org/sites/default/files/2021-10/IUCN%20Chapter%203%20-%20Benefit-sharing%20-%20final%20-%2028-10.pdf
ตลาด 3 ประเภท
4
ที่มา: Taking Root, The importance of equity for successful benefit sharing in reforestation https://takingroot.org/the-
importance-of-equity-for-successful-benefit-sharing-in-reforestation/
“ผู้เล่น” ในตลาดคาร์บอนแบบสมัครใจ
5
คาร์บอนเครดิตป่าไม้ ‘ไม่ใช่’ อะไรบ้าง
• ‘ใบอนุญาตปล่อยก๊าซเรือนกระจก’ ต่อไปโดยไม่หาทางลด (หลายประเทศ
กำหนดเพดานของคาร์บอนเครดิตที่ธุรกิจซื้อได้)
• ‘แก้วสารพัดนึก’ ลำพังโครงการทุกชนิดที่เอามาขายเครดิตไม่อาจแก้ปัญหา
โลกร้อนได้ – เป็นเพียง ‘มาตรการชั่วคราว’ ที่พยายามกดเส้นก๊าซเรือน
กระจกสะสมในชั้นบรรยากาศ ระหว่างที่โลกเปลี่ยนผ่านจากคาร์บอนสูง
• ‘ใบอนุญาตให้ยึดสิทธิของชุมชนหรือแย่งที่ดินของชุมชน’ โครงการคาร์บอน
เครดิตคุณภาพสูงต้องทำตามหลักการ FPIC (ได้รับความยินยอมโดยเสรี
ล่วงหน้าและมีข้อมูลเพียงพอ) ของชุมชนท้องถิ่น สนับสนุนสิทธิชุมชน
• ‘ใบอนุญาตให้เอาเปรียบชุมชน’ โครงการคาร์บอนเครดิตต้องมีแผนการ
แบ่งปันผลประโยชน์ที่ยุติธรรมกับชุมชน โดยเฉพาะชุมชนที่อนุรักษ์ป่า
6
หลักการบางข้อของคาร์บอนเครดิตป่าไม้ และปัญหาที่พบ
• Additionality (ส่วนเพิ่ม) – โครงการที่จะนำมาขายต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ถ้าไม่มีตลาด
คาร์บอน โครงการนี้จะไม่เกิดขึ้น (หรือต้องเพิ่มกิจกรรมเพื่อแสดงว่าจะลดคาร์บอน
ได้มากขึ้น) → หลายโครงการเอาของเดิมมาขาย หรือกฎหมายบังคับให้ทำอยู่แล้ว
• Permanence (ดูดซับถาวร) – ป่าต้องอยู่ไป 100 ปี คาร์บอนเครดิตจึงจะมี
ความหมาย เพราะคาร์บอนไดอ็อกไซด์อยู่นานขนาดนั้นในชั้นบรรยากาศ → หลาย
โครงการแค่ ‘ปลูกต้นไม้’ ปลูกแล้วตายไม่กลายเป็นป่า / ป่าอยู่ได้ไม่นาน
• Leakage (ปัญหาโผล่ที่อื่น) – อนุรักษ์ป่าตรงนี้ได้ แต่ไม่ใช่การลักลอบตัดไม้ทำลายป่า
ไปโผล่ที่อื่น → หลายโครงการอนุรักษ์ป่าได้ แต่ป่าไม้ที่อื่นถูกทำลายมากขึ้น
• Social and Environmental Safeguards (มีกลไกป้องกันทางสังคมและ
สิ่งแวดล้อม) และ Fair Benefit Sharing (แบ่งปันผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม) →
ชุมชนที่ดูแลป่าไม่มีส่วนร่วมในการออกแบบโครงการ ไม่ได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์จาก
ตลาดคาร์บอนอย่างเป็นธรรม ถูกยึดสิทธิในการดูแลป่า หรือถูกขับไล่ออกจากป่า
7
แผนการแบ่งผลประโยชน์ (Benefit Sharing Plan) ที่ดี
• สร้างมูลค่าที่สามารถจูงใจชุมชนให้ดูแลป่าได้จริง – กำหนด ‘ราคาฐาน’
(baseline) ที่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการดูแลป่าของชุมชน และสร้าง
แรงจูงใจให้อนุรักษ์ป่าอย่างเข้มแข็งกว่าเดิม
• สร้างหลักประกันว่าจะแบ่งมูลค่าเพิ่มจากตลาดให้กับชุมชนท้องถิ่น – ถ้า
ตลาดให้มูลค่าคาร์บอนเครดิตจากโครงการมากกว่า ‘ราคาฐาน’ ก็ต้องแบ่ง
ส่วนเพิ่มให้กับชุมชนด้วย เช่น กำหนด % ส่วนแบ่งรายได้ที่เป็นธรรม
• โครงการคุณภาพสูงมาพร้อมต้นทุนสูง ชุมชนไม่ควรแบกรับต้นทุนเพิ่ม –
ค่าใช้จ่ายในการทำโครงการคุณภาพสูง ต้องสะท้อนในราคาที่สูงขึ้น
• ไม่มี ‘สูตรสาเร็จ’ ตายตัว – แผนการแบ่งปันผลประโยชน์ต้องดูแต่ละ
โครงการ และให้ชุมชนมีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น
8
ที่มา: Benefit Sharing Plan (BSP), สาธารณรัฐโมซัมบิก
https://www.forestcarbonpartnership.org/sites/fcp/files/final_benefit_sharing_plan_of_the_zambezia_emission_reduction_program.pdf
ตัวอย่าง: การแบ่งปันผลประโยชน์ สาธารณรัฐโมซัมบิก
9
ที่มา: Benefit Sharing Plan (BSP), สาธารณรัฐโมซัมบิก
https://www.forestcarbonpartnership.org/sites/fcp/files/final_benefit_sharing_plan_of_the_zambezia_emission_reduction_program.pdf
ตัวอย่าง: การแบ่งปันผลประโยชน์ สาธารณรัฐโมซัมบิก (ต่อ)
10
ภาคธุรกิจจะใช้คาร์บอนเครดิตอย่าง ‘น่าเชื่อถือ’ ได้อย่างไร
ที่มา: GHG Management Institute & Stockholm Environment Institute
(SEI), Securing Climate Benefit: A Guide to Using Carbon Offsets,
/https://www.offsetguide.org/wp-content/uploads/2020/03/Carbon-
Offset-Guide_3122020.pdf
และควร…
• ประกาศซื้อแต่ ‘เครดิตคุณภาพสูง’
• ตรวจสอบก่อนซื้อ (due diligence)
• ยกเลิกทันทีที่พบว่าโครงการมีปัญหา
11
ที่มา: The Phnom Penh Post, https://www.phnompenhpost.com/national/virgin-stops-purchases-oddar-meanchey-redd-credits

More Related Content

More from Sarinee Achavanuntakul

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open ForumSarinee Achavanuntakul
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Sarinee Achavanuntakul
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismSarinee Achavanuntakul
 
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandCrowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandSarinee Achavanuntakul
 

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 
Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?Who (Should) Regulate Internet?
Who (Should) Regulate Internet?
 
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forumสไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
 
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi ProjectSustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
 
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
 
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data JournalismNew Media Ecosystem & Role of Data Journalism
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
 
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?Is Capitalism Hostile to the Poor?
Is Capitalism Hostile to the Poor?
 
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for ThailandCrowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
 
Business Models of Social Business
Business Models of Social BusinessBusiness Models of Social Business
Business Models of Social Business
 

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?

  • 1. คาร์บอนเครดิตป่าไม้ อย่างไรจึง ‘ยุติธรรม’ และ ‘ไม่ฟอกเขียว’ สฤณี อาชวานันทกุล พฤศจิกายน 2566
  • 2. 2 ความสาคัญของคาร์บอนเครดิตป่าไม้ • อุตสาหกรรมบางประเภทปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ ‘ลดยาก’ (hard-to-abate) เพราะ การลดมีต้นทุนสูงมาก หรือปัจจุบันยังไม่มีเทคโนโลยี (abatement technologies) ที่ ช่วยลดได้อย่างมีประสิทธิภาพ – อุตสาหกรรม ‘ลดยาก’ หลัก ๆ ได้แก่ อุตสาหกรรม หนัก (เช่น ซีเมนต์ เหล็กกล้า และเคมีภัณฑ์) และอุตสาหกรรมขนส่งขนาดใหญ่ (เช่น การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางเรือ และการขนส่งโดยรถบรรทุกยักษ์) • ในขณะเดียวกัน ข้อเท็จจริงก็คือ ไม่มีทางที่เราจะบรรลุเป้า 1.5 องศาได้ถ้าเราไม่เร่ง ปกป้องและฟื้นฟูป่าไม้ ในยุคที่การตัดไม้ทำลายป่าทวีความรุนแรง และผู้ดูแลป่าทั้ง ภาครัฐ เอกชน และชุมชน ยังขาดแคลนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการอนุรักษ์ • ด้วยเหตุนี้ ‘คาร์บอนเครดิตป่าไม้’ จึงน่าจะยังสำคัญในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่สังคมคาร์บอน ต่ำ – สามารถสร้างแรงจูงใจให้บริษัทหาทางลดก๊าซเรือนกระจก (ถ้าราคาสูงพอ) แสดงเจตจำนงต่อสาธารณะ และเพิ่มทรัพยากรให้ผู้ดูแลป่าใช้ดูแลป่าและเพิ่มพื้นที่ป่า • แต่ ‘ปีศาจอยู่ในรายละเอียด’ ! (devil is in the details)
  • 3. 3 ที่มา: John Costenbader, Legal frameworks for REDD: Designing and implementing national strategies https://www.un- redd.org/sites/default/files/2021-10/IUCN%20Chapter%203%20-%20Benefit-sharing%20-%20final%20-%2028-10.pdf ตลาด 3 ประเภท
  • 4. 4 ที่มา: Taking Root, The importance of equity for successful benefit sharing in reforestation https://takingroot.org/the- importance-of-equity-for-successful-benefit-sharing-in-reforestation/ “ผู้เล่น” ในตลาดคาร์บอนแบบสมัครใจ
  • 5. 5 คาร์บอนเครดิตป่าไม้ ‘ไม่ใช่’ อะไรบ้าง • ‘ใบอนุญาตปล่อยก๊าซเรือนกระจก’ ต่อไปโดยไม่หาทางลด (หลายประเทศ กำหนดเพดานของคาร์บอนเครดิตที่ธุรกิจซื้อได้) • ‘แก้วสารพัดนึก’ ลำพังโครงการทุกชนิดที่เอามาขายเครดิตไม่อาจแก้ปัญหา โลกร้อนได้ – เป็นเพียง ‘มาตรการชั่วคราว’ ที่พยายามกดเส้นก๊าซเรือน กระจกสะสมในชั้นบรรยากาศ ระหว่างที่โลกเปลี่ยนผ่านจากคาร์บอนสูง • ‘ใบอนุญาตให้ยึดสิทธิของชุมชนหรือแย่งที่ดินของชุมชน’ โครงการคาร์บอน เครดิตคุณภาพสูงต้องทำตามหลักการ FPIC (ได้รับความยินยอมโดยเสรี ล่วงหน้าและมีข้อมูลเพียงพอ) ของชุมชนท้องถิ่น สนับสนุนสิทธิชุมชน • ‘ใบอนุญาตให้เอาเปรียบชุมชน’ โครงการคาร์บอนเครดิตต้องมีแผนการ แบ่งปันผลประโยชน์ที่ยุติธรรมกับชุมชน โดยเฉพาะชุมชนที่อนุรักษ์ป่า
  • 6. 6 หลักการบางข้อของคาร์บอนเครดิตป่าไม้ และปัญหาที่พบ • Additionality (ส่วนเพิ่ม) – โครงการที่จะนำมาขายต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า ถ้าไม่มีตลาด คาร์บอน โครงการนี้จะไม่เกิดขึ้น (หรือต้องเพิ่มกิจกรรมเพื่อแสดงว่าจะลดคาร์บอน ได้มากขึ้น) → หลายโครงการเอาของเดิมมาขาย หรือกฎหมายบังคับให้ทำอยู่แล้ว • Permanence (ดูดซับถาวร) – ป่าต้องอยู่ไป 100 ปี คาร์บอนเครดิตจึงจะมี ความหมาย เพราะคาร์บอนไดอ็อกไซด์อยู่นานขนาดนั้นในชั้นบรรยากาศ → หลาย โครงการแค่ ‘ปลูกต้นไม้’ ปลูกแล้วตายไม่กลายเป็นป่า / ป่าอยู่ได้ไม่นาน • Leakage (ปัญหาโผล่ที่อื่น) – อนุรักษ์ป่าตรงนี้ได้ แต่ไม่ใช่การลักลอบตัดไม้ทำลายป่า ไปโผล่ที่อื่น → หลายโครงการอนุรักษ์ป่าได้ แต่ป่าไม้ที่อื่นถูกทำลายมากขึ้น • Social and Environmental Safeguards (มีกลไกป้องกันทางสังคมและ สิ่งแวดล้อม) และ Fair Benefit Sharing (แบ่งปันผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม) → ชุมชนที่ดูแลป่าไม่มีส่วนร่วมในการออกแบบโครงการ ไม่ได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์จาก ตลาดคาร์บอนอย่างเป็นธรรม ถูกยึดสิทธิในการดูแลป่า หรือถูกขับไล่ออกจากป่า
  • 7. 7 แผนการแบ่งผลประโยชน์ (Benefit Sharing Plan) ที่ดี • สร้างมูลค่าที่สามารถจูงใจชุมชนให้ดูแลป่าได้จริง – กำหนด ‘ราคาฐาน’ (baseline) ที่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการดูแลป่าของชุมชน และสร้าง แรงจูงใจให้อนุรักษ์ป่าอย่างเข้มแข็งกว่าเดิม • สร้างหลักประกันว่าจะแบ่งมูลค่าเพิ่มจากตลาดให้กับชุมชนท้องถิ่น – ถ้า ตลาดให้มูลค่าคาร์บอนเครดิตจากโครงการมากกว่า ‘ราคาฐาน’ ก็ต้องแบ่ง ส่วนเพิ่มให้กับชุมชนด้วย เช่น กำหนด % ส่วนแบ่งรายได้ที่เป็นธรรม • โครงการคุณภาพสูงมาพร้อมต้นทุนสูง ชุมชนไม่ควรแบกรับต้นทุนเพิ่ม – ค่าใช้จ่ายในการทำโครงการคุณภาพสูง ต้องสะท้อนในราคาที่สูงขึ้น • ไม่มี ‘สูตรสาเร็จ’ ตายตัว – แผนการแบ่งปันผลประโยชน์ต้องดูแต่ละ โครงการ และให้ชุมชนมีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น
  • 8. 8 ที่มา: Benefit Sharing Plan (BSP), สาธารณรัฐโมซัมบิก https://www.forestcarbonpartnership.org/sites/fcp/files/final_benefit_sharing_plan_of_the_zambezia_emission_reduction_program.pdf ตัวอย่าง: การแบ่งปันผลประโยชน์ สาธารณรัฐโมซัมบิก
  • 9. 9 ที่มา: Benefit Sharing Plan (BSP), สาธารณรัฐโมซัมบิก https://www.forestcarbonpartnership.org/sites/fcp/files/final_benefit_sharing_plan_of_the_zambezia_emission_reduction_program.pdf ตัวอย่าง: การแบ่งปันผลประโยชน์ สาธารณรัฐโมซัมบิก (ต่อ)
  • 10. 10 ภาคธุรกิจจะใช้คาร์บอนเครดิตอย่าง ‘น่าเชื่อถือ’ ได้อย่างไร ที่มา: GHG Management Institute & Stockholm Environment Institute (SEI), Securing Climate Benefit: A Guide to Using Carbon Offsets, /https://www.offsetguide.org/wp-content/uploads/2020/03/Carbon- Offset-Guide_3122020.pdf และควร… • ประกาศซื้อแต่ ‘เครดิตคุณภาพสูง’ • ตรวจสอบก่อนซื้อ (due diligence) • ยกเลิกทันทีที่พบว่าโครงการมีปัญหา
  • 11. 11 ที่มา: The Phnom Penh Post, https://www.phnompenhpost.com/national/virgin-stops-purchases-oddar-meanchey-redd-credits