SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
Download to read offline
เรื่อง...คอมพิวเตอร์
จัดทำโดย
นำงสำวธิดำพร อ้วนคำ
ชั้นม.6/5 เลขที่14
เสนอ
คุณครูประกำศิต ศรีสะอำด
รำยงำนเล่มนี่เป็นส่วนหนึ่งของกำรศึกษำวิชำ คอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสำรสนเทศธุรกิจ
ภำคเรียนที่2/2561
คำนำ
เอกสำรเล่มนี้เป็ นเป็ นเนื้อหำของรำยวิชำเทคโนโลยีสำรสนเทศ 3901-1001 โดยมี
เนื้อหำเกี่ยวกับกำรใช้เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันไม่ว่ำจะเป็ นเรื่องควำมรู้เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีสำรสนเทศ รูปแบบของข้อมูล กำรรับกำรส่งข้อมูล กำรวิเครำะห์ข้อมูลและกำรจัดกำร
ข้อมูล ระบบปฏิบัติกำรและโปรแกรมประยุกต์ใช้งำน ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต
ในปัจจุบันคงจะปฏิเสธไม่ได้ว่ำเทคโนโลยีสำรสนเทศได้เข้ำมำเป็ นส่วนหนึ่งของกำรดำเนิน
ชีวิตประจำวันไปแล้ว ไม่ว่ำจะหันไปทำงใดก็เห็นแต่เรื่องของไอที
ธิดำพร อ้วนคำ
เรื่อง ควำมรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสำรสนเทศ
1. เทคโนโลยีสำรสนเทศ หรือไอที (Information Technology :IT)
ควำมก้ำวหน้ำทำงด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมีผลต่อควำมเป็นอยู่ของมนุษย์ใน
ยุคปัจจุบันเป็นอย่ำงมำก เทคโนโลยีได้เข้ำมำเสริมปัจจัยพื้นฐำนกำรดำรงชีวิตในเรื่องปัจจัยสี่ และ
ยังมีผลต่อกำรติดต่อสื่อสำรของมนุษย์ให้เป็นไปได้อย่ำงสะดวกมำกขึ้น
คำว่ำเทคโนโลยี หมำยถึง กำรประยุกต์เอำควำมรู้ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์มำใช้ให้
เกิดประโยชน์ กำรศึกษำพัฒนำองค์ควำมรู้ต่ำง ๆ ก็เพื่อให้เข้ำใจธรรมชำติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่ำง ๆ
และหำทำงนำมำประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้ำที่มีควำมหมำยกว้ำงไกล เป็นคำที่
เรำได้พบเห็นและได้ยินอยู่ตลอดมำ ส่วนคำว่ำ สำรสนเทศ หมำยถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์
ต่อกำรดำเนินชีวิตของมนุษย์มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิดมำได้เรียนรู้สิ่งต่ำง ๆ เป็นจำนวนมำก เรียนรู้
สภำพสังคมควำมเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และวิชำกำร เมื่อรวมคำว่ำเทคโนโลยีกับสำรสนเทศเข้ำด้วยกัน
จึงหมำยถึงเทคโนโลยีที่ใช้จัดกำรสำรสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่กำรรวบรวมกำร
จัดเก็บข้อมูล กำรประมวลผล กำรพิมพ์ กำรสร้ำงรำยงำน กำรสื่อสำรข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยี
สำรสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบกำรให้บริกำร กำรใช้และกำรดูแลข้อมูล
ในปัจจุบันเทคโนโลยีสำรสนเทศได้เข้ำมำมีบทบำทในชีวิตประจำวันเป็นอย่ำงมำก ไม่ว่ำ
จะเป็ นเทคโนโลยีในกำรผลิตหรือจัดกำรสำรสนเทศ โดยเฉพำะที่สำคัญยิ่งคือกำรนำเอำ
คอมพิวเตอร์มำประยุกต์ใช้งำนทำงด้ำนสำรสนเทศ หรือว่ำจะเป็นเทคโนโลยีในกำรนำสำรสนเทศ
ไปสู่ผู้ใช้สำรสนเทศหรือกลุ่มเป้ ำหมำยในระยะเวลำอันรวดเร็ว เช่นเทคโนโลยีกำรสื่อสำรสำร
ข้อมูล หรือเทคโนโลยีกำรสื่อสำรโทรคมนำคม (Telecommunication) ในปัจจุบันที่สำคัญเช่น
อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
2. สถำนภำพกำรใช้ไอทีในปัจจุบัน
โดยพื้นฐำนของเทคโนโลยีย่อมมีประโยชน์ต่อกำรพัฒนำ เจริญก้ำวหน้ำได้ แต่เทคโนโลยี
สำรสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีควำมเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มำก กำรใช้ไอทีในปัจจุบัน
มักเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ไม่ว่ำจะเป็นกำรใช้งำนทั่ว ๆ ไปอย่ำงกำรจัดเอกสำรโดย
อำศัยซอฟต์แวร์ที่มีประสิทธิภำพ กำรสื่อสำรผ่ำนคอมพิวเตอร์เครือข่ำยหรืออินเทอร์เน็ต
กำรใช้ระบบงำนคอมพิวเตอร์เพื่อกำรเพิ่มประสิทธิภำพในกำรปฏิบัติงำนและทำให้เกิด
ระบบสำรสนเทศสำหรับกำรวำงแผนและตัดสินใจ ผลของเทคโนโลยีสำรสนเทศโดยสรุปได้ดังนี้
 เสริมสร้ำงคุณภำพชีวิต
 กระจำยควำมเท่ำเทียมกันของมนุษย์ในด้ำนกำรรับรู้ข้อมูลข่ำวสำร
 ส่งเสริมกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ที่ไม่จำกัดอยู่ในสถำนศึกษำ
ส่งเสริมด้ำนพำนิชยกรรม อุตสำหกรรมฯลฯ
3. ไอทีและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
เทคโนโลยีสำรสนเทศหรือไอที (Information Technology – IT) หมำยถึงกำรประยุคใช้
เทคโนโลยีให้สอดคล้องกับกำรสื่อสำรให้เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพมำกที่สุด
ข้อมูล (Data) หมำยถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นข้อเท็จจริงต่ำง ๆ มำกมำยในระบบกำรทำงำนของ
เรำ
สำรสนเทศ (Information) คือข้อมูลที่ผ่ำนกำรประมวลผลแล้ว สำมำรถนำไปใช้
ประโยชน์หรือนำกลับมำเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในกำรประมวลผลขั้นต่อไป
ระบบสำรสนเทศ(Information System-IS) หมำยถึง ระบบงำนคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุน
กำรปฏิบัติงำนและทำให้เกิดสำรสนเทศที่เป็นประโยชน์ ซึ่งแบ่งระบบสำรสนเทศออกได้หลำย
ระดับ คือ
 ระบบประมวลผลรำยกำร (TP หรือ DP) เป็นระบบที่ถูกใช้ดำเนินกำรกับข้อมูลที่
เกิดขึ้นเป็นรำยกำรประจำมีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
 ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำร (Management Information System –MIS)
เป็นระบบที่มีส่วนช่วยในกำรประมวลผลลัพธ์ที่เป็นกำรสรุป อันนำไปสู่
ประโยชน์ในกำรบริหำรจัดกำร
 ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ (Decision Support System - DSS) เป็นระบบที่มี
ส่วนช่วยในกำรตัดสินใจของผู้บริหำรด้วยกำรเสนอทำงเลือกให้
 ระบบสำรสนเทศสำหรับผู้บริหำรระดับสูง (Executive Information System –
EIS) เป็นระบบสำรสนเทศที่เหมำะสำหรับผู้บริหำรระดับสูงใช้ในกำรวำงแผน
หรือดำเนินกลยุทธ์เพื่อให้องค์กรบรรลุเป้ำหมำย
ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสำรสนเทศ
ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริงที่ได้ ยังไม่ผ่ำนกำรประมวลผลใด ๆ มำก่อน เป็น
องค์ประกอบที่สำคัญอย่ำงยิ่งต่อองค์กรใด ๆ เพื่อนำมำใช้ในกำรสร้ำงสำรสนเทศที่ต้องกำร
สำรสนเทศ (Information) หมำยถึง ข่ำวสำรที่ได้จำกกำรนำข้อมูลดิบ (raw data) มำคำนวณ
ทำงสถิติหรือประมวลผลอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ซึ่งข่ำวสำรที่ได้นั้นจะมีอยู่ในรูปที่สำมำรถนำไปใช้งำน
ได้ทันที
สำรสนเทศที่มีคุณภำพ ควรมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
 ทันต่อเวลำเมื่อต้องกำรเรียกใช้
 อยู่ในรูปแบบที่ดูง่ำย และสื่อควำมหมำย
 มีประโยชน์และตรงตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้
 มีควำมถูกต้องเชื่อถือได้
 คุ้มค่ำแก่กำรนำไปใช้
เทคโนโลยีสำรสนเทศ (Information Technology) หมำยถึง กระบวนกำรต่ำง ๆ และ
ระบบงำนที่ช่วยให้ได้สำรสนเทศที่ต้องกำร โดยหมำยรวมถึง เครื่องมือ อุปกรณ์ต่ำง ๆ ตลอดจน
กระบวนกำรในกำรนำอุปกรณ์และเครื่องมือนั้น ๆ มำใช้งำนเพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และ
แสดงผลลัพธ์เป็นสำรสนเทศในรูปแบบต่ำง ๆ ที่สำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป
ในปัจจุบันโลกแห่งเทคโนโลยีสำรสนเทศไม่ได้จำกัดอยู่ในวงแคบอีกต่อไป ชีวิตประจำวัน
ของเรำเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอยู่เสมอ ตัวอย่ำงของงำนปัจจุบันที่อำศัยสำรสนเทศได้แก่
 ระบบสำนักงำนอัตโนมัติ (Office Automation)
 กำรประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Data processing)
 ระบบสำรสนเทศ (Information System)
 อินเทอร์เน็ต (Internet) & อินทรำเน็ต (Internet)
 เทคโนโลยีสื่อประสม (Multimedia)
 ระบบกำรเรียนกำรสอนทำงไกล (Distance Learning)
 Mobile Computin
ระบบสำรสนเทศสำหรับองค์กร
1. ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems: DP)
ระบบประมวลผลข้อมูล หรือบำงครั้งเรียกว่ำ ระบบประมวลผลรำยกำรประจำ
(Transaction Processing Systems: TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Data Processing หรือ EDP) เป็นกำรนำคอมพิวเตอร์มำใช้ในกำรจัดกำรข้อมูลขั้นพื้นฐำน โดยเน้นที่
กำรประมวลผลรำยกำรประจำ และเก็บรักษำข้อมูล เช่น กำรจัดซื้อวัตถุดิบ ยอดสั่งซื้อสินค้ำ
ยอดขำย กำรส่งของ กำรจอง ลงทะเบียน กำรออกใบแจ้งรำยกำรสินค้ำ
ตัวอย่างระบบฝาก-ถอนเงิน
2.ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำร (Management Information Systems: MIS)
ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรหรือกำรจัดกำร เป็นระบบที่ให้สำรสนเทศที่ผู้บริหำร
ต้องกำร เพื่อให้สำมำรถทำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยจะรวมทั้งสำรสนเทศทั้งภำยในและ
ภำยนอกขององค์กร สำรสนเทศเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คำดว่ำ
จะเป็นประโยชน์ในอนำคต รำยงำนที่ระบบสำรสนเทศจัดเตรียมไว้นั้นเช่น รำยงำนตำมกำหนดกำร
(Scheduled Report) รำยงำนตำมควำมต้องกำร (Demand Report) รำยงำนกรณีเฉพำะ (Exception
Report) รำยงำนพยำกรณ์ (Prediction Report) เป็นต้น โดยรำยงำนที่ได้ต้องสำมำรถอ้ำงอิงได้
ตรวจสอบได้เป็นที่ยอมรับ อำจเป็นสิ่งที่คำดว่ำจะเป็นอนำคตก็เป็นได้
ข้อมูลลูกค้ำ
-เลขบัญชีธนาคาร
-ฝากหรือถอน
-จานวนเงิน
ขั้นตอน
-ตรวจสอบเลขบัญชี
-กรณีฝาก ปรับเพิ่มยอดเงิน
ในบัญชี
-กรณีถอนตรวจสอบยอดเงิน
ในบัญชี
->ถ้าพอปรับลดยอดเงิน
->ถ้าไม่พอถอนไม่ได้
ข้อมูล
บัญชีธนำคำร
ปรับปรุงสมุดบัญชี
ตัวอย่างระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารธนาคาร
3.ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ (Decision Support Systems: DSS)
พัฒนำขึ้นจำกระบบ MIS เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนกำรตัดสินใจ ซึ่งเป็นเป้ ำหมำยเพื่อ
เตรียมสำรสนเทศที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้ระบบ โดยสำรสนเทศนี้ช่วยในกำรตัดสินใจในสิ่งที่ไม่ได้
คำดกำรล่วงหน้ำหรือคำดกำรณ์ได้ยำก มำช่วยในกำรเสนอทำงเลือก แต่ไม่ได้ทำหน้ำที่ในกำร
ตัดสินใจแทน สุดท้ำยหน้ำที่กำรตัดสินใจยังคงเป็นหน้ำที่ของบุคคล ว่ำจะปฏิบัติตำมแนวทำงไหน
ถึงจะดีที่สุด
Customer Transaction
Processing
Managemen
t
Support
System
Checking
Account
Program
Saving
Account
Program
Loan
Account
Program
Database Management System
Customer Account Database
4. ระบบสำรสนเทศเพื่อผู้บริหำรระดับสูง (Executive information Systems: EIS)
เป็นระบบที่สร้ำงขึ้นเพื่อสนับสนุนสำรสนเทศและกำรตัดสินใจสำหรับผู้บริหำรระดับสูงโดยเฉพำะ
หรือสำมำรถกล่ำวได้ว่ำ ระบบอีไอเอสก็คือส่วนหนึ่งของระบบอีเอสเอสแยกออกมำเพื่อเน้นกำรให้
สำรสนเทศที่สำคัญต่อกำรบริหำรแก่ผู้บริหำรระดับสูงสุด ซึ่งรำยงำนที่ได้จะใช้ข้อมูลทั้งจำกภำยใน
และภำยนอกขององค์กร นำมำสรุปอยู่ในรูปแบบที่สำมำรถตรวจสอบได้และใช้ในกำร5. ระบบ
ผู้เชี่ยวชำญ (Expert Systems)
เป็นระบบที่ช่วยแก้ปัญหำหรือทำกำรตัดสินใจแทนผู้ใช้ โดยจะทำกำรเลียนแบบเหตุผล
และควำมคิดนั้นจำกสำรสนเทศที่เก็บรวบรวมมำจำกประสบกำรณ์ในกำรแก้ปัญหำจริง และนำมำ
เป็นทำงเลือกในกำรแก้ปัญหำหรือตัดสินใจ โดยระบบผู้เชี่ยวชำญจะเกี่ยวข้องกับองค์ควำมรู้
มำกกว่ำสำรสนเทศชนิดอื่น ๆ และออกแบบมำให้ช่วยในกำรตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชำญ
ที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักกำรทำงำนด้วยระบบปัญญำประดิษฐ์
2. สำรสนเทศกับกำรตัดสินใจ
ในองค์กรต่ำง ๆ นั้น สำมำรถแบ่งกำรทำงำนออกเป็น 4 ระดับด้วยกันคือ
 ระดับวำงแผนยุทธศำสตร์ระยะยำว (strategic planning)
 ระดับวำงแผนกำรบริหำร (tactical planning)
 ระดับวำงแผนปฏิบัติกำร (operational planning)
 ระดับผู้ปฏิบัติกำร (Clerical)
ในสำมระดับแรกจัดอยู่ในระดับกำรบริหำร (Management) ระดับสุดท้ำยจัดอยู่ในระดับ
ปฏิบัติกำร (Operation)
ระบบสำรสนเทศจะทำกำรเก็บรวบรวมข้อมูลจำกระดับปฏิบัติกำร และทำกำรประมวลผล
เพื่อให้สำรสนเทศกับบุคลำกรในระดับต่ำง ๆ ซึ่งในแต่ละระดับนั้นจะใช้ลักษณะและปริมำณของ
สำรสนเทศที่แตกต่ำงกันไป
ระดับวำงแผน
ยุทธศำสตร์
ระดับวำงแผนกำรบริหำร
ระดับวำงแผนปฏิบัติกำร
ระดับปฏิบัติกำร
บุคลำกรในแต่ละระดับจะเกี่ยวข้องกับระบบสำรสนเทศดังนี้
ระดับปฏิบัติกำร
เกี่ยวข้องอยู่กับงำนที่ต้องกระทำซ้ำ ๆ กัน และจะเนินไปที่กำรจัดกำรรำยกำรประจำวัน นั่น
คือบุคลำกรในระดับนี้เกี่ยวข้องกับสำรสนเทศในฐำนะเป็นผู้จัดหำข้อมูลเข้ำสู่ระบบ ตัวอย่ำงเช่น
เจ้ำหน้ำที่ป้ อนข้อมูลกำรสั่งซื้อของลูกค้ำเข้ำสู่คอมพิวเตอร์ในระบบสำรสนเทศเพื่อกำรขำย หรือ
ตัวแทนกำรจองตั๋วและขำยตั๋วในระบบจองตั๋วเครื่องบิน เป็นต้น
ระดับวำงแผนปฏิบัติกำร
เป็นผู้บริหำรขั้นต้นที่ควบคุมกำรปฏิบัติงำนประจำวัน และกำรวำงแผนบริหำรงำนที่
เกี่ยวข้องกับระยะเวลำสั้น ๆ เช่น แผนงำนประจำวัน ประจำสัปดำห์ หรือประจำไตรมำส ข้อมูลที่
ผู้บริหำรระดับนี้ต้องกำร ส่วนมำกจะเกี่ยวข้องกับผลกำรปฏิบัติกำรในช่วงเวลำหนึ่ง ๆ ดัง
ตัวอย่ำงเช่น ผู้จัดกำรแผนกขำยตรงอำจต้องกำรรำยงำนสรุปยอดขำยประจำสัปดำห์เพื่อประเมินผล
กำรปฏิบัติงำนในระยะนั้น
ระดับวำงแผนกำรบริหำร
บุคลำกรในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหำรระดับกลำง ซึ่งมีหน้ำที่ในกำรวำงแผนให้บรรลุ
เป้ ำหมำยต่ำง ๆ เพื่อให้องค์กรประสบผลสำเร็จตำมแผนงำนระยะยำวที่กำหนดโดยผู้บริหำร
ระดับสูง สำรสนเทศระดับนี้ที่ต้องกำร มักจะเป็นสำรสนเทศตำมคำบเวลำซึ่งมีระยะเวลำนำนกว่ำ
ผู้บริหำรขั้นต้น และจะเป็นสำรสนเทศที่รวบรวมข้อมูลทั้งจำกภำยนอกและภำยในองค์กร
DSS
DP
EIS
MIS
ระดับวำงแผนยุทธศำสตร์ระยะยำว
ผู้บริหำรระดับนี้เป็นผู้บริหำรสูงสุด ซึ่งเน้นในเรื่องเป้ ำประสงค์ขององค์กร ระบบ
สำรสนเทศที่ต้องกำรจะเน้นกำรรำยงำนที่สรุป รำยงำนกำรวิเครำะห์ และรำยงำนคำดหมำย
แนวโน้มต่ำง ๆ
ตารางสรุปความแตกต่างระหว่างสารสนเทศในระดับบริหารทั้งสามระดับ
ระดับวำงแผน
ปฏิบัติกำร
ระดับวำงแผน
กำรบริหำร
ระดับวำงแผน
ยุทธศำสตร์ระยะยำว
ควำมถี่
ผลลัพธ์ที่ได้
ระยะเวลำ
รำยละเอียด
แหล่งข้อมูล
ลักษณะของข้อมูล
ควำมแม่นยำ
ผู้ใช้
ระดับกำรตัดสินใจ
สม่ำเสมอ ซ้ำซ้ำ
เป็นตำมที่คำด
อดีต
มีรำยละเอียดมำก ภำยใน
เป็นโครงสร้ำง
มีควำมแม่นยำสูง
หัวหน้ำงำน
เกี่ยวกับงำนที่ทำ
มักจะเป็นประจำ
อำจไม่เหมือนที่คำด
เปรียบเทียบ
ถูกสรุปแล้ว
ภำยในและภำยนอก กึ่ง
โครงสร้ำง
ใช้กำรคำดกำรณ์บ้ำง
ผู้บริหำรระดับกลำง
จัดสรรทรัพยำกรและ
ควบคุม
เมื่อต้องกำร
มักจะไม่เหมือนที่คำด
อนำคต
ถูกสรุปแล้ว
ภำยในและภำยนอก ไม่
เป็นโครงสร้ำง
ใช้กำรคำดกำรณ์สูง
ผู้บริหำรระดับสูง
วำงเป้ำประสงค์
บรรณำนุกรม
www.google.com
www.yahoo.com
หน่วยที่ 2
รูปแบบของข้อมูล กำรรับส่งข้อมูล
กำรรับส่งข้อมูล
ก่อนที่จะกล่ำวถึงกำรสื่อสำรระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ ควรศึกษำถึงวิธีกำรถ่ำยโอนข้อมูล
ซึ่งเป็นเรื่องกำรส่งสัญญำณออกจำกเครื่องและรับสัญญำณเข้ำไปในเครื่องก่อน กำรถ่ำยโอนข้อมูล
สำมำรถจำแนกได้2 แบบ คือ กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน และกำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม
กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน
กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน ทำได้โดยกำรส่งข้อมูลออกมำทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 บิต จำก
อุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ อุปกรณ์ตัวกลำงระหว่ำงสองเครื่องจึงต้องมีช่องทำงให้ข้อมูลเดินทำง
อย่ำงน้อย 8 ช่องทำง เพื่อให้กระแสไฟฟ้ำผ่ำนโดยมำกจะเป็นสำยสัญญำณแบบขนำน ระยะทำงของ
สำยสัญญำณแบบขนำนระหว่ำงสองเครื่องไม่ควรยำวเกิน 100 ฟุต เพรำะอำจทำให้เกิดปัญหำ
สัญญำณสูญหำยไปกับควำมต้ำนทำนของสำย นอกจำกนี้อำจมีปัญหำที่เกิดจำกระดับไฟฟ้ำในสำย
ดินที่จุดรับผิดไปจำกจุดส่งทำให้เกิดกำรผิดพลำดในกำรรับสัญญำณทำงฝ่ำยรับ
นอกจำกแกนหลักแล้วอำจจะมีทำงเดินของสัญญำณควบคุมอื่นๆ อีก เช่น บิตพำริตี ที่ใช้
ในกำรตรวจสอบควำมผิดพลำดของกำรรับสัญญำณที่ปลำยทำงหรือสำยที่ควบคุมกำรโต้ตอบ
( hand-shake)
กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน
กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม
a ในกำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมำทีละบิต ระหว่ำงจุดส่งและจุดรับ
กำรส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ำกว่ำแบบขนำน กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องกำรตัวกลำงสำหรับ
กำรสื่อสำรเพียงช่องเดียวหรือสำยเพียงคู่เดียว ค่ำใช้จ่ำยจะถูกกว่ำแบบขนำนสำหรับกำรส่ง
ระยะทำงไปไกลๆ โดยเฉพำะเมื่อเรำมีระบบสื่อสำรทำงโทรศัพท์ไว้ใช้งำนอยู่แล้ว ย่อมจะเป็นกำร
ประหยัดกว่ำที่จะทำกำรติดต่อสื่อสำรทีละ 8 ช่อง เพื่อกำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน
กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรมจะเริ่มโดยข้อมูลจำกจุดส่งจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญำณ
อนุกรมเสียก่อน แล้วค่อยทยอยส่งออกทีละบิตไปยังจุดรับ และที่จุดรับจะต้องมีกลไกในกำรเปลี่ยน
ข้อมูลที่ส่งมำทีละบิต ให้เป็นสัญญำณแบบขนำนซึ่งลงตัวพอดี เช่น บิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลเส้นที่ 1
กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม
กำรติดต่อแบบอนุกรมอำจจะแบ่งตำมรูปแบบรับ-ส่ง ได้ 3 แบบคือ
aaaaa1) สื่อสำรทำงเดียว (simplex) ข้อมูลส่งได้ทำงเดียวเท่ำนั้น บำงครั้งก็เรียกว่ำ กำรส่งทิศทำง
เดียว (unidirectional data bus)
aaaaa2) สื่อสำรสองทำงครึ่งอัตรำ (half duplex) ข้อมูลสำมำรถส่งได้ทั้งสองสถำนี แต่จะต้องผลัด
กันส่งและผลัดกันรับ จะส่งและรับพร้อมกันไม่ได้
aaaaa3) สื่อสำรสองทำงเต็มอัตรำ (full duplex) ทั้งสองสถำนีสำมำรถรับและส่งได้ในเวลำเดียวกัน
รูปแบบของกำรติดต่อสื่อสำรข้อมูลแบบอนุกรม
ควำมเร็วของกำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม หน่วยวัดเป็นบิตต่อวินำที (bps) หน่วยที่
บรรยำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงของสัญญำณใน 1 วินำที เรียกว่ำ อัตรำบอด (baud rate) ซึ่งนำมำคูณกับ
จำนวนบิตใน 1 บอดจะได้อัตรำบิต (bit rate) ซึ่งแสดงถึงกำรเปลี่ยนแปลงของสัญญำณ 1 ครั้ง ถ้ำ
เขียนในรูปของสมกำรทำงคณิตศำสตร์ก็จะได้
aอัตรำบิต (bit rate) = อัตรำบอด (baud rate) x (จำนวนบิตใน 1 บอด)
บัฟเฟอร์
กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรมจำกอุปกรณ์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง ซึ่งอำจจะเป็น
คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสำรชนิดอื่นนั้น มีสมมติฐำนว่ำควำมเร็วในกำรเปลี่ยนสัญญำณจำก
ขนำนเป็นอนุกรมของฝ่ำยส่งต้องเร็วพอ ในทำนองเดียวกันฝ่ำยรับก็ต้องมีควำมเร็วในกำรเปลี่ยน
สัญญำณอนุกรมเป็นขนำนได้ทันเวลำเพื่อนำไปแสดงบนจอภำพ หรือพิมพ์ออกที่เครื่องพิมพ์หรือ
เก็บไว้ในแผ่นบันทึก กล่ำวคือ ทั้งฝ่ำยส่งและฝ่ำยรับต้องมีควำมเร็วในกำรทำงำนเท่ำกัน ไม่มีกำร
หน่วงเวลำหรือกำรขัดจังหวะระหว่ำงกลำง อย่ำงไรก็ตำมในควำมเป็นจริงสมมติฐำนนี้เป็นไปได้
ยำกเพรำะฝ่ำยส่งทำหน้ำที่ส่งอย่ำงเดียวแต่ฝ่ำยรับอำจต้องทำหน้ำที่หลำยอย่ำง เช่น รับ แสดงผล เก็บ
ข้อมูล พิมพ์เป็นต้น ควำมเร็วของฝ่ำยรับหำกไม่เพียงพอที่จะทำงำนหลำยอย่ำงให้ทันกับฝ่ำยส่ง ก็
จำเป็นจะต้องมีกลไกในกำรควบคุมกำรถ่ำยโอน เทคนิคในกำรควบคุมควำมเร็วในกำรส่งข้อมูล
รูปแบบหนึ่งคือสร้ำงบัฟเฟอร์ (buffer)
บัฟเฟอร์สำหรับกำรสื่อสำรคือหน่วยควำมจำในคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งแยกออกมำจำก
หน่วยควำมจำหลัก สำหรับเก็บพักข้อมูลในกำรติดต่อชั่วครำว บัฟเฟอร์สำหรับกำรสื่อสำรนี้
ส่วนมำกใช้สำหรับฝ่ำยรับเท่ำนั้น เนื่องจำกฝ่ำยรับจำเป็นจะต้องตำมฝ่ำยส่งให้ทัน ถ้ำหำกฝ่ำยรับใช้
ภำษำ แอสเซมบลีควบคุม มีควำมเร็วพอ อำจไม่จำเป็นต้องใช้บัฟเฟอร์สำหรับกำรสื่อสำรเนื่องจำก
ภำษำ แอสเซมบลีมีควำมเร็วสูง
ข้อมูลที่จัดส่งให้คอมพิวเตอร์ที่เป็นฝ่ำยรับ ส่วนมำกจะอ่ำนมำจำกแผ่นบันทึก ข้อมูลที่อ่ำนมำ
จำกแผ่นบันทึกซึ่งมีลักษณะเป็นกลุ่มได้รับกำรนำมำสู่บัฟเฟอร์ กำรอ่ำนข้อมูลยังคงดำเนินไป
จนกระทั่งบัฟเฟอร์เต็ม กำรอ่ำนจะหยุดทำงำนชั่วครำวรอจนกระทั่งข้อมูลในบัฟเฟอร์ถูกส่งออกไป
หมด ข้อมูลก็จะถูกอ่ำนออกมำใส่ในบัฟเฟอร์อีกครั้ง โดยปกติบัฟเฟอร์จะมีควำมจำขนำด 225
ตัวอักษร หรือประมำณ 3 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร
บัฟเฟอร์รับมีผลกระทบต่อกำรรับส่งข้อมูลมำกกว่ำบัฟเฟอร์ส่ง เพรำะบัฟเฟอร์รับทำหน้ำที่
เช่นเดียวกับบัฟเฟอร์ส่ง แต่ทิศทำงของกำรไหลของข้อมูลอยู่ในทำงตรงกันข้ำม ในระบบควบคุม
กำรทำงำนของไมโครคอมพิวเตอร์บำงรุ่น เช่น IBM PC มีกลไกบัฟเฟอร์รับส่งนี้ไว้อยู่แล้ว
โปรแกรมในระดับสูงจึงเพียงแต่ทำหน้ำที่ดึงเอำข้อมูลจำกบัฟเฟอร์นี้ไปใช้จะเห็นได้ชัดถึงควำม
จำเป็นในกำรใช้บัฟเฟอร์เมื่อควำมเร็วในกำรส่งสูงเกินกว่ำ 600 บอด
หน้ำที่ของโปรแกรมควบคุมกำรรับส่งก็คือ กำรอ่ำนข้อมูลจำกบัฟเฟอร์รับไปใช้เมื่อถูกอ่ำน
จำกบัฟเฟอร์รับไปแล้ว ตัวที่อ่ำนออกไปก็จะหำยไปจำกบัฟเฟอร์ ลองนึกภำพดูจะเห็นว่ำ
ระบบปฏิบัติกำรรับข้อมูลจำกช่องทำงอนุกรมใส่บัฟเฟอร์ โปรแกรมควบคุมกำรรับส่งดึงข้อมูลจำก
บัฟเฟอร์ เปรียบเสมือนคนหนึ่งตักน้ำใส่ตุ่มอีกคนหนึ่งตักออกจำกตุ่ม ถ้ำฝ่ำยที่ตักออกมีควำมเร็ว
มำกกว่ำ น้ำในตุ่มก็จะมีโอกำสแห้ง ในทำงตรงกันข้ำมถ้ำฝ่ำยตักออกช้ำกว่ำฝ่ำยตักเข้ำ โอกำสที่น้ำ
ล้นตุ่มก็ย่อมจะมี ซึ่งในทำงสื่อสำรเรียกว่ำ บัฟเฟอร์รับไหลล้น (receive buffer overflow) กำรไหล
ล้นดังกล่ำวทำให้ข้อมูลที่ได้รับหำยไปได้
บรรณำนุกรม
อดุลย์ จำตุรงคกุล และคณ ะ.คอมพิวเตอร์ เพื่อกำรสื่ อสำร.กรุงเทพ มหำนคร:
มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์,2546
หน่วยที่ 3
เรื่อง กำรวิเครำะห์ข้อมูลและกำรจัดกำรข้อมูล
กำรวิเครำะห์
กำรวิเครำะห์ระบบในวงจรกำรพัฒนำระบบนั้นเริ่มต้นจำกกำรศึกษำระบบเดิมแล้วนำ
ข้อมูลที่ได้จำกกำรศึกษำมำหำควำมต้องกำร(Requirements) หรือสิ่งที่จะต้องปรับปรุงในระบบหรือ
อีกอย่ำงหนึ่งคือ วิธีแก้ปัญหำของระบบ กำรวิเครำะห์จะเริ่มหลังจำก ที่ทรำบปัญหำและผ่ำนขั้นตอน
กำรศึกษำควำมเป็นไปได้แล้ว
รวบรวมข้อมูล กำรศึกษำระบบเดิมนั้นนักวิเครำะห์ระบบเริ่มต้นจำกกำรศึกษำเอกสำร
ต่ำงๆ เช่น คู่มือต่ำงๆ หลังจำกนั้นเป็นกำรรวบรวมแบบฟอร์มและรำยงำนต่ำง ๆ เช่น ในระบบบัญชี
เจ้ำหนี้จะมีแบบฟอร์มใบบรรจุ ผลิตภัณฑ์ ใบทวงหนี้ รำยงำนเพื่อเตรียมเงินสนเป็นต้น
นอกจำกนั้นจะต้องคอยสังเกตดูกำรทำงำนของผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบที่ศึกษำท้ำยที่สุดอำจจะต้องมี
กำรสัมภำษณ์ผู้ที่มีหน้ำที่รับผิดชอบงำนที่เกี่ยวข้องในระบบหรือบำงกรณีอำจจะต้องใช้
แบบสอบถำมมำช่วยเก็บข้อมูล วิธีกำรทั้งหมดเรียกว่ำ เทคนิคกำรเก็บรวบรวมข้อมูล
คาอธิบายข้อมูล (Data Description) เมื่อนักวิเครำะห์ระบบศึกษำระบบมำกเข้ำจะพบว่ำมี
ข้อมูลอีกมำกมำยที่ต้องจัดให้เป็นหมวดหมู่ เช่น ข้อมูลของลูกค้ำคนหนึ่งจะรวมข้อมูล รำยละเอียด
อื่นๆ เช่น เลขที่ลูกค้ำ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์กำรจ่ำยเงิน กำรซื้อสินค้ำทั้งหมดเป็นเพียงไฟล์เดียว
เท่ำนั้น ในกรณีหลำยๆ ไฟล์จะต้องมีวิธีเก็บเพื่อควำมเป็นระเบียบในกำรติดตำมนิยำมของข้อมูล
เครื่องมือที่ช่วยเก็บคำอธิบำยข้อมูลก็คือ พจนำนุกรมข้อมูล
คาอธิบายวิธีการ (Procedure Description) กรรมวิธีที่ติดตำมกำรเปลี่ยนแปลงของข้อมูล
จะต้องรู้ว่ำข้อมูลผ่ำนกำรประมวลผลอย่ำงไรบ้ำง คือทรำบว่ำ "ทำอะไร" บ้ำงในระบบและมีวิธีกำร
อย่ำงไรเช่น กำรจ่ำยเงินเจ้ำหนี้ เรำมีกฎเกณฑ์หรือวิธีกำรอย่ำงไรบ้ำงในกำรตัดสินใจว่ำจะจ่ำยให้
ใครก่อนหลัง ซึ่งวิธีกำรบำงอย่ำงมีรำยละเอียดไม่มำกนัก เช่น ถ้ำลูกค้ำสั่งซื้อของเรำเพียงแต่เช็คว่ำมี
ของในสต็อกเพียงพอกับจำนวนที่ลูกค้ำสั่งหรือไม่ซึ่งจำได้ทันทีว่ำจะต้องทำอะไร
กำรวิเครำะห์จัดกำรข้อมูล
คาอธิบายการประมวลผล (Process Description) ต้องมีเพรำะถึงแม้ว่ำแผนภำพแสดงกระแสข้อมูล
(DFD) เป็นเครื่องมือพื้นฐำนที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ว่ำต้องทำอะไรบ้ำงหรือจะต้องประมวลผล
อะไรบ้ำงแต่ในแต่ละขั้นตอนถึงแม้จะแยกย่อยลงมำแล้วก็ยังมีรำยละเอียดที่ลึกลงไปอีกว่ำกำร
ประมวลผลที่ลึกลงไปนั้นใน DFD อธิบำยรำยละเอียดด้วย"คำอธิบำยกำรประมวลผล"
(Process Description) คำอธิบำยนี้บอกว่ำอินพุตถูกเปลี่ยนเป็นเอำต์พุตอย่ำงไร
การสร้างแบบข้อมูล (Data Modeling) คือ กำรออกแบบฐำนข้อมูลนักวิเครำะห์ระบบต้อง
ออกแบบว่ำจะเก็บข้อมูลอย่ำงไร และกำรดึงข้อมูลมำใช้จะใช้วิธีอะไร กำรจะออกแบบฐำนข้อมูลได้
นักวิเครำะห์ระบบต้องรู้แน่ชัดว่ำข้อมูลที่ใช้ทั้งหมดมีอะไรบ้ำงตัวอย่ำงฐำนข้อมูลอำจจะเป็นแบบ
ตำรำงธรรมดำ (Relational Database) และกำรดึงข้อมูลมำใช้โดยมีคีย์เป็นตัวใช้ค้นหำเป็นแบบอิน
เด็กซ์ไฟล์(Index File)
การสร้างแบบจาลองระบบ (System Modeling) คือ นำทุกสิ่งทุกอย่ำงที่ได้จำก
พจนำนุกรมข้อมูล แผนภำพแสดงกระแสข้อมูล ฐำนข้อมูล มำรวมกันเป็นระบบใหม่และที่สำคัญ
ก็คือ ควำมต้องกำรใหม่ของระบบจะถูกเพิ่มเติมเข้ำมำในระบบใหม่นี้ ซึ่งระบบใหม่นี้จะเป็นระบบ
ที่เรำต้องกำร นอกจำกนั้นต้องประมำณว่ำ จะต้องใช้บุคลำกร อุปกรณ์ และพัสดุอะไรบ้ำง และใช้
เป็นจำนวนเท่ำไร
ข้อมูลเฉพาะของปัญหา (Problem Specification) ในท้ำยที่สุดนักวิเครำะห์ระบบจะ
รวบรวมสิ่งที่ทำมำทั้งหมดเขียนเป็นรำยงำนฉบับหนึ่ง เรียกว่ำ ข้อมูลเฉพำะของปัญหำประกอบด้วย
พจนำนุกรมข้อมูล แผนภำพแสดงกระแสข้อมูล ข้อมูลเฉพำะกำรประมวลผลฐำนข้อมูล และแบบ
ระบบใหม่ รำยงำนนี้จะถูกใช้อ้ำงอิงตลอดโครงกำรพัฒนำระบบ
กำรจัดกำรข้อมูล
รหัสแทนข้อมูล
ข้อมูล (Data) หมำยถึง ควำมจริง (fact) ซึ่งสำมำรถบันทึกไว้ได้ และมีควำมหมำยอยู่
ในตัว ถือเป็นหัวใจสำคัญของระบบงำนคอมพิวเตอร์ เนื่องจำกกำรประมวลผลทำงคอมพิวเตอร์ทุก
ประเภทจะเป็นกำรประมวลผลข้อมูลในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องกำรออกมำ
หำกข้อมูลที่ป้อนให้ผิด ก็จะได้ผลลัพธ์ที่ไม่มีคุณค่ำ หรือที่นิยมเรียกว่ำป้อนขยะเข้ำย่อมได้ขยะออก
(Garbage in – Garbage out)
ระบบคอมพิวเตอร์ อำศัยกำรทำงำนของสัญญำณไฟฟ้ ำ ทำให้สถำนะมี 2 สถำนะ คือ
สถำนะปิด (Off) และสถำนะเปิด (on) จึงต้องหำวิธีในกำรแทนที่สถำนะสองสถำนะนี้ นั่นคือกำรใช้
เลขฐำนสอง (Binary Number System) ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 กำรประกอบเลขฐำนสองขึ้น
หลำย ๆ หลักทำให้สำมำรถแทนควำมหมำยข้อมูลต่ำง ๆ ได้จำนวนมำกมำย
เลขฐำนสอง 1 หลัก แทนข้อมูลได้ 21
แบบ นั่นคือ 0 หรือ 1
เลขฐำนสอง 2 หลัก แทนข้อมูลได้ 22
แบบ นั่นคือ 00 หรือ 01 หรือ 10 หรือ 11
เลขฐำนสอง 3 หลัก แทนข้อมูลได้ 23
แบบ นั่นคือ 001, 010,011,100,101,110,111,000
ดังนั้น เลขฐำนสอง n หลัก แทนข้อมูลได้ 2n
ข้อมูล
นอกจำกระบบเลขฐำนสองแล้ว ยังมีระบบเลขฐำนอื่น ๆ ที่ใช้ในกำรแทนข้อมูล ตัวอย่ำง
ต่อไปนี้
 เลขฐำน 8 ค่ำที่ใช้แทนข้อมูลในฐำน 8 ได้แก่ 0,1,2,3,4,5,6 หรือ 7
 เลขฐำน 16 ค่ำที่ใช้แทนข้อมูลในเลขฐำน 16 ได้แก่ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,A,B,C,D,E หรือ F
บิต ไบต์ เวิร์ด และ พาริตี้บิต
บิต (Bit : Binary Digit) เป็นหน่วยที่เลขที่สุดในกำรจัดเก็บข้อมูล โดยแทนด้วยเลขฐำนสอง
1 ตัว แต่เนื่องจำกบิตเพียงบิตเดียวไม่สำมำรถแทนค่ำข้อมูลได้เพียงพอ เรำจึงนำบิตหลำย ๆ บิตมำ
เรียงต่อกัน บิตหลำย ๆ บิตรวมกันเรียกว่ำ ไบต์ (Byte) โดยปกติแล้ว 8 บิต เท่ำกับ 1 ไบต์
Bit Bit Bit Bit Bit Bit Bit Bit
Byte
ไบต์ (Byte) ใช้เป็นหน่วยควำมจุของข้อมูล อำทิเช่น หน่วยควำมจำคอมพิวเตอร์ (Memory)
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) ปริมำณควำมจุเป็น Kilobyte (KB) , Megabyte(MB
หรือ M) , Gigabyte (GB หรือ G)
ตารางมาตราส่วนของหน่วยความจุ
หน่วย จำนวน Byte
KB 210
1024
MB 220
1,048,567 1024x1024
GB 230
1,073,741,824 1024x1024x1024
เวิร์ด (Word) เป็นกลุ่มของบิตเพื่อใช้ในกำรประมวลผล (อำจเกิดจำกไบต์หลำย ๆ ไบต์
รวมกัน) ซึ่งในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละชนิดจะมีขนำดของเวิร์ดไม่เท่ำกัน โดยทั่วไปแล้วถ้ำ
คอมพิวเตอร์เครื่องใดมีขนำดเวิร์ดใหญ่กว่ำ ก็จะมีประสิทธิภำพสูงกว่ำ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องมี
ขนำดบิตเวิร์ดไม่เท่ำกัน คอมพิวเตอร์บำงรุ่นมี 8 บิต (1 ไบต์) เป็น 1 เวิร์ด บำงรุ่นมี 16 บิต (2 ไบต์)
เป็น 1 เวิร์ด ยิ่งเป็นคอมพิวเตอร์ระดับสูงก็จะยิ่งมีขนำดบิตเวิร์ดใหญ่ขึ้น
พำริตี้บิต (Parity bit) เป็นบิตที่เก้ำที่เพิ่มขึ้นมำในคอมพิวเตอร์บำงระบบ มีไว้ตรวจสอบ
ควำมผิดพลำดจำกกำรสื่อสำรหรือส่งข้อมูล ซึ่งอำจมีสำเหตุต่ำง ๆ ทำให้คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูล
ผิดพลำดหรือก็ไม่สำมำรถดูได้จำกพำริตี้บิตนี้ โดยบิตพำริตี้แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ พำริตี้เลขคู่(Even
Parity) และ พำริตี้เลขคี่(Odd Parity) วิธีกำรส่งค่ำพำริตี้บิต คือ คอมพิวเตอร์จะนับจำนวนเลข 1 ของ
แต่ละไบต์ว่ำมีจำนวนเท่ำใด ถ้ำผลรวมของเลขหนึ่งในไบต์นั้นเป็นเลขคู่ และเครื่องที่ใช้เป็นระบบ
พำริตี้บิตเลขคี่ พำริตี้บิตจะเป็นเลข 1 แต่ถ้ำเครื่องที่ใช้เป็นระบบพำริตี้เลขคู่ พำริตี้บิตจะเป็นเลข 0
พำริตี้บิตจะเป็นส่วนที่สำคัญมำกในกรณีที่มีกำรส่งข้อมูลข้ำมระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยที่
เครื่องที่ทำหน้ำที่เป็นตัวรับข้อมูลจะต้องทรำบล่วงหน้ำว่ำเครื่องที่ส่งข้อมูลมำนั้นใช้ระบบพำริตี้เลข
คู่หรือเลขคี่ มิฉะนั้นจะทำให้แปลควำมหมำยของข้อมูลที่รับเข้ำมำไม่ถูกต้อง ตัวอย่ำงเช่นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ระบบพำริตี้เลขคู่ ถ้ำส่งรหัส A = 01000001 รหัสที่ส่งจริงจะเป็น 010000010 เป็นต้น
ชนิดของรหัสแทนข้อมูล
ในกำรสื่อสำรระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องอำศัยรหัสแทนข้อมูลมำตรฐำนสำกล
เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่ำง ๆ สำมำรถสื่อสำรกันได้รหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ
รหัส EBCDIC (Extended Binary Code Decimal Interchange Code)
พัฒนำโดยบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) ใช้แทนข้อมูลต่ำงกันได้ทั้งหมด 28
หรือ 256 ชนิด (ใช้ 8
บิตเป็น 1 ไบต์)
รหัส ASCII (American Standard code for Information Interchange)
เป็นรหัสมำตรฐำนสำกลที่นิยมใช้มำกในกำรติดต่อสื่อสำรของเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่
สองเครื่องขึ้นไป ใช้8 บิต เป็น 1 ไบต์เช่นเดียวกับ EBCDIC
รหัส Unicode
เป็นรหัสใหม่ล่ำสุดที่พัฒนำขึ้นมำแทนรหัสพิเศษต่ำง ๆได้มำกขึ้นเพรำะใช้ 16 บิตต่อไบต์
ในกำรแทนข้อมูล ทำให้ครอบคลุมภำษำต่ำง ๆ ได้หลำยภำษำโดยไม่ต้องมีกำรแปลง เช่น
ระบบปฏิบัติกำร Windows
ระบบไฟล์ข้อมูล (Data file)
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองของคอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลในรูปของเลขฐำนสอง ซึ่งประกอบ
กันเป็นแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์ โดยที่ไม่ว่ำจะใช้สื่อเก็บข้อมูลชนิดใดก็ตำม ทุกอย่ำงที่เก็บอยู่ในหน่วย
เก็บข้อมูลสำรองต้องอยู่ในรูปของไฟล์ไฟล์ทุกไฟล์ต้องมีชื่อเรียกเพื่อให้ระบบสำมำรถอ้ำงอิงถึงได้
และไฟล์หลำย ๆ ไฟล์ก็จะถูกจัดเก็บไว้ใน ไดเรคทอรี่(Directory) หรือ โฟลเดอร์ (Folder) เดียวกัน
โดยคำนึงถึงควำมสัมพันธ์ของข้อมูลแต่ละที่อยู่ในโฟลเดอร์ด้วย กล่ำวคือ ข้อมูลที่มีควำมสัมพันธ์
กันควรจัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์เดียวกัน
ชนิดของไฟล์
เรำสำมำรถแบ่งไฟล์ออกเป็น 2 ชนิด
1. โปรแกรมไฟล์ (Program File)
เป็นไฟล์ที่ใช้เก็บโปรแกรมทุกชนิด ตั้งแต่โปรแกรมของระบบ(System Program) ตลอด
จนถึงโปรแกรมประยุกต์ต่ำง ๆ (Application Program)
2. ดำตำไฟล์ (Data File)
เป็นไฟล์ที่ใช้เก็บข้อมูลทุกชนิด หรือกล่ำวได้ว่ำเก็บข้อมูลที่จะใช้ ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็
จัดเก็บดำตำไฟล์ที่มีรูปแบบต่ำงกัน ทำให้กำรเรียกใช้ข้อมูลข้ำมโปรแกรมกันไม่ได้ โดยดำตำไฟล์
สำมำรถแบ่งเป็นประเภทย่อย ๆ ตำมประเภทของข้อมูลที่จัดเก็บ เช่น
 Configuration File เป็นไฟล์เก็บคุณสมบัติหรือตัวเลือกต่ำงๆ ในโปรแกรม ถ้ำถูก
ลบอำจเสียหำยต่อโปรแกรมนั้น ๆ
 Text File เป็นไฟล์ข้อควำมซึ่งประกอบด้วยอักขระ ตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษ
ต่ำง ๆ
 Graphics File เป็นไฟล์ข้อมูลรูปภำพทั้งสีและขำวดำ ข้อมูลที่เก็บเป็นรูปแบบ
เฉพำะ
 Database File เป็นที่เก็บข้อมูลในรูปแบบที่โปรแกรมฐำนข้อมูลเรียกใช้ได้
 Sound File เป็นที่เก็บรหัสแทนเสียงในรูปแบบดิจิตอล
 Backup File เป็นไฟล์ที่ใช้สำรองข้อมูลที่สำคัญ เพื่อนำกลับมำใช้ใหม่ได้เมื่อไฟล์
ต้นฉบับเสีย
การกาหนดชื่อไฟล์
กำรตั้งชื่อไฟล์เป็นประโยชน์ต่อกำรอ้ำงอิงของระบบปฏิบัติกำรในกำรจัดกำรไฟล์นั้น ๆ
ชื่อไฟล์ควรสื่อควำมหมำยกับข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในไฟล์นั้น ๆ โดยทั่วไปแล้วกำรตั้งชื่อไฟล์นิยมใช้
ตัวอักษรอีก 3 ตัวเป็นเป็นส่วนขยำย(Extension) หรือเรียกว่ำนำมสกุลของไฟล์แยกออกจำกชื่อด้วย
เครื่องหมำยจุด ส่วนขยำยนี้จะช่วยแยกแยะประเภทข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ไฟล์ได้อีกด้วย
ตัวอย่างการตั้งชื่อและ Extension
ข้อมูล โปรแกรม ชื่อ และ Extension
คะแนนสอบ MS-Excel Mark.xls
ข้อสอบ MS-Word Exam.doc
เสนอผลงำนกำรขำย MS-PowerPoint Sale.ppt
รูปถ่ำย MS-Photoshop Pic001.jpg
ชนิดของไฟล์ในการประมวลผลข้อมูล
ในกำรประมวลผลข้อมูลส่วนมำก ไฟล์ที่เก็บข้อมูลจะถูกแบ่งแยกประเภทตำมงำนที่ใช้ซึ่ง
สำมำรถแบ่งได้เป็นห้ำประเภทคือ ดังต่อไปนี้
1. ไฟล์รำยกำรหลัก (Master File) ใช้เก็บข้อมูลหลัก ๆ ที่ไม่ค่อยมีกำรเปลี่ยนแปลงข้อมูล
มำกนัก เช่น ไฟล์ข้อมูลประวัติลูกค้ำ, ไฟล์ข้อมูลประวัตินิสิต เป็นต้น
2. ไฟล์รำยกำรเปลี่ยนแปลง (Transaction File) ใช้เก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นในระยะเวลำใดเวลำ
หนึ่ง เปลี่ยนแปลงข้อมูลบ่อยครั้ง ใช้ในกำรประมวลผล 2 แบบ คือ
Batch Processing กำรประมวลผลแบบกลุ่ม เป็นกำรประมวลผลโดยใช้
ข้อมูลในไฟล์รำยกำรเปลี่ยนแปลงที่มีกำรสะสมข้อมูลไว้แล้วมำประมวลผลร่วมกับ
ไฟล์รำยกำรหลัก มักจะใช้เวลำในกำรประมวลผลนำน และมีปริมำณข้อมูลในกำร
ประมวลมำก ในกำรประมวลผลข้อมูลแบบนี้นิยมใช้กับงำนประมวลผลที่ไม่ได้
ต้องกำรผลลัพธ์ของข้อมูลในลักษณะทันทีทันใด เช่น งำนประมวลผลข้อมูลใบแจ้ง
หนี้ค่ำน้ำ ใบแจ้งหนี้ค่ำโทรศัพท์เป็นต้น
Real-Time Processing กำรประมวลผลแบบทันที งำนที่ใช้ในกำร
ประมวลผลแบบนี้จะเป็นงำนที่ต้องกำรผลลัพธ์แบบทันทีทันใด และจะใช้เวลำในกำร
ประมวลผลไม่มำกนัก โดยมีปริมำณข้อมูลที่มำใช้ในกำรประมวลไม่มำก และไม่
ซับซ้อน โดยมีกำรแก้ไขข้อมูลในไฟล์รำยกำรหลักแบบทันที และในงำนประมวลผล
แบบนี้ มักจะต้องมีกำรออกแบบให้จัดเก็บข้อมูลที่นำมำใช้ในกำรประมวลผลลงใน
ไฟล์รำยกำรเปลี่ยนแปลง เพื่อสำมำรถนำมำใช้อ้ำงอิงและตรวจสอบได้เมื่อมีปัญหำ
เกิดขึ้น เช่น กำรทำรำยกำรเบิกถอนเงินที่ตู้ATM เป็นต้น
3. ไฟล์รำยงำน (Report File) ไฟล์ที่จัดเก็บข้อมูลและรูปแบบรำยงำนที่ได้จำกโปรแกรม
ประยุกต์
4. ไฟล์เก็บผลลัพธ์ (Output File) ไฟล์ที่จัดเก็บผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรรับข้อมูลเข้ำและผ่ำน
กำรประมวลผล ได้ผลลัพธ์เป็นข้อมูลใหม่ออกมำ
5. ไฟล์สำรอง (Backup File) ใช้เก็บสำรองข้อมูลที่สำคัญ สำมำรถนำมำใช้แทนไฟล์
ต้นฉบับได้เมื่อไฟล์ต้นฉบับเกิดควำมเสียหำย
ปัญหาของระบบการจัดการข้อมูลแบบไฟล์
กำรจัดกำรข้อมูลแบบไฟล์ ข้อมูลที่จัดเก็บไว้จะอยู่ในรูปแฟ้ มข้อมูลอิสระ ซึ่งระบบงำนต่
ละระบบจะสร้ำงแฟ้ มข้อมูลของตนเองขึ้นมำ โดยแต่ละระบบจะจัดเก็บแฟ้ มแบบไม่เกี่ยวข้องวัม
พันธ์กัน หน่วยงำนแต่ละหน่วยงำนมีระบบแฟ้มข้อมูลเป็นของตนเอง โดยออกแบบโครงสร้ำงของ
แฟ้มข้อมูลให้เหมำะสมกับระบบงำนของตนเอง ดังนั้นแฟ้มข้อมูลที่สร้ำงขึ้นในแต่ละหน่วยงำนจึง
มีกำรเก็บข้อมูลเดียวกันในรูปแบบที่แตกต่ำงกัน ดังรูป
การประมวลผลด้วยระบบไฟล์
จำกรูป จะเห็นได้ว่ำหน่วยงำนแต่ละหน่วยงำนมักมีกำรจัดเก็บข้อมูล A เหมือนกันไว้ในที่
ต่ำงกัน แฟ้ม A ในที่นี้คือแฟ้มข้อมูลพนักงำน โดยกำรเรียกใช้ข้อมูลจะต้องผ่ำนโปรแกรมประยุกต์
เฉพำะของหน่วยงำนของตนเองที่สร้ำงขึ้นมำเท่ำนั้น ทำให้ข้อมูลจะต้องผ่ำนโปรแกรมประยุกต์
เฉพำะหน่วยงำนของตนเอง ที่สร้ำงขึ้นมำเท่ำนั้น ทำให้ข้อมูลในองค์กรมีควำมซ้ำซ้อนกัน กระจัด
กระจำย ยำกต่อกำรปรับปรุงแก้ไขหรือบำรุงรักษำ บำงครั้งอำจก่อให้เกิดควำมสับสน เนื่องจำก
ข้อมูลขัดแย้งกัน ดังนั้นสำมำรถสรุปปัญหำที่เกิดขึ้นของระบบจัดกำรข้อมูลแบบไฟล์ดังนี้
 ข้อมูลเกิดควำมซ้ำซ้อน (Data Redundancy)
 ลำบำกต่อกำรแก้ไข (Update Difficulties)
 กำรผูกติดกับข้อมูล (Data Dependence)
 กำรกระจัดกระจำยของข้อมูล (Data Dispersion)
 กำรไม่สำมำรถใช้ประโยชน์จำกข้อมูล (Underutilization of Data)
USE
R
Application
Program 1
Application
Program 2
Application
Program 3
Personal
Department
USER 1
Personal
Department
USER 2
Personal
Department
USER 3
A B C D
A B D E
A B E F
ระบบฐำนข้อมูล (Data Base System)
ฐำนข้อมูล หมำยถึง กำรเก็บข้อมูลของผู้ใช้และสำมำรถนำข้อมูลมำใช้งำนร่วมกันได้โดย
ไม่มีกำรซ้ำซ้อนของข้อมูล หรือควำมขัดแย้งของข้อมูล ซึ่งสำมำรถแสดงลำดับขั้นในกำรเกิด
ฐำนข้อมูลได้ดังรูป
จำกรูป ฐำนข้อมูลเกิดจำกบิต (Bit) หรือเลขฐำนสองมำรวมกัน 8 บิต รวมเป็นไบต์(Byte)
หลำย ๆ ไบต์รวมกันเรียกว่ำฟิลด์(Field) หลำย ๆ ฟิลด์รวมกันเรียกว่ำ เรคคอร์ด(Record) หลำย ๆ
เรคคอร์ดรวมกันเรียกว่ำไฟล์(File) และหลำย ๆ ไฟล์รวมกันเรียกว่ำ ฐำนข้อมูล (Database)
ตำมลำดับ
แนวความคิดของฐานข้อมูล
จำกปัญหำต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นจำกกำรจัดกำรข้อมูลแบบไฟล์ ทำให้เกิดแนวคิดในกำรจัดกำร
ข้อมูลแบบใหม่ ซึ่งแนวคิดเบื้องต้นของฐำนข้อมูลคือกำรนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันมำ
จัดเก็บลงในที่เดียวกัน โดยฐำนข้อมูลดังกล่ำวจะถูกควบคุมโดยซอฟต์แวร์ชุดหนึ่ง แทนที่จะใช้งำน
แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่กระจัดกระจำยและมีกำรดูแลโดยผู้ใช้กลุ่มต่ำง ๆ กัน เป้ำหมำยสูงสุดของ
Field
Record
File
Database
Byte 01000010
นำยต่อศักดิ์ รักไทย
401021099 นำยต่อศักดิ์ รักไทย CP101 B+
401021097 นำยต่อศักดิ์ รักไทย CP101 B+
401021098 นางสาวแก้วตา สุดใจ CP101 A
401021099 นายดารงค์ อยู่ดี CP101 C+
Course File Student History
แนวควำมคิดเกี่ยวกับฐำนข้อมูลคือกำรที่ข้อมูลแต่ละชุดถูกป้ อนและจัดเก็บเพียงครั้งเดียว ผู้ใช้ที่
ได้รับสิทธิ์เท่ำนั้นที่จะสำมำรถเรียกใช้ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บได้อย่ำงสะดวกและรวดเร็ว รวมทั้งกำรที่
ข้อมูลเป็นอิสระจำกโปรแกรมประยุกต์เฉพำะกิจใด ๆ โดยกำรบริหำรฐำนข้อมูลเรำจะอำศัย
ซอฟต์แวร์ที่เรียกว่ำ ระบบบริหำรจัดกำรฐำนข้อมูล ( DBMS : Database Management System) เป็น
ตัวกลำงในกำรเชื่อมต่อระหว่ำง โปรแกรมกับฐำนข้อมูลดังรูป
การประมวลผลด้วย Database
เป้ าหมายของการใช้ระบบฐานข้อมูล
 ลดควำมซ้ำซ้อน
 ใช้ข้อมูลร่วมกัน
 กำรใช้และกำรเปลี่ยนแปลงข้อมูลสะดวก และถูกต้อง
 ลดค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดเก็บและเรียกใช้
 ให้ควำมปลอดภัย
 เกิดมำตรฐำนในกำรใช้งำน
USE
R
Application
Program 1
Application
Program 2
Application
Program 3
Personal
Department
USER 1
Personal
Department
USER 2
Personal
Department
USER 3
Database
Management
System
(DBMS)
A
E F G
B C D
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
สถำปัตยกรรมของระบบฐำนข้อมูลแบ่งได้เป็นระดับ 3 ระดับ
1) ระดับภำยนอก (External Level) หรือระดับวิว (View Level) เป็นมุมมองของผู้ใช้
ฐำนข้อมูลแต่ละคน จะสนใจเฉพำะส่วนกำรนำข้อมูลเข้ำ-ออกเท่ำนั้น จึงต้องกำร
นำข้อมูลอะไรบ้ำงและข้อมูลที่จะนำออกมำแสดงเช่นรำยงำนต่ำง ๆ
2) ระดับแนวคิด (Conceptual Level) หรือระดับตรรกะ(Logical Level) เป็นมุมมอง
โครงสร้ำงของฐำนข้อมูลทั้งในระบบในลักษณะของแนวควำมคิด
3) ระดับกำยภำพ (Physical Level) เป็นมุมมองในระดับของกำรจัดเก็บข้อมูลใน
ฐำนข้อมูล ในส่วนนี้เป็นหน้ำที่ของระบบกำรจัดกำรฐำนข้อมูลที่จะเชื่อมกำร
ทำงำนกับระบบปฏิบัติกำร
แบบจาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (The Relational Database Model)
แบบจำลองฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นแบบจำลองที่ได้รับควำมนิยมใช้สูงสุดในปัจจุบัน
โดยโครงสร้ำงกำรจัดเก็บข้อมูลอยู่ในรูปของตำรำง ซึ่งประกอบด้วยแถวและหลักที่สัมพันธ์กัน
ข้อมูลในแต่ละแถวเรียก เรคคอร์ด (Record) และข้อมูลในแต่ละหลักเรียกว่ำ ฟิล์ด (Field) แสดงได้
ดังรูป
Personal
Department Marketing
Department
Finance
Department
DBMS
Database
EEMMPPLLOO
YY
EEEE
SSAALLEESS
MM
AA
NN
CCUUSSTTOO
MM
EE
RR
PPAAYYRROO
LLLL
External Level
(individual user view)
Conceptual Level
(community user view)
Internal Level
(storage view)
Table (Relation)
Student
ID NAME ADDRESS TEL ADVISOR
431021001 นำยสรศักดิ์ ไทยแท้ 40/265 บำงรัก 0-2441-0036 T001
431021002 น.ส.วรำงคณำ เงิน
แก้ว
465 ทุ่งสองห้อง กทม. 0-2236-0123 T001
431021003 นำงสุนิตำ สุวรรณ
ฉำย
53/9 บำงซื่อ กทม. 0-2424-5000 T002
431021004 น.ส.สมฤทัย รำษฎร
ดี
1234-9 ยำนำวำ กทม. 0-9555-4000 T002
431021005 น ำย พั ฒ น พ ง ษ์
โอภำส
1347 ลำดกระบัง กทม. 0-1942-0903 T003
Instructor
ID NAME TEL
T001 น.ส. พรทิพย์ สุขใจ 0-2447-9652
T002 นำยอดุลย์ โสรมรรค 0-1884-5621
T003 นำยสุกิจ มงคลสวัสดิ์ 0-2336-6546
ระบบบริหำรจัดกำรฐำนข้อมูล
ระบบบริหำรจัดกำรฐำนข้อมูล หรือที่นิยมเรียกว่ำ ดีบีเอ็มเอส (DBMS) คือชุดของ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้ำที่สร้ำง ดูแลรักษำ และใช้งำนส่วนต่ำงๆ ของฐำนข้อมูล และเป็น
ตัวกลำงในกำรติดต่อระหว่ำงโปรแกรมประยุกต์กับฐำนข้อมูลให้สำมำรถใช้งำนร่วมกันได้ดังรูป
Columns (Fields)
Row (Records)
USER/PROGRAMMERS
โดยมีผู้บริหำรฐำนข้อมูลหรือ DBA (Database Administrator) จะเป็นผู้ดูแลควบคุมกำรใช้
งำน ตัวอย่ำงระบบบริหำรจัดกำรฐำนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ Ingress, Oracle, Informix,
Sybase, Access, Dbase, FoxBase และ Btrive เป็นต้น ในกำรเรียกใช้ เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง
แก้ไขข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในฐำนข้อมูลต้องอำศัยภำษำในกำรติดต่อกับ DBMS เพื่อนำดำเนินวิธี
ดังกล่ำวดังนี้
1. เชื่อมโยงกับภำษำกำรโปรแกรม (Programming Language Interfaces) นิยมใช้วิธีนี้ใน
กำรเขียนโปรแกรมที่ต้องมีกำรเรียกใช้หรือแก้ไขค่ำของข้อมูลในฐำนข้อมูลตลอดจนกำรสร้ำง
Application Program/Queries
Software to processes
Queries/Programs
Software to Access Stored Data
Database
DefinitionDisk Storage
Data Files
DBMS
Software
Database
System
รำยงำนที่มีกำรคำนวณซ้ำซ้อน อำจใช้ภำษำ โคบอล (COBOL) ภำษำซี หรือภำษำในระดับสูง ใน
กำรเชื่อมต่อเข้ำกับฐำนข้อมูล
2. ภำษำในกำรจัดกำรข้อมูล (Query Language) เป็นภำษำที่ถูกออกแบบมำโดยเฉพำะให้
ใช้กับฐำนข้อมูล นิยมใช้กันมำกในปัจจุบัน เพรำะใช้ง่ำยและเรียกดูข้อมูลได้อย่ำงรวดเร็ว จัดเป็น
ภำษำในยุคที่สี่ ไม่ต้องมีกำรแปลภำษำหรือเชื่อมโยงก่อนกำรใช้งำน
3. ตัวสร้ำงรำยงำน (Report Generator) เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมำให้สำมำรถจัดทำ
รำยงำนโดยนำข้อมูลจำกฐำนข้อมูลมำจัดทำรำยงำนและสำมำรถทำกำรออกแบบรูปแบบรำยงำนได้
ง่ำย สะดวก และรวดเร็ว
4. โปรแกรมอรรถประโยชน์ของระบบ (System utilities) จะเป็นโปรแกรมที่ถูกใช้งำนโดย
ผู้บริหำรฐำนข้อมูลหรือ DBA โปรแกรมประเภทนี้จะใช้สำหรับกำรเก็บสำรองฐำนข้อมูล กำรเรียก
ข้อมูลหรือจัดเก็บข้อมูลลงในฐำนข้อมูล และกำรกู้คืนฐำนข้อมูล (Restore)
ภาษาในการจัดการข้อมูล
ภำษำในกำรจัดกำรข้อมูลจำแนกเป็น 2 ประเภทคือ
1. ภาษาอธิบายข้อมูล (Data Definition Language : DDL)
เป็นภำษำที่ใช้ในกำรอธิบำยโครงสร้ำง (Schema) ของข้อมูลที่เก็บอยู่ในฐำนข้อมูล
2. ภาษาสาหรับการดาเนินงานข้อมูล (Data Manipulation Language : DML)
เป็นภำษำที่ใช้ในกำรจัดกำรกับข้อมูลที่อยู่ในฐำนข้อมูลตั้งแต่กำรเรียกดู จนถึงกำรแก้ไข
เปลี่ยนแปลง ภำษำที่นิยมมำกที่สุดคือ SQL (Structure Query Language) ซึ่งมีกำรใช้งำนอย่ำง
กว้ำงขวำง
ตัวอย่าง การใช้ SQL
INSER INTO Faculty VALUE (‘101’, ‘คณะวิทยำศำสตร์’);
ความหมาย ให้ใส่ข้อมูล 2 ตัวคือ 101 และ คณะวิทยาศาสตร์ ลงในตาราง Faculty
DELETE faculty WHERE fac_name = ‘คณะมนุษย์ศำสตร์’;
ความหมาย ให้ลบข้อมูลในตาราง faculty ที่มี fac_name เป็นคณะมนุษย์ศาสตร์
SELECT fac_name FROM faculty;
ควำมหมำย เลือกข้อมูล fac_name จำกตำรำง faculty มำแสดง
โครงสร้างของระบบจัดการฐานข้อมูล
โครงสร้ำงของระบบจัดกำรฐำนข้อมูลจำแนกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ระบบฐำนข้อมูลศูนย์กลำง (Central database system)
เป็นลักษณะที่ฐำนข้อมูลและระบบจัดกำรฐำนข้อมูลอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว
หรือ Site เดียวกันเท่ำนั้น ดังรูป
2. ระบบฐำนข้อมูลแบบกระจำย (Distributed Database System)
เป็นลักษณะที่ฐำนข้อมูลและ DBMS จัดเก็บอยู่บนเครื่องหลำยเครื่อง หรือ Site ต่ำงกัน
(หรือเรียกว่ำโหนด-node) ซึ่งจะทำกำรเชื่อมโยงถึงกันผ่ำนระบบกำรสื่อสำร ดังรูป สำมำรถเลือก
ตัดสินใจได้ว่ำควรเลือกข้อมูลจำก site ใด และสำมำรถฟื้นฟูได้เมื่อมีปัญหำ ซึ่งเหมำสำหรับข้อมูล
บำงประเภทที่ต้องมีกำรเก็บไว้อย่ำงกระจำยอย่ำงข้อมูลกำรเงินของธนำคำรต่ำงสำขำแต่หลำย ๆ
สำขำก็คือธนำคำรแห่งเดียวกันเป็นต้น ทำให้สำมำรถใช้ข้อมูลร่วมกันได้และเพิ่มประสิทธิภำพใน
กำรทำงำนได้อย่ำงดี ระบบงำนที่เหมำะสำหรับกำรใช้ฐำนข้อมูลแบบกระจำย ได้แก่ ระบบกำรเบิก
ถอนเงินจำกธนำคำร ระบบกำรซื้อขำยจองสำยกำรบิน ระบบบัตรเครดิตของสถำบันกำรเงิน
เป็นต้น
เครือข่ำยสื่อสำร
Application
Process
Application
Process
Data Process
Application
Process
Data Process
Site 3
เครือข่ำยสื่อสำร
Application
Process
Site 1
Site 1
Application
Process
Data Process
Site 2
บรรณำนุกรม
ชนำกรณ์ กุณฑลบุตร.คอมพิวเตอร์เพื่อกำรจัดกำร.กรุงเทพมหำนคร:จุฬำลงกรณ์
มหำวิทยำลัย,ม.ป.ป.
www.google.com
หน่วยที่ 4
เรื่อง ระบบปฏิบัติกำรและโปรแกรมประยุกต์ใช้งำน
1.ระบบปฏิบัติการ (Operation System)
ระบบปฏิบัติกำร หมำยถึง ชุดของโปรแกรมที่อยู่ระหว่ำงฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์
มีหน้ำที่ในกำรควบคุมกำรปฏิบัติงำนของฮำร์ดแวร์ และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมกำรทำงำน
ของฮำร์ดแวร์ให้กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ ตัวอย่ำงเช่น MS-DOS , UNIX , Windows ,Mac OS และ
Linux เป็นต้น ระบบปฏิบัติกำรมีหน้ำที่หลัก ๆ คือ
 ควบคุมและจัดกำรกำรดำเนินงำนของทรัพยำกรในระบบ เช่น ซีพียู หน่วยควำมจำ
โปรแกรมที่เข้ำมำทำงำนในระบบ ไฟล์ต่ำง ๆ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้ำ-ออก
 จัดกำรงำนในส่วนของกำรติดต่อกับผู้ใช้
 ระบบปฏิบัติกำรบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
จัดกำรระบบสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว ใช้งำนได้ง่ำย ผู้ใช้ต้องเลือกใช้โปรแกรมประยุกต์ที่
พัฒนำสำหรับใช้สำหรับระบบปฎิบัติกำรนั้น ตัวอย่ำงเช่น DOS , Windows ,Mac OS และ Linux ใน
ยุคใหม่มีกำรพัฒนำโปรแกรมแบบแพลตฟอร์มฟรี คือ ไม่ผูกติดกับระบบฮำร์ดแวร์และระบบ
ปฎิบัติกำรทำให้ผู้พัฒนำโปรแกรมทำงำนง่ำยขึ้นไม่ต้องเขียนโปรแกรมงำนเดียวกันหลำยชุด
สำหรับหลำยแพลตฟอร์ม เช่น เปรียบเทียบระหว่ำง DOS กับ Windows
 ระบบปฏิบัติกำรดอส (DOS : Disk Operating System)
ลักษณะกำรติดต่อกับผู้ใช้เป็นบรรทัดของตัวอักษรและผู้ใช้ต้องพิมพ์คำสั่งเป็นรำย
บรรทัด Windows OS สนับสนุนกำรทำงำนของ DOS ตัวอย่ำงคำสั่ง DIR ,RENAME ,COPY, DELETE,
MKDIR, CLS
 ระบบปฏิบัติวินโดวส์ (Windows OS)
เป็นระบบปฏิบัติกำร ที่ได้รับกำรพัฒนำโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เพื่อใช้สำหรับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์หลักกำรทำงำนของวินโดวส์เป็นแบบ Multitasking
ติดต่อกับผู้ใช้แบบกรำฟฟิก (Graphical User Interface : GUI) มีลักษณะใช้งำนง่ำย (User
Friendly)ใช้เมำส์ช่วยในกำรเลือกคำสั่ง ผู้ใช้ไม่ต้องจำรูปแบบคำสั่งมำก ไม่ต้องพิมพ์มำก
 ระบบปฏิบัติกำรเครือข่ำย (Network Operating System หรือ NOS)
เป็นระบบปฏิบัติกำรที่ได้รับกำรออกแบบและพัฒนำมำเพื่อให้เกิดกำรติดต่อสื่อสำร
ระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ และช่วยให้เกิดกำรใช้ทรัพยำกรร่วมกันได้ทั้ง
-ซอฟต์แวร์
-ฮำร์ดแวร์ เช่นเครื่องพิมพ์ฮำร์ดดิสก์
-ข้อมูล เช่น ฐำนข้อมูล หรือไฟล์
โดยใช้หลักกำรของไคลแอน/เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server)
 ระบบปฏิบัติกำรบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่
สำมำรถรองรับกำรทำงำนหลำยงำน ณ เวลำเดียวกัน (Multitasking) จำกผู้ใช้หลำยคน
(Multi User) ได้พร้อมกัน และมีระบบรักษำควำมปลอดภัยสูง
ตัวอย่ำง ซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติกำร
Note:CE (Consumer Electronic)
ซอฟต์แวร์สาหรับการพัฒนาโปรแกรม (Translator)
ทำหน้ำที่กำรแปลภำษำคอมพิวเตอร์เป็นภำษำเครื่อง
 แอสแซมเบลอ (Assembler) แปลโปรแกรมภำษำแอสแซมบลี
 คอมไพเลอร์ (Compiler) แปลโปรแกรมภำษำระดับสูงเป็นโปรแกรมภำษำเครื่อง
 อินเทอพรีเตอร์ (Interpreter) ใช้กำรแปลและดำเนินกำรทีละคำสั่ง
คอมไพเลอร์แปลโปรแกรมทาได้หลายแบบ
ประเภท DOS WINDOWS UNIX LINUX
PcDOs Ver. 95 A/UX OpenLinux
MsDos Ver. 98 AIX Red Hat
DRDos Ver. 2000 BSD/OS TimeSys
CP/M NT SCO-Unix SuSE DVD
APPLE Dos Macintosh SunOS
WindowsCE Tru64
สิ
น
ค้
า
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม
คอม

More Related Content

What's hot

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnatdanai phetdeethon
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศโครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศPichamon Wongsurapinant
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Meaw Sukee
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลkamolphan_sri
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slidejune006
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมwarunya mobmit
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 

What's hot (20)

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศโครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slide
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

Similar to คอม

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnitszy151
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ kiwikiiwii
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์fonnoii
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานwalairat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์wanuporn12345
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นbigman27skydrive
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 

Similar to คอม (20)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแผ่ความรู้ออนไลน์
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

คอม

  • 1. เรื่อง...คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นำงสำวธิดำพร อ้วนคำ ชั้นม.6/5 เลขที่14 เสนอ คุณครูประกำศิต ศรีสะอำด รำยงำนเล่มนี่เป็นส่วนหนึ่งของกำรศึกษำวิชำ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสำรสนเทศธุรกิจ ภำคเรียนที่2/2561
  • 2. คำนำ เอกสำรเล่มนี้เป็ นเป็ นเนื้อหำของรำยวิชำเทคโนโลยีสำรสนเทศ 3901-1001 โดยมี เนื้อหำเกี่ยวกับกำรใช้เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันไม่ว่ำจะเป็ นเรื่องควำมรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีสำรสนเทศ รูปแบบของข้อมูล กำรรับกำรส่งข้อมูล กำรวิเครำะห์ข้อมูลและกำรจัดกำร ข้อมูล ระบบปฏิบัติกำรและโปรแกรมประยุกต์ใช้งำน ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต ในปัจจุบันคงจะปฏิเสธไม่ได้ว่ำเทคโนโลยีสำรสนเทศได้เข้ำมำเป็ นส่วนหนึ่งของกำรดำเนิน ชีวิตประจำวันไปแล้ว ไม่ว่ำจะหันไปทำงใดก็เห็นแต่เรื่องของไอที ธิดำพร อ้วนคำ
  • 3. เรื่อง ควำมรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสำรสนเทศ 1. เทคโนโลยีสำรสนเทศ หรือไอที (Information Technology :IT) ควำมก้ำวหน้ำทำงด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมีผลต่อควำมเป็นอยู่ของมนุษย์ใน ยุคปัจจุบันเป็นอย่ำงมำก เทคโนโลยีได้เข้ำมำเสริมปัจจัยพื้นฐำนกำรดำรงชีวิตในเรื่องปัจจัยสี่ และ ยังมีผลต่อกำรติดต่อสื่อสำรของมนุษย์ให้เป็นไปได้อย่ำงสะดวกมำกขึ้น คำว่ำเทคโนโลยี หมำยถึง กำรประยุกต์เอำควำมรู้ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์มำใช้ให้ เกิดประโยชน์ กำรศึกษำพัฒนำองค์ควำมรู้ต่ำง ๆ ก็เพื่อให้เข้ำใจธรรมชำติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่ำง ๆ และหำทำงนำมำประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้ำที่มีควำมหมำยกว้ำงไกล เป็นคำที่ เรำได้พบเห็นและได้ยินอยู่ตลอดมำ ส่วนคำว่ำ สำรสนเทศ หมำยถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ต่อกำรดำเนินชีวิตของมนุษย์มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิดมำได้เรียนรู้สิ่งต่ำง ๆ เป็นจำนวนมำก เรียนรู้ สภำพสังคมควำมเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และวิชำกำร เมื่อรวมคำว่ำเทคโนโลยีกับสำรสนเทศเข้ำด้วยกัน จึงหมำยถึงเทคโนโลยีที่ใช้จัดกำรสำรสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่กำรรวบรวมกำร จัดเก็บข้อมูล กำรประมวลผล กำรพิมพ์ กำรสร้ำงรำยงำน กำรสื่อสำรข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยี สำรสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบกำรให้บริกำร กำรใช้และกำรดูแลข้อมูล ในปัจจุบันเทคโนโลยีสำรสนเทศได้เข้ำมำมีบทบำทในชีวิตประจำวันเป็นอย่ำงมำก ไม่ว่ำ จะเป็ นเทคโนโลยีในกำรผลิตหรือจัดกำรสำรสนเทศ โดยเฉพำะที่สำคัญยิ่งคือกำรนำเอำ คอมพิวเตอร์มำประยุกต์ใช้งำนทำงด้ำนสำรสนเทศ หรือว่ำจะเป็นเทคโนโลยีในกำรนำสำรสนเทศ ไปสู่ผู้ใช้สำรสนเทศหรือกลุ่มเป้ ำหมำยในระยะเวลำอันรวดเร็ว เช่นเทคโนโลยีกำรสื่อสำรสำร ข้อมูล หรือเทคโนโลยีกำรสื่อสำรโทรคมนำคม (Telecommunication) ในปัจจุบันที่สำคัญเช่น อินเทอร์เน็ต เป็นต้น 2. สถำนภำพกำรใช้ไอทีในปัจจุบัน โดยพื้นฐำนของเทคโนโลยีย่อมมีประโยชน์ต่อกำรพัฒนำ เจริญก้ำวหน้ำได้ แต่เทคโนโลยี สำรสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีควำมเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มำก กำรใช้ไอทีในปัจจุบัน มักเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ไม่ว่ำจะเป็นกำรใช้งำนทั่ว ๆ ไปอย่ำงกำรจัดเอกสำรโดย อำศัยซอฟต์แวร์ที่มีประสิทธิภำพ กำรสื่อสำรผ่ำนคอมพิวเตอร์เครือข่ำยหรืออินเทอร์เน็ต กำรใช้ระบบงำนคอมพิวเตอร์เพื่อกำรเพิ่มประสิทธิภำพในกำรปฏิบัติงำนและทำให้เกิด ระบบสำรสนเทศสำหรับกำรวำงแผนและตัดสินใจ ผลของเทคโนโลยีสำรสนเทศโดยสรุปได้ดังนี้  เสริมสร้ำงคุณภำพชีวิต  กระจำยควำมเท่ำเทียมกันของมนุษย์ในด้ำนกำรรับรู้ข้อมูลข่ำวสำร
  • 4.  ส่งเสริมกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ที่ไม่จำกัดอยู่ในสถำนศึกษำ ส่งเสริมด้ำนพำนิชยกรรม อุตสำหกรรมฯลฯ 3. ไอทีและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง เทคโนโลยีสำรสนเทศหรือไอที (Information Technology – IT) หมำยถึงกำรประยุคใช้ เทคโนโลยีให้สอดคล้องกับกำรสื่อสำรให้เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพมำกที่สุด ข้อมูล (Data) หมำยถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นข้อเท็จจริงต่ำง ๆ มำกมำยในระบบกำรทำงำนของ เรำ สำรสนเทศ (Information) คือข้อมูลที่ผ่ำนกำรประมวลผลแล้ว สำมำรถนำไปใช้ ประโยชน์หรือนำกลับมำเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในกำรประมวลผลขั้นต่อไป ระบบสำรสนเทศ(Information System-IS) หมำยถึง ระบบงำนคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุน กำรปฏิบัติงำนและทำให้เกิดสำรสนเทศที่เป็นประโยชน์ ซึ่งแบ่งระบบสำรสนเทศออกได้หลำย ระดับ คือ  ระบบประมวลผลรำยกำร (TP หรือ DP) เป็นระบบที่ถูกใช้ดำเนินกำรกับข้อมูลที่ เกิดขึ้นเป็นรำยกำรประจำมีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ  ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำร (Management Information System –MIS) เป็นระบบที่มีส่วนช่วยในกำรประมวลผลลัพธ์ที่เป็นกำรสรุป อันนำไปสู่ ประโยชน์ในกำรบริหำรจัดกำร  ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ (Decision Support System - DSS) เป็นระบบที่มี ส่วนช่วยในกำรตัดสินใจของผู้บริหำรด้วยกำรเสนอทำงเลือกให้  ระบบสำรสนเทศสำหรับผู้บริหำรระดับสูง (Executive Information System – EIS) เป็นระบบสำรสนเทศที่เหมำะสำหรับผู้บริหำรระดับสูงใช้ในกำรวำงแผน หรือดำเนินกลยุทธ์เพื่อให้องค์กรบรรลุเป้ำหมำย
  • 5. ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสำรสนเทศ ข้อมูล (Data) หมำยถึง ข้อเท็จจริงที่ได้ ยังไม่ผ่ำนกำรประมวลผลใด ๆ มำก่อน เป็น องค์ประกอบที่สำคัญอย่ำงยิ่งต่อองค์กรใด ๆ เพื่อนำมำใช้ในกำรสร้ำงสำรสนเทศที่ต้องกำร สำรสนเทศ (Information) หมำยถึง ข่ำวสำรที่ได้จำกกำรนำข้อมูลดิบ (raw data) มำคำนวณ ทำงสถิติหรือประมวลผลอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ซึ่งข่ำวสำรที่ได้นั้นจะมีอยู่ในรูปที่สำมำรถนำไปใช้งำน ได้ทันที สำรสนเทศที่มีคุณภำพ ควรมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้  ทันต่อเวลำเมื่อต้องกำรเรียกใช้  อยู่ในรูปแบบที่ดูง่ำย และสื่อควำมหมำย  มีประโยชน์และตรงตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้  มีควำมถูกต้องเชื่อถือได้  คุ้มค่ำแก่กำรนำไปใช้ เทคโนโลยีสำรสนเทศ (Information Technology) หมำยถึง กระบวนกำรต่ำง ๆ และ ระบบงำนที่ช่วยให้ได้สำรสนเทศที่ต้องกำร โดยหมำยรวมถึง เครื่องมือ อุปกรณ์ต่ำง ๆ ตลอดจน กระบวนกำรในกำรนำอุปกรณ์และเครื่องมือนั้น ๆ มำใช้งำนเพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และ แสดงผลลัพธ์เป็นสำรสนเทศในรูปแบบต่ำง ๆ ที่สำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป ในปัจจุบันโลกแห่งเทคโนโลยีสำรสนเทศไม่ได้จำกัดอยู่ในวงแคบอีกต่อไป ชีวิตประจำวัน ของเรำเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอยู่เสมอ ตัวอย่ำงของงำนปัจจุบันที่อำศัยสำรสนเทศได้แก่  ระบบสำนักงำนอัตโนมัติ (Office Automation)  กำรประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Data processing)  ระบบสำรสนเทศ (Information System)  อินเทอร์เน็ต (Internet) & อินทรำเน็ต (Internet)  เทคโนโลยีสื่อประสม (Multimedia)  ระบบกำรเรียนกำรสอนทำงไกล (Distance Learning)  Mobile Computin
  • 6. ระบบสำรสนเทศสำหรับองค์กร 1. ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems: DP) ระบบประมวลผลข้อมูล หรือบำงครั้งเรียกว่ำ ระบบประมวลผลรำยกำรประจำ (Transaction Processing Systems: TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นกำรนำคอมพิวเตอร์มำใช้ในกำรจัดกำรข้อมูลขั้นพื้นฐำน โดยเน้นที่ กำรประมวลผลรำยกำรประจำ และเก็บรักษำข้อมูล เช่น กำรจัดซื้อวัตถุดิบ ยอดสั่งซื้อสินค้ำ ยอดขำย กำรส่งของ กำรจอง ลงทะเบียน กำรออกใบแจ้งรำยกำรสินค้ำ ตัวอย่างระบบฝาก-ถอนเงิน 2.ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำร (Management Information Systems: MIS) ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรหรือกำรจัดกำร เป็นระบบที่ให้สำรสนเทศที่ผู้บริหำร ต้องกำร เพื่อให้สำมำรถทำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยจะรวมทั้งสำรสนเทศทั้งภำยในและ ภำยนอกขององค์กร สำรสนเทศเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คำดว่ำ จะเป็นประโยชน์ในอนำคต รำยงำนที่ระบบสำรสนเทศจัดเตรียมไว้นั้นเช่น รำยงำนตำมกำหนดกำร (Scheduled Report) รำยงำนตำมควำมต้องกำร (Demand Report) รำยงำนกรณีเฉพำะ (Exception Report) รำยงำนพยำกรณ์ (Prediction Report) เป็นต้น โดยรำยงำนที่ได้ต้องสำมำรถอ้ำงอิงได้ ตรวจสอบได้เป็นที่ยอมรับ อำจเป็นสิ่งที่คำดว่ำจะเป็นอนำคตก็เป็นได้ ข้อมูลลูกค้ำ -เลขบัญชีธนาคาร -ฝากหรือถอน -จานวนเงิน ขั้นตอน -ตรวจสอบเลขบัญชี -กรณีฝาก ปรับเพิ่มยอดเงิน ในบัญชี -กรณีถอนตรวจสอบยอดเงิน ในบัญชี ->ถ้าพอปรับลดยอดเงิน ->ถ้าไม่พอถอนไม่ได้ ข้อมูล บัญชีธนำคำร ปรับปรุงสมุดบัญชี
  • 7. ตัวอย่างระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารธนาคาร 3.ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ (Decision Support Systems: DSS) พัฒนำขึ้นจำกระบบ MIS เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนกำรตัดสินใจ ซึ่งเป็นเป้ ำหมำยเพื่อ เตรียมสำรสนเทศที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้ระบบ โดยสำรสนเทศนี้ช่วยในกำรตัดสินใจในสิ่งที่ไม่ได้ คำดกำรล่วงหน้ำหรือคำดกำรณ์ได้ยำก มำช่วยในกำรเสนอทำงเลือก แต่ไม่ได้ทำหน้ำที่ในกำร ตัดสินใจแทน สุดท้ำยหน้ำที่กำรตัดสินใจยังคงเป็นหน้ำที่ของบุคคล ว่ำจะปฏิบัติตำมแนวทำงไหน ถึงจะดีที่สุด Customer Transaction Processing Managemen t Support System Checking Account Program Saving Account Program Loan Account Program Database Management System Customer Account Database
  • 8. 4. ระบบสำรสนเทศเพื่อผู้บริหำรระดับสูง (Executive information Systems: EIS) เป็นระบบที่สร้ำงขึ้นเพื่อสนับสนุนสำรสนเทศและกำรตัดสินใจสำหรับผู้บริหำรระดับสูงโดยเฉพำะ หรือสำมำรถกล่ำวได้ว่ำ ระบบอีไอเอสก็คือส่วนหนึ่งของระบบอีเอสเอสแยกออกมำเพื่อเน้นกำรให้ สำรสนเทศที่สำคัญต่อกำรบริหำรแก่ผู้บริหำรระดับสูงสุด ซึ่งรำยงำนที่ได้จะใช้ข้อมูลทั้งจำกภำยใน และภำยนอกขององค์กร นำมำสรุปอยู่ในรูปแบบที่สำมำรถตรวจสอบได้และใช้ในกำร5. ระบบ ผู้เชี่ยวชำญ (Expert Systems) เป็นระบบที่ช่วยแก้ปัญหำหรือทำกำรตัดสินใจแทนผู้ใช้ โดยจะทำกำรเลียนแบบเหตุผล และควำมคิดนั้นจำกสำรสนเทศที่เก็บรวบรวมมำจำกประสบกำรณ์ในกำรแก้ปัญหำจริง และนำมำ เป็นทำงเลือกในกำรแก้ปัญหำหรือตัดสินใจ โดยระบบผู้เชี่ยวชำญจะเกี่ยวข้องกับองค์ควำมรู้ มำกกว่ำสำรสนเทศชนิดอื่น ๆ และออกแบบมำให้ช่วยในกำรตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชำญ ที่เป็นมนุษย์โดยใช้หลักกำรทำงำนด้วยระบบปัญญำประดิษฐ์ 2. สำรสนเทศกับกำรตัดสินใจ ในองค์กรต่ำง ๆ นั้น สำมำรถแบ่งกำรทำงำนออกเป็น 4 ระดับด้วยกันคือ  ระดับวำงแผนยุทธศำสตร์ระยะยำว (strategic planning)  ระดับวำงแผนกำรบริหำร (tactical planning)  ระดับวำงแผนปฏิบัติกำร (operational planning)  ระดับผู้ปฏิบัติกำร (Clerical) ในสำมระดับแรกจัดอยู่ในระดับกำรบริหำร (Management) ระดับสุดท้ำยจัดอยู่ในระดับ ปฏิบัติกำร (Operation) ระบบสำรสนเทศจะทำกำรเก็บรวบรวมข้อมูลจำกระดับปฏิบัติกำร และทำกำรประมวลผล เพื่อให้สำรสนเทศกับบุคลำกรในระดับต่ำง ๆ ซึ่งในแต่ละระดับนั้นจะใช้ลักษณะและปริมำณของ สำรสนเทศที่แตกต่ำงกันไป
  • 9. ระดับวำงแผน ยุทธศำสตร์ ระดับวำงแผนกำรบริหำร ระดับวำงแผนปฏิบัติกำร ระดับปฏิบัติกำร บุคลำกรในแต่ละระดับจะเกี่ยวข้องกับระบบสำรสนเทศดังนี้ ระดับปฏิบัติกำร เกี่ยวข้องอยู่กับงำนที่ต้องกระทำซ้ำ ๆ กัน และจะเนินไปที่กำรจัดกำรรำยกำรประจำวัน นั่น คือบุคลำกรในระดับนี้เกี่ยวข้องกับสำรสนเทศในฐำนะเป็นผู้จัดหำข้อมูลเข้ำสู่ระบบ ตัวอย่ำงเช่น เจ้ำหน้ำที่ป้ อนข้อมูลกำรสั่งซื้อของลูกค้ำเข้ำสู่คอมพิวเตอร์ในระบบสำรสนเทศเพื่อกำรขำย หรือ ตัวแทนกำรจองตั๋วและขำยตั๋วในระบบจองตั๋วเครื่องบิน เป็นต้น ระดับวำงแผนปฏิบัติกำร เป็นผู้บริหำรขั้นต้นที่ควบคุมกำรปฏิบัติงำนประจำวัน และกำรวำงแผนบริหำรงำนที่ เกี่ยวข้องกับระยะเวลำสั้น ๆ เช่น แผนงำนประจำวัน ประจำสัปดำห์ หรือประจำไตรมำส ข้อมูลที่ ผู้บริหำรระดับนี้ต้องกำร ส่วนมำกจะเกี่ยวข้องกับผลกำรปฏิบัติกำรในช่วงเวลำหนึ่ง ๆ ดัง ตัวอย่ำงเช่น ผู้จัดกำรแผนกขำยตรงอำจต้องกำรรำยงำนสรุปยอดขำยประจำสัปดำห์เพื่อประเมินผล กำรปฏิบัติงำนในระยะนั้น ระดับวำงแผนกำรบริหำร บุคลำกรในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหำรระดับกลำง ซึ่งมีหน้ำที่ในกำรวำงแผนให้บรรลุ เป้ ำหมำยต่ำง ๆ เพื่อให้องค์กรประสบผลสำเร็จตำมแผนงำนระยะยำวที่กำหนดโดยผู้บริหำร ระดับสูง สำรสนเทศระดับนี้ที่ต้องกำร มักจะเป็นสำรสนเทศตำมคำบเวลำซึ่งมีระยะเวลำนำนกว่ำ ผู้บริหำรขั้นต้น และจะเป็นสำรสนเทศที่รวบรวมข้อมูลทั้งจำกภำยนอกและภำยในองค์กร DSS DP EIS MIS
  • 10. ระดับวำงแผนยุทธศำสตร์ระยะยำว ผู้บริหำรระดับนี้เป็นผู้บริหำรสูงสุด ซึ่งเน้นในเรื่องเป้ ำประสงค์ขององค์กร ระบบ สำรสนเทศที่ต้องกำรจะเน้นกำรรำยงำนที่สรุป รำยงำนกำรวิเครำะห์ และรำยงำนคำดหมำย แนวโน้มต่ำง ๆ ตารางสรุปความแตกต่างระหว่างสารสนเทศในระดับบริหารทั้งสามระดับ ระดับวำงแผน ปฏิบัติกำร ระดับวำงแผน กำรบริหำร ระดับวำงแผน ยุทธศำสตร์ระยะยำว ควำมถี่ ผลลัพธ์ที่ได้ ระยะเวลำ รำยละเอียด แหล่งข้อมูล ลักษณะของข้อมูล ควำมแม่นยำ ผู้ใช้ ระดับกำรตัดสินใจ สม่ำเสมอ ซ้ำซ้ำ เป็นตำมที่คำด อดีต มีรำยละเอียดมำก ภำยใน เป็นโครงสร้ำง มีควำมแม่นยำสูง หัวหน้ำงำน เกี่ยวกับงำนที่ทำ มักจะเป็นประจำ อำจไม่เหมือนที่คำด เปรียบเทียบ ถูกสรุปแล้ว ภำยในและภำยนอก กึ่ง โครงสร้ำง ใช้กำรคำดกำรณ์บ้ำง ผู้บริหำรระดับกลำง จัดสรรทรัพยำกรและ ควบคุม เมื่อต้องกำร มักจะไม่เหมือนที่คำด อนำคต ถูกสรุปแล้ว ภำยในและภำยนอก ไม่ เป็นโครงสร้ำง ใช้กำรคำดกำรณ์สูง ผู้บริหำรระดับสูง วำงเป้ำประสงค์
  • 12. หน่วยที่ 2 รูปแบบของข้อมูล กำรรับส่งข้อมูล กำรรับส่งข้อมูล ก่อนที่จะกล่ำวถึงกำรสื่อสำรระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ ควรศึกษำถึงวิธีกำรถ่ำยโอนข้อมูล ซึ่งเป็นเรื่องกำรส่งสัญญำณออกจำกเครื่องและรับสัญญำณเข้ำไปในเครื่องก่อน กำรถ่ำยโอนข้อมูล สำมำรถจำแนกได้2 แบบ คือ กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน และกำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน ทำได้โดยกำรส่งข้อมูลออกมำทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 บิต จำก อุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ อุปกรณ์ตัวกลำงระหว่ำงสองเครื่องจึงต้องมีช่องทำงให้ข้อมูลเดินทำง อย่ำงน้อย 8 ช่องทำง เพื่อให้กระแสไฟฟ้ำผ่ำนโดยมำกจะเป็นสำยสัญญำณแบบขนำน ระยะทำงของ สำยสัญญำณแบบขนำนระหว่ำงสองเครื่องไม่ควรยำวเกิน 100 ฟุต เพรำะอำจทำให้เกิดปัญหำ สัญญำณสูญหำยไปกับควำมต้ำนทำนของสำย นอกจำกนี้อำจมีปัญหำที่เกิดจำกระดับไฟฟ้ำในสำย ดินที่จุดรับผิดไปจำกจุดส่งทำให้เกิดกำรผิดพลำดในกำรรับสัญญำณทำงฝ่ำยรับ นอกจำกแกนหลักแล้วอำจจะมีทำงเดินของสัญญำณควบคุมอื่นๆ อีก เช่น บิตพำริตี ที่ใช้ ในกำรตรวจสอบควำมผิดพลำดของกำรรับสัญญำณที่ปลำยทำงหรือสำยที่ควบคุมกำรโต้ตอบ ( hand-shake)
  • 13. กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม a ในกำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมำทีละบิต ระหว่ำงจุดส่งและจุดรับ กำรส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ำกว่ำแบบขนำน กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องกำรตัวกลำงสำหรับ กำรสื่อสำรเพียงช่องเดียวหรือสำยเพียงคู่เดียว ค่ำใช้จ่ำยจะถูกกว่ำแบบขนำนสำหรับกำรส่ง ระยะทำงไปไกลๆ โดยเฉพำะเมื่อเรำมีระบบสื่อสำรทำงโทรศัพท์ไว้ใช้งำนอยู่แล้ว ย่อมจะเป็นกำร ประหยัดกว่ำที่จะทำกำรติดต่อสื่อสำรทีละ 8 ช่อง เพื่อกำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรมจะเริ่มโดยข้อมูลจำกจุดส่งจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญำณ อนุกรมเสียก่อน แล้วค่อยทยอยส่งออกทีละบิตไปยังจุดรับ และที่จุดรับจะต้องมีกลไกในกำรเปลี่ยน ข้อมูลที่ส่งมำทีละบิต ให้เป็นสัญญำณแบบขนำนซึ่งลงตัวพอดี เช่น บิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลเส้นที่ 1
  • 14. กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม กำรติดต่อแบบอนุกรมอำจจะแบ่งตำมรูปแบบรับ-ส่ง ได้ 3 แบบคือ aaaaa1) สื่อสำรทำงเดียว (simplex) ข้อมูลส่งได้ทำงเดียวเท่ำนั้น บำงครั้งก็เรียกว่ำ กำรส่งทิศทำง เดียว (unidirectional data bus) aaaaa2) สื่อสำรสองทำงครึ่งอัตรำ (half duplex) ข้อมูลสำมำรถส่งได้ทั้งสองสถำนี แต่จะต้องผลัด กันส่งและผลัดกันรับ จะส่งและรับพร้อมกันไม่ได้ aaaaa3) สื่อสำรสองทำงเต็มอัตรำ (full duplex) ทั้งสองสถำนีสำมำรถรับและส่งได้ในเวลำเดียวกัน รูปแบบของกำรติดต่อสื่อสำรข้อมูลแบบอนุกรม ควำมเร็วของกำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม หน่วยวัดเป็นบิตต่อวินำที (bps) หน่วยที่ บรรยำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงของสัญญำณใน 1 วินำที เรียกว่ำ อัตรำบอด (baud rate) ซึ่งนำมำคูณกับ จำนวนบิตใน 1 บอดจะได้อัตรำบิต (bit rate) ซึ่งแสดงถึงกำรเปลี่ยนแปลงของสัญญำณ 1 ครั้ง ถ้ำ เขียนในรูปของสมกำรทำงคณิตศำสตร์ก็จะได้ aอัตรำบิต (bit rate) = อัตรำบอด (baud rate) x (จำนวนบิตใน 1 บอด) บัฟเฟอร์ กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรมจำกอุปกรณ์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง ซึ่งอำจจะเป็น คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสำรชนิดอื่นนั้น มีสมมติฐำนว่ำควำมเร็วในกำรเปลี่ยนสัญญำณจำก ขนำนเป็นอนุกรมของฝ่ำยส่งต้องเร็วพอ ในทำนองเดียวกันฝ่ำยรับก็ต้องมีควำมเร็วในกำรเปลี่ยน
  • 15. สัญญำณอนุกรมเป็นขนำนได้ทันเวลำเพื่อนำไปแสดงบนจอภำพ หรือพิมพ์ออกที่เครื่องพิมพ์หรือ เก็บไว้ในแผ่นบันทึก กล่ำวคือ ทั้งฝ่ำยส่งและฝ่ำยรับต้องมีควำมเร็วในกำรทำงำนเท่ำกัน ไม่มีกำร หน่วงเวลำหรือกำรขัดจังหวะระหว่ำงกลำง อย่ำงไรก็ตำมในควำมเป็นจริงสมมติฐำนนี้เป็นไปได้ ยำกเพรำะฝ่ำยส่งทำหน้ำที่ส่งอย่ำงเดียวแต่ฝ่ำยรับอำจต้องทำหน้ำที่หลำยอย่ำง เช่น รับ แสดงผล เก็บ ข้อมูล พิมพ์เป็นต้น ควำมเร็วของฝ่ำยรับหำกไม่เพียงพอที่จะทำงำนหลำยอย่ำงให้ทันกับฝ่ำยส่ง ก็ จำเป็นจะต้องมีกลไกในกำรควบคุมกำรถ่ำยโอน เทคนิคในกำรควบคุมควำมเร็วในกำรส่งข้อมูล รูปแบบหนึ่งคือสร้ำงบัฟเฟอร์ (buffer) บัฟเฟอร์สำหรับกำรสื่อสำรคือหน่วยควำมจำในคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งแยกออกมำจำก หน่วยควำมจำหลัก สำหรับเก็บพักข้อมูลในกำรติดต่อชั่วครำว บัฟเฟอร์สำหรับกำรสื่อสำรนี้ ส่วนมำกใช้สำหรับฝ่ำยรับเท่ำนั้น เนื่องจำกฝ่ำยรับจำเป็นจะต้องตำมฝ่ำยส่งให้ทัน ถ้ำหำกฝ่ำยรับใช้ ภำษำ แอสเซมบลีควบคุม มีควำมเร็วพอ อำจไม่จำเป็นต้องใช้บัฟเฟอร์สำหรับกำรสื่อสำรเนื่องจำก ภำษำ แอสเซมบลีมีควำมเร็วสูง ข้อมูลที่จัดส่งให้คอมพิวเตอร์ที่เป็นฝ่ำยรับ ส่วนมำกจะอ่ำนมำจำกแผ่นบันทึก ข้อมูลที่อ่ำนมำ จำกแผ่นบันทึกซึ่งมีลักษณะเป็นกลุ่มได้รับกำรนำมำสู่บัฟเฟอร์ กำรอ่ำนข้อมูลยังคงดำเนินไป จนกระทั่งบัฟเฟอร์เต็ม กำรอ่ำนจะหยุดทำงำนชั่วครำวรอจนกระทั่งข้อมูลในบัฟเฟอร์ถูกส่งออกไป หมด ข้อมูลก็จะถูกอ่ำนออกมำใส่ในบัฟเฟอร์อีกครั้ง โดยปกติบัฟเฟอร์จะมีควำมจำขนำด 225 ตัวอักษร หรือประมำณ 3 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร บัฟเฟอร์รับมีผลกระทบต่อกำรรับส่งข้อมูลมำกกว่ำบัฟเฟอร์ส่ง เพรำะบัฟเฟอร์รับทำหน้ำที่ เช่นเดียวกับบัฟเฟอร์ส่ง แต่ทิศทำงของกำรไหลของข้อมูลอยู่ในทำงตรงกันข้ำม ในระบบควบคุม กำรทำงำนของไมโครคอมพิวเตอร์บำงรุ่น เช่น IBM PC มีกลไกบัฟเฟอร์รับส่งนี้ไว้อยู่แล้ว โปรแกรมในระดับสูงจึงเพียงแต่ทำหน้ำที่ดึงเอำข้อมูลจำกบัฟเฟอร์นี้ไปใช้จะเห็นได้ชัดถึงควำม จำเป็นในกำรใช้บัฟเฟอร์เมื่อควำมเร็วในกำรส่งสูงเกินกว่ำ 600 บอด หน้ำที่ของโปรแกรมควบคุมกำรรับส่งก็คือ กำรอ่ำนข้อมูลจำกบัฟเฟอร์รับไปใช้เมื่อถูกอ่ำน จำกบัฟเฟอร์รับไปแล้ว ตัวที่อ่ำนออกไปก็จะหำยไปจำกบัฟเฟอร์ ลองนึกภำพดูจะเห็นว่ำ ระบบปฏิบัติกำรรับข้อมูลจำกช่องทำงอนุกรมใส่บัฟเฟอร์ โปรแกรมควบคุมกำรรับส่งดึงข้อมูลจำก บัฟเฟอร์ เปรียบเสมือนคนหนึ่งตักน้ำใส่ตุ่มอีกคนหนึ่งตักออกจำกตุ่ม ถ้ำฝ่ำยที่ตักออกมีควำมเร็ว มำกกว่ำ น้ำในตุ่มก็จะมีโอกำสแห้ง ในทำงตรงกันข้ำมถ้ำฝ่ำยตักออกช้ำกว่ำฝ่ำยตักเข้ำ โอกำสที่น้ำ
  • 16. ล้นตุ่มก็ย่อมจะมี ซึ่งในทำงสื่อสำรเรียกว่ำ บัฟเฟอร์รับไหลล้น (receive buffer overflow) กำรไหล ล้นดังกล่ำวทำให้ข้อมูลที่ได้รับหำยไปได้ บรรณำนุกรม อดุลย์ จำตุรงคกุล และคณ ะ.คอมพิวเตอร์ เพื่อกำรสื่ อสำร.กรุงเทพ มหำนคร: มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์,2546
  • 17. หน่วยที่ 3 เรื่อง กำรวิเครำะห์ข้อมูลและกำรจัดกำรข้อมูล กำรวิเครำะห์ กำรวิเครำะห์ระบบในวงจรกำรพัฒนำระบบนั้นเริ่มต้นจำกกำรศึกษำระบบเดิมแล้วนำ ข้อมูลที่ได้จำกกำรศึกษำมำหำควำมต้องกำร(Requirements) หรือสิ่งที่จะต้องปรับปรุงในระบบหรือ อีกอย่ำงหนึ่งคือ วิธีแก้ปัญหำของระบบ กำรวิเครำะห์จะเริ่มหลังจำก ที่ทรำบปัญหำและผ่ำนขั้นตอน กำรศึกษำควำมเป็นไปได้แล้ว รวบรวมข้อมูล กำรศึกษำระบบเดิมนั้นนักวิเครำะห์ระบบเริ่มต้นจำกกำรศึกษำเอกสำร ต่ำงๆ เช่น คู่มือต่ำงๆ หลังจำกนั้นเป็นกำรรวบรวมแบบฟอร์มและรำยงำนต่ำง ๆ เช่น ในระบบบัญชี เจ้ำหนี้จะมีแบบฟอร์มใบบรรจุ ผลิตภัณฑ์ ใบทวงหนี้ รำยงำนเพื่อเตรียมเงินสนเป็นต้น นอกจำกนั้นจะต้องคอยสังเกตดูกำรทำงำนของผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบที่ศึกษำท้ำยที่สุดอำจจะต้องมี กำรสัมภำษณ์ผู้ที่มีหน้ำที่รับผิดชอบงำนที่เกี่ยวข้องในระบบหรือบำงกรณีอำจจะต้องใช้ แบบสอบถำมมำช่วยเก็บข้อมูล วิธีกำรทั้งหมดเรียกว่ำ เทคนิคกำรเก็บรวบรวมข้อมูล คาอธิบายข้อมูล (Data Description) เมื่อนักวิเครำะห์ระบบศึกษำระบบมำกเข้ำจะพบว่ำมี ข้อมูลอีกมำกมำยที่ต้องจัดให้เป็นหมวดหมู่ เช่น ข้อมูลของลูกค้ำคนหนึ่งจะรวมข้อมูล รำยละเอียด อื่นๆ เช่น เลขที่ลูกค้ำ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์กำรจ่ำยเงิน กำรซื้อสินค้ำทั้งหมดเป็นเพียงไฟล์เดียว เท่ำนั้น ในกรณีหลำยๆ ไฟล์จะต้องมีวิธีเก็บเพื่อควำมเป็นระเบียบในกำรติดตำมนิยำมของข้อมูล เครื่องมือที่ช่วยเก็บคำอธิบำยข้อมูลก็คือ พจนำนุกรมข้อมูล คาอธิบายวิธีการ (Procedure Description) กรรมวิธีที่ติดตำมกำรเปลี่ยนแปลงของข้อมูล จะต้องรู้ว่ำข้อมูลผ่ำนกำรประมวลผลอย่ำงไรบ้ำง คือทรำบว่ำ "ทำอะไร" บ้ำงในระบบและมีวิธีกำร อย่ำงไรเช่น กำรจ่ำยเงินเจ้ำหนี้ เรำมีกฎเกณฑ์หรือวิธีกำรอย่ำงไรบ้ำงในกำรตัดสินใจว่ำจะจ่ำยให้ ใครก่อนหลัง ซึ่งวิธีกำรบำงอย่ำงมีรำยละเอียดไม่มำกนัก เช่น ถ้ำลูกค้ำสั่งซื้อของเรำเพียงแต่เช็คว่ำมี ของในสต็อกเพียงพอกับจำนวนที่ลูกค้ำสั่งหรือไม่ซึ่งจำได้ทันทีว่ำจะต้องทำอะไร
  • 18. กำรวิเครำะห์จัดกำรข้อมูล คาอธิบายการประมวลผล (Process Description) ต้องมีเพรำะถึงแม้ว่ำแผนภำพแสดงกระแสข้อมูล (DFD) เป็นเครื่องมือพื้นฐำนที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ว่ำต้องทำอะไรบ้ำงหรือจะต้องประมวลผล อะไรบ้ำงแต่ในแต่ละขั้นตอนถึงแม้จะแยกย่อยลงมำแล้วก็ยังมีรำยละเอียดที่ลึกลงไปอีกว่ำกำร ประมวลผลที่ลึกลงไปนั้นใน DFD อธิบำยรำยละเอียดด้วย"คำอธิบำยกำรประมวลผล" (Process Description) คำอธิบำยนี้บอกว่ำอินพุตถูกเปลี่ยนเป็นเอำต์พุตอย่ำงไร การสร้างแบบข้อมูล (Data Modeling) คือ กำรออกแบบฐำนข้อมูลนักวิเครำะห์ระบบต้อง ออกแบบว่ำจะเก็บข้อมูลอย่ำงไร และกำรดึงข้อมูลมำใช้จะใช้วิธีอะไร กำรจะออกแบบฐำนข้อมูลได้ นักวิเครำะห์ระบบต้องรู้แน่ชัดว่ำข้อมูลที่ใช้ทั้งหมดมีอะไรบ้ำงตัวอย่ำงฐำนข้อมูลอำจจะเป็นแบบ ตำรำงธรรมดำ (Relational Database) และกำรดึงข้อมูลมำใช้โดยมีคีย์เป็นตัวใช้ค้นหำเป็นแบบอิน เด็กซ์ไฟล์(Index File) การสร้างแบบจาลองระบบ (System Modeling) คือ นำทุกสิ่งทุกอย่ำงที่ได้จำก พจนำนุกรมข้อมูล แผนภำพแสดงกระแสข้อมูล ฐำนข้อมูล มำรวมกันเป็นระบบใหม่และที่สำคัญ ก็คือ ควำมต้องกำรใหม่ของระบบจะถูกเพิ่มเติมเข้ำมำในระบบใหม่นี้ ซึ่งระบบใหม่นี้จะเป็นระบบ ที่เรำต้องกำร นอกจำกนั้นต้องประมำณว่ำ จะต้องใช้บุคลำกร อุปกรณ์ และพัสดุอะไรบ้ำง และใช้ เป็นจำนวนเท่ำไร ข้อมูลเฉพาะของปัญหา (Problem Specification) ในท้ำยที่สุดนักวิเครำะห์ระบบจะ รวบรวมสิ่งที่ทำมำทั้งหมดเขียนเป็นรำยงำนฉบับหนึ่ง เรียกว่ำ ข้อมูลเฉพำะของปัญหำประกอบด้วย พจนำนุกรมข้อมูล แผนภำพแสดงกระแสข้อมูล ข้อมูลเฉพำะกำรประมวลผลฐำนข้อมูล และแบบ ระบบใหม่ รำยงำนนี้จะถูกใช้อ้ำงอิงตลอดโครงกำรพัฒนำระบบ
  • 19. กำรจัดกำรข้อมูล รหัสแทนข้อมูล ข้อมูล (Data) หมำยถึง ควำมจริง (fact) ซึ่งสำมำรถบันทึกไว้ได้ และมีควำมหมำยอยู่ ในตัว ถือเป็นหัวใจสำคัญของระบบงำนคอมพิวเตอร์ เนื่องจำกกำรประมวลผลทำงคอมพิวเตอร์ทุก ประเภทจะเป็นกำรประมวลผลข้อมูลในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องกำรออกมำ หำกข้อมูลที่ป้อนให้ผิด ก็จะได้ผลลัพธ์ที่ไม่มีคุณค่ำ หรือที่นิยมเรียกว่ำป้อนขยะเข้ำย่อมได้ขยะออก (Garbage in – Garbage out) ระบบคอมพิวเตอร์ อำศัยกำรทำงำนของสัญญำณไฟฟ้ ำ ทำให้สถำนะมี 2 สถำนะ คือ สถำนะปิด (Off) และสถำนะเปิด (on) จึงต้องหำวิธีในกำรแทนที่สถำนะสองสถำนะนี้ นั่นคือกำรใช้ เลขฐำนสอง (Binary Number System) ประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 กำรประกอบเลขฐำนสองขึ้น หลำย ๆ หลักทำให้สำมำรถแทนควำมหมำยข้อมูลต่ำง ๆ ได้จำนวนมำกมำย เลขฐำนสอง 1 หลัก แทนข้อมูลได้ 21 แบบ นั่นคือ 0 หรือ 1 เลขฐำนสอง 2 หลัก แทนข้อมูลได้ 22 แบบ นั่นคือ 00 หรือ 01 หรือ 10 หรือ 11 เลขฐำนสอง 3 หลัก แทนข้อมูลได้ 23 แบบ นั่นคือ 001, 010,011,100,101,110,111,000 ดังนั้น เลขฐำนสอง n หลัก แทนข้อมูลได้ 2n ข้อมูล นอกจำกระบบเลขฐำนสองแล้ว ยังมีระบบเลขฐำนอื่น ๆ ที่ใช้ในกำรแทนข้อมูล ตัวอย่ำง ต่อไปนี้  เลขฐำน 8 ค่ำที่ใช้แทนข้อมูลในฐำน 8 ได้แก่ 0,1,2,3,4,5,6 หรือ 7  เลขฐำน 16 ค่ำที่ใช้แทนข้อมูลในเลขฐำน 16 ได้แก่ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,A,B,C,D,E หรือ F บิต ไบต์ เวิร์ด และ พาริตี้บิต บิต (Bit : Binary Digit) เป็นหน่วยที่เลขที่สุดในกำรจัดเก็บข้อมูล โดยแทนด้วยเลขฐำนสอง 1 ตัว แต่เนื่องจำกบิตเพียงบิตเดียวไม่สำมำรถแทนค่ำข้อมูลได้เพียงพอ เรำจึงนำบิตหลำย ๆ บิตมำ เรียงต่อกัน บิตหลำย ๆ บิตรวมกันเรียกว่ำ ไบต์ (Byte) โดยปกติแล้ว 8 บิต เท่ำกับ 1 ไบต์ Bit Bit Bit Bit Bit Bit Bit Bit Byte
  • 20. ไบต์ (Byte) ใช้เป็นหน่วยควำมจุของข้อมูล อำทิเช่น หน่วยควำมจำคอมพิวเตอร์ (Memory) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) ปริมำณควำมจุเป็น Kilobyte (KB) , Megabyte(MB หรือ M) , Gigabyte (GB หรือ G) ตารางมาตราส่วนของหน่วยความจุ หน่วย จำนวน Byte KB 210 1024 MB 220 1,048,567 1024x1024 GB 230 1,073,741,824 1024x1024x1024 เวิร์ด (Word) เป็นกลุ่มของบิตเพื่อใช้ในกำรประมวลผล (อำจเกิดจำกไบต์หลำย ๆ ไบต์ รวมกัน) ซึ่งในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละชนิดจะมีขนำดของเวิร์ดไม่เท่ำกัน โดยทั่วไปแล้วถ้ำ คอมพิวเตอร์เครื่องใดมีขนำดเวิร์ดใหญ่กว่ำ ก็จะมีประสิทธิภำพสูงกว่ำ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องมี ขนำดบิตเวิร์ดไม่เท่ำกัน คอมพิวเตอร์บำงรุ่นมี 8 บิต (1 ไบต์) เป็น 1 เวิร์ด บำงรุ่นมี 16 บิต (2 ไบต์) เป็น 1 เวิร์ด ยิ่งเป็นคอมพิวเตอร์ระดับสูงก็จะยิ่งมีขนำดบิตเวิร์ดใหญ่ขึ้น พำริตี้บิต (Parity bit) เป็นบิตที่เก้ำที่เพิ่มขึ้นมำในคอมพิวเตอร์บำงระบบ มีไว้ตรวจสอบ ควำมผิดพลำดจำกกำรสื่อสำรหรือส่งข้อมูล ซึ่งอำจมีสำเหตุต่ำง ๆ ทำให้คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูล ผิดพลำดหรือก็ไม่สำมำรถดูได้จำกพำริตี้บิตนี้ โดยบิตพำริตี้แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ พำริตี้เลขคู่(Even Parity) และ พำริตี้เลขคี่(Odd Parity) วิธีกำรส่งค่ำพำริตี้บิต คือ คอมพิวเตอร์จะนับจำนวนเลข 1 ของ แต่ละไบต์ว่ำมีจำนวนเท่ำใด ถ้ำผลรวมของเลขหนึ่งในไบต์นั้นเป็นเลขคู่ และเครื่องที่ใช้เป็นระบบ พำริตี้บิตเลขคี่ พำริตี้บิตจะเป็นเลข 1 แต่ถ้ำเครื่องที่ใช้เป็นระบบพำริตี้เลขคู่ พำริตี้บิตจะเป็นเลข 0 พำริตี้บิตจะเป็นส่วนที่สำคัญมำกในกรณีที่มีกำรส่งข้อมูลข้ำมระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยที่ เครื่องที่ทำหน้ำที่เป็นตัวรับข้อมูลจะต้องทรำบล่วงหน้ำว่ำเครื่องที่ส่งข้อมูลมำนั้นใช้ระบบพำริตี้เลข คู่หรือเลขคี่ มิฉะนั้นจะทำให้แปลควำมหมำยของข้อมูลที่รับเข้ำมำไม่ถูกต้อง ตัวอย่ำงเช่นเครื่อง คอมพิวเตอร์ระบบพำริตี้เลขคู่ ถ้ำส่งรหัส A = 01000001 รหัสที่ส่งจริงจะเป็น 010000010 เป็นต้น ชนิดของรหัสแทนข้อมูล ในกำรสื่อสำรระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องอำศัยรหัสแทนข้อมูลมำตรฐำนสำกล เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่ำง ๆ สำมำรถสื่อสำรกันได้รหัสแทนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ รหัส EBCDIC (Extended Binary Code Decimal Interchange Code)
  • 21. พัฒนำโดยบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) ใช้แทนข้อมูลต่ำงกันได้ทั้งหมด 28 หรือ 256 ชนิด (ใช้ 8 บิตเป็น 1 ไบต์) รหัส ASCII (American Standard code for Information Interchange) เป็นรหัสมำตรฐำนสำกลที่นิยมใช้มำกในกำรติดต่อสื่อสำรของเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ สองเครื่องขึ้นไป ใช้8 บิต เป็น 1 ไบต์เช่นเดียวกับ EBCDIC รหัส Unicode เป็นรหัสใหม่ล่ำสุดที่พัฒนำขึ้นมำแทนรหัสพิเศษต่ำง ๆได้มำกขึ้นเพรำะใช้ 16 บิตต่อไบต์ ในกำรแทนข้อมูล ทำให้ครอบคลุมภำษำต่ำง ๆ ได้หลำยภำษำโดยไม่ต้องมีกำรแปลง เช่น ระบบปฏิบัติกำร Windows ระบบไฟล์ข้อมูล (Data file) หน่วยเก็บข้อมูลสำรองของคอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลในรูปของเลขฐำนสอง ซึ่งประกอบ กันเป็นแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์ โดยที่ไม่ว่ำจะใช้สื่อเก็บข้อมูลชนิดใดก็ตำม ทุกอย่ำงที่เก็บอยู่ในหน่วย เก็บข้อมูลสำรองต้องอยู่ในรูปของไฟล์ไฟล์ทุกไฟล์ต้องมีชื่อเรียกเพื่อให้ระบบสำมำรถอ้ำงอิงถึงได้ และไฟล์หลำย ๆ ไฟล์ก็จะถูกจัดเก็บไว้ใน ไดเรคทอรี่(Directory) หรือ โฟลเดอร์ (Folder) เดียวกัน โดยคำนึงถึงควำมสัมพันธ์ของข้อมูลแต่ละที่อยู่ในโฟลเดอร์ด้วย กล่ำวคือ ข้อมูลที่มีควำมสัมพันธ์ กันควรจัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์เดียวกัน ชนิดของไฟล์ เรำสำมำรถแบ่งไฟล์ออกเป็น 2 ชนิด 1. โปรแกรมไฟล์ (Program File) เป็นไฟล์ที่ใช้เก็บโปรแกรมทุกชนิด ตั้งแต่โปรแกรมของระบบ(System Program) ตลอด จนถึงโปรแกรมประยุกต์ต่ำง ๆ (Application Program) 2. ดำตำไฟล์ (Data File) เป็นไฟล์ที่ใช้เก็บข้อมูลทุกชนิด หรือกล่ำวได้ว่ำเก็บข้อมูลที่จะใช้ ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็ จัดเก็บดำตำไฟล์ที่มีรูปแบบต่ำงกัน ทำให้กำรเรียกใช้ข้อมูลข้ำมโปรแกรมกันไม่ได้ โดยดำตำไฟล์ สำมำรถแบ่งเป็นประเภทย่อย ๆ ตำมประเภทของข้อมูลที่จัดเก็บ เช่น  Configuration File เป็นไฟล์เก็บคุณสมบัติหรือตัวเลือกต่ำงๆ ในโปรแกรม ถ้ำถูก ลบอำจเสียหำยต่อโปรแกรมนั้น ๆ
  • 22.  Text File เป็นไฟล์ข้อควำมซึ่งประกอบด้วยอักขระ ตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษ ต่ำง ๆ  Graphics File เป็นไฟล์ข้อมูลรูปภำพทั้งสีและขำวดำ ข้อมูลที่เก็บเป็นรูปแบบ เฉพำะ  Database File เป็นที่เก็บข้อมูลในรูปแบบที่โปรแกรมฐำนข้อมูลเรียกใช้ได้  Sound File เป็นที่เก็บรหัสแทนเสียงในรูปแบบดิจิตอล  Backup File เป็นไฟล์ที่ใช้สำรองข้อมูลที่สำคัญ เพื่อนำกลับมำใช้ใหม่ได้เมื่อไฟล์ ต้นฉบับเสีย การกาหนดชื่อไฟล์ กำรตั้งชื่อไฟล์เป็นประโยชน์ต่อกำรอ้ำงอิงของระบบปฏิบัติกำรในกำรจัดกำรไฟล์นั้น ๆ ชื่อไฟล์ควรสื่อควำมหมำยกับข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในไฟล์นั้น ๆ โดยทั่วไปแล้วกำรตั้งชื่อไฟล์นิยมใช้ ตัวอักษรอีก 3 ตัวเป็นเป็นส่วนขยำย(Extension) หรือเรียกว่ำนำมสกุลของไฟล์แยกออกจำกชื่อด้วย เครื่องหมำยจุด ส่วนขยำยนี้จะช่วยแยกแยะประเภทข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ไฟล์ได้อีกด้วย ตัวอย่างการตั้งชื่อและ Extension ข้อมูล โปรแกรม ชื่อ และ Extension คะแนนสอบ MS-Excel Mark.xls ข้อสอบ MS-Word Exam.doc เสนอผลงำนกำรขำย MS-PowerPoint Sale.ppt รูปถ่ำย MS-Photoshop Pic001.jpg ชนิดของไฟล์ในการประมวลผลข้อมูล ในกำรประมวลผลข้อมูลส่วนมำก ไฟล์ที่เก็บข้อมูลจะถูกแบ่งแยกประเภทตำมงำนที่ใช้ซึ่ง สำมำรถแบ่งได้เป็นห้ำประเภทคือ ดังต่อไปนี้ 1. ไฟล์รำยกำรหลัก (Master File) ใช้เก็บข้อมูลหลัก ๆ ที่ไม่ค่อยมีกำรเปลี่ยนแปลงข้อมูล มำกนัก เช่น ไฟล์ข้อมูลประวัติลูกค้ำ, ไฟล์ข้อมูลประวัตินิสิต เป็นต้น 2. ไฟล์รำยกำรเปลี่ยนแปลง (Transaction File) ใช้เก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นในระยะเวลำใดเวลำ หนึ่ง เปลี่ยนแปลงข้อมูลบ่อยครั้ง ใช้ในกำรประมวลผล 2 แบบ คือ Batch Processing กำรประมวลผลแบบกลุ่ม เป็นกำรประมวลผลโดยใช้ ข้อมูลในไฟล์รำยกำรเปลี่ยนแปลงที่มีกำรสะสมข้อมูลไว้แล้วมำประมวลผลร่วมกับ ไฟล์รำยกำรหลัก มักจะใช้เวลำในกำรประมวลผลนำน และมีปริมำณข้อมูลในกำร
  • 23. ประมวลมำก ในกำรประมวลผลข้อมูลแบบนี้นิยมใช้กับงำนประมวลผลที่ไม่ได้ ต้องกำรผลลัพธ์ของข้อมูลในลักษณะทันทีทันใด เช่น งำนประมวลผลข้อมูลใบแจ้ง หนี้ค่ำน้ำ ใบแจ้งหนี้ค่ำโทรศัพท์เป็นต้น Real-Time Processing กำรประมวลผลแบบทันที งำนที่ใช้ในกำร ประมวลผลแบบนี้จะเป็นงำนที่ต้องกำรผลลัพธ์แบบทันทีทันใด และจะใช้เวลำในกำร ประมวลผลไม่มำกนัก โดยมีปริมำณข้อมูลที่มำใช้ในกำรประมวลไม่มำก และไม่ ซับซ้อน โดยมีกำรแก้ไขข้อมูลในไฟล์รำยกำรหลักแบบทันที และในงำนประมวลผล แบบนี้ มักจะต้องมีกำรออกแบบให้จัดเก็บข้อมูลที่นำมำใช้ในกำรประมวลผลลงใน ไฟล์รำยกำรเปลี่ยนแปลง เพื่อสำมำรถนำมำใช้อ้ำงอิงและตรวจสอบได้เมื่อมีปัญหำ เกิดขึ้น เช่น กำรทำรำยกำรเบิกถอนเงินที่ตู้ATM เป็นต้น 3. ไฟล์รำยงำน (Report File) ไฟล์ที่จัดเก็บข้อมูลและรูปแบบรำยงำนที่ได้จำกโปรแกรม ประยุกต์ 4. ไฟล์เก็บผลลัพธ์ (Output File) ไฟล์ที่จัดเก็บผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรรับข้อมูลเข้ำและผ่ำน กำรประมวลผล ได้ผลลัพธ์เป็นข้อมูลใหม่ออกมำ 5. ไฟล์สำรอง (Backup File) ใช้เก็บสำรองข้อมูลที่สำคัญ สำมำรถนำมำใช้แทนไฟล์ ต้นฉบับได้เมื่อไฟล์ต้นฉบับเกิดควำมเสียหำย ปัญหาของระบบการจัดการข้อมูลแบบไฟล์ กำรจัดกำรข้อมูลแบบไฟล์ ข้อมูลที่จัดเก็บไว้จะอยู่ในรูปแฟ้ มข้อมูลอิสระ ซึ่งระบบงำนต่ ละระบบจะสร้ำงแฟ้ มข้อมูลของตนเองขึ้นมำ โดยแต่ละระบบจะจัดเก็บแฟ้ มแบบไม่เกี่ยวข้องวัม พันธ์กัน หน่วยงำนแต่ละหน่วยงำนมีระบบแฟ้มข้อมูลเป็นของตนเอง โดยออกแบบโครงสร้ำงของ แฟ้มข้อมูลให้เหมำะสมกับระบบงำนของตนเอง ดังนั้นแฟ้มข้อมูลที่สร้ำงขึ้นในแต่ละหน่วยงำนจึง มีกำรเก็บข้อมูลเดียวกันในรูปแบบที่แตกต่ำงกัน ดังรูป
  • 24. การประมวลผลด้วยระบบไฟล์ จำกรูป จะเห็นได้ว่ำหน่วยงำนแต่ละหน่วยงำนมักมีกำรจัดเก็บข้อมูล A เหมือนกันไว้ในที่ ต่ำงกัน แฟ้ม A ในที่นี้คือแฟ้มข้อมูลพนักงำน โดยกำรเรียกใช้ข้อมูลจะต้องผ่ำนโปรแกรมประยุกต์ เฉพำะของหน่วยงำนของตนเองที่สร้ำงขึ้นมำเท่ำนั้น ทำให้ข้อมูลจะต้องผ่ำนโปรแกรมประยุกต์ เฉพำะหน่วยงำนของตนเอง ที่สร้ำงขึ้นมำเท่ำนั้น ทำให้ข้อมูลในองค์กรมีควำมซ้ำซ้อนกัน กระจัด กระจำย ยำกต่อกำรปรับปรุงแก้ไขหรือบำรุงรักษำ บำงครั้งอำจก่อให้เกิดควำมสับสน เนื่องจำก ข้อมูลขัดแย้งกัน ดังนั้นสำมำรถสรุปปัญหำที่เกิดขึ้นของระบบจัดกำรข้อมูลแบบไฟล์ดังนี้  ข้อมูลเกิดควำมซ้ำซ้อน (Data Redundancy)  ลำบำกต่อกำรแก้ไข (Update Difficulties)  กำรผูกติดกับข้อมูล (Data Dependence)  กำรกระจัดกระจำยของข้อมูล (Data Dispersion)  กำรไม่สำมำรถใช้ประโยชน์จำกข้อมูล (Underutilization of Data) USE R Application Program 1 Application Program 2 Application Program 3 Personal Department USER 1 Personal Department USER 2 Personal Department USER 3 A B C D A B D E A B E F
  • 25. ระบบฐำนข้อมูล (Data Base System) ฐำนข้อมูล หมำยถึง กำรเก็บข้อมูลของผู้ใช้และสำมำรถนำข้อมูลมำใช้งำนร่วมกันได้โดย ไม่มีกำรซ้ำซ้อนของข้อมูล หรือควำมขัดแย้งของข้อมูล ซึ่งสำมำรถแสดงลำดับขั้นในกำรเกิด ฐำนข้อมูลได้ดังรูป จำกรูป ฐำนข้อมูลเกิดจำกบิต (Bit) หรือเลขฐำนสองมำรวมกัน 8 บิต รวมเป็นไบต์(Byte) หลำย ๆ ไบต์รวมกันเรียกว่ำฟิลด์(Field) หลำย ๆ ฟิลด์รวมกันเรียกว่ำ เรคคอร์ด(Record) หลำย ๆ เรคคอร์ดรวมกันเรียกว่ำไฟล์(File) และหลำย ๆ ไฟล์รวมกันเรียกว่ำ ฐำนข้อมูล (Database) ตำมลำดับ แนวความคิดของฐานข้อมูล จำกปัญหำต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นจำกกำรจัดกำรข้อมูลแบบไฟล์ ทำให้เกิดแนวคิดในกำรจัดกำร ข้อมูลแบบใหม่ ซึ่งแนวคิดเบื้องต้นของฐำนข้อมูลคือกำรนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันมำ จัดเก็บลงในที่เดียวกัน โดยฐำนข้อมูลดังกล่ำวจะถูกควบคุมโดยซอฟต์แวร์ชุดหนึ่ง แทนที่จะใช้งำน แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่กระจัดกระจำยและมีกำรดูแลโดยผู้ใช้กลุ่มต่ำง ๆ กัน เป้ำหมำยสูงสุดของ Field Record File Database Byte 01000010 นำยต่อศักดิ์ รักไทย 401021099 นำยต่อศักดิ์ รักไทย CP101 B+ 401021097 นำยต่อศักดิ์ รักไทย CP101 B+ 401021098 นางสาวแก้วตา สุดใจ CP101 A 401021099 นายดารงค์ อยู่ดี CP101 C+ Course File Student History
  • 26. แนวควำมคิดเกี่ยวกับฐำนข้อมูลคือกำรที่ข้อมูลแต่ละชุดถูกป้ อนและจัดเก็บเพียงครั้งเดียว ผู้ใช้ที่ ได้รับสิทธิ์เท่ำนั้นที่จะสำมำรถเรียกใช้ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บได้อย่ำงสะดวกและรวดเร็ว รวมทั้งกำรที่ ข้อมูลเป็นอิสระจำกโปรแกรมประยุกต์เฉพำะกิจใด ๆ โดยกำรบริหำรฐำนข้อมูลเรำจะอำศัย ซอฟต์แวร์ที่เรียกว่ำ ระบบบริหำรจัดกำรฐำนข้อมูล ( DBMS : Database Management System) เป็น ตัวกลำงในกำรเชื่อมต่อระหว่ำง โปรแกรมกับฐำนข้อมูลดังรูป การประมวลผลด้วย Database เป้ าหมายของการใช้ระบบฐานข้อมูล  ลดควำมซ้ำซ้อน  ใช้ข้อมูลร่วมกัน  กำรใช้และกำรเปลี่ยนแปลงข้อมูลสะดวก และถูกต้อง  ลดค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดเก็บและเรียกใช้  ให้ควำมปลอดภัย  เกิดมำตรฐำนในกำรใช้งำน USE R Application Program 1 Application Program 2 Application Program 3 Personal Department USER 1 Personal Department USER 2 Personal Department USER 3 Database Management System (DBMS) A E F G B C D
  • 27. สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล สถำปัตยกรรมของระบบฐำนข้อมูลแบ่งได้เป็นระดับ 3 ระดับ 1) ระดับภำยนอก (External Level) หรือระดับวิว (View Level) เป็นมุมมองของผู้ใช้ ฐำนข้อมูลแต่ละคน จะสนใจเฉพำะส่วนกำรนำข้อมูลเข้ำ-ออกเท่ำนั้น จึงต้องกำร นำข้อมูลอะไรบ้ำงและข้อมูลที่จะนำออกมำแสดงเช่นรำยงำนต่ำง ๆ 2) ระดับแนวคิด (Conceptual Level) หรือระดับตรรกะ(Logical Level) เป็นมุมมอง โครงสร้ำงของฐำนข้อมูลทั้งในระบบในลักษณะของแนวควำมคิด 3) ระดับกำยภำพ (Physical Level) เป็นมุมมองในระดับของกำรจัดเก็บข้อมูลใน ฐำนข้อมูล ในส่วนนี้เป็นหน้ำที่ของระบบกำรจัดกำรฐำนข้อมูลที่จะเชื่อมกำร ทำงำนกับระบบปฏิบัติกำร แบบจาลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (The Relational Database Model) แบบจำลองฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นแบบจำลองที่ได้รับควำมนิยมใช้สูงสุดในปัจจุบัน โดยโครงสร้ำงกำรจัดเก็บข้อมูลอยู่ในรูปของตำรำง ซึ่งประกอบด้วยแถวและหลักที่สัมพันธ์กัน ข้อมูลในแต่ละแถวเรียก เรคคอร์ด (Record) และข้อมูลในแต่ละหลักเรียกว่ำ ฟิล์ด (Field) แสดงได้ ดังรูป Personal Department Marketing Department Finance Department DBMS Database EEMMPPLLOO YY EEEE SSAALLEESS MM AA NN CCUUSSTTOO MM EE RR PPAAYYRROO LLLL External Level (individual user view) Conceptual Level (community user view) Internal Level (storage view)
  • 28. Table (Relation) Student ID NAME ADDRESS TEL ADVISOR 431021001 นำยสรศักดิ์ ไทยแท้ 40/265 บำงรัก 0-2441-0036 T001 431021002 น.ส.วรำงคณำ เงิน แก้ว 465 ทุ่งสองห้อง กทม. 0-2236-0123 T001 431021003 นำงสุนิตำ สุวรรณ ฉำย 53/9 บำงซื่อ กทม. 0-2424-5000 T002 431021004 น.ส.สมฤทัย รำษฎร ดี 1234-9 ยำนำวำ กทม. 0-9555-4000 T002 431021005 น ำย พั ฒ น พ ง ษ์ โอภำส 1347 ลำดกระบัง กทม. 0-1942-0903 T003 Instructor ID NAME TEL T001 น.ส. พรทิพย์ สุขใจ 0-2447-9652 T002 นำยอดุลย์ โสรมรรค 0-1884-5621 T003 นำยสุกิจ มงคลสวัสดิ์ 0-2336-6546 ระบบบริหำรจัดกำรฐำนข้อมูล ระบบบริหำรจัดกำรฐำนข้อมูล หรือที่นิยมเรียกว่ำ ดีบีเอ็มเอส (DBMS) คือชุดของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้ำที่สร้ำง ดูแลรักษำ และใช้งำนส่วนต่ำงๆ ของฐำนข้อมูล และเป็น ตัวกลำงในกำรติดต่อระหว่ำงโปรแกรมประยุกต์กับฐำนข้อมูลให้สำมำรถใช้งำนร่วมกันได้ดังรูป Columns (Fields) Row (Records)
  • 29. USER/PROGRAMMERS โดยมีผู้บริหำรฐำนข้อมูลหรือ DBA (Database Administrator) จะเป็นผู้ดูแลควบคุมกำรใช้ งำน ตัวอย่ำงระบบบริหำรจัดกำรฐำนข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ Ingress, Oracle, Informix, Sybase, Access, Dbase, FoxBase และ Btrive เป็นต้น ในกำรเรียกใช้ เพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในฐำนข้อมูลต้องอำศัยภำษำในกำรติดต่อกับ DBMS เพื่อนำดำเนินวิธี ดังกล่ำวดังนี้ 1. เชื่อมโยงกับภำษำกำรโปรแกรม (Programming Language Interfaces) นิยมใช้วิธีนี้ใน กำรเขียนโปรแกรมที่ต้องมีกำรเรียกใช้หรือแก้ไขค่ำของข้อมูลในฐำนข้อมูลตลอดจนกำรสร้ำง Application Program/Queries Software to processes Queries/Programs Software to Access Stored Data Database DefinitionDisk Storage Data Files DBMS Software Database System
  • 30. รำยงำนที่มีกำรคำนวณซ้ำซ้อน อำจใช้ภำษำ โคบอล (COBOL) ภำษำซี หรือภำษำในระดับสูง ใน กำรเชื่อมต่อเข้ำกับฐำนข้อมูล 2. ภำษำในกำรจัดกำรข้อมูล (Query Language) เป็นภำษำที่ถูกออกแบบมำโดยเฉพำะให้ ใช้กับฐำนข้อมูล นิยมใช้กันมำกในปัจจุบัน เพรำะใช้ง่ำยและเรียกดูข้อมูลได้อย่ำงรวดเร็ว จัดเป็น ภำษำในยุคที่สี่ ไม่ต้องมีกำรแปลภำษำหรือเชื่อมโยงก่อนกำรใช้งำน 3. ตัวสร้ำงรำยงำน (Report Generator) เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมำให้สำมำรถจัดทำ รำยงำนโดยนำข้อมูลจำกฐำนข้อมูลมำจัดทำรำยงำนและสำมำรถทำกำรออกแบบรูปแบบรำยงำนได้ ง่ำย สะดวก และรวดเร็ว 4. โปรแกรมอรรถประโยชน์ของระบบ (System utilities) จะเป็นโปรแกรมที่ถูกใช้งำนโดย ผู้บริหำรฐำนข้อมูลหรือ DBA โปรแกรมประเภทนี้จะใช้สำหรับกำรเก็บสำรองฐำนข้อมูล กำรเรียก ข้อมูลหรือจัดเก็บข้อมูลลงในฐำนข้อมูล และกำรกู้คืนฐำนข้อมูล (Restore) ภาษาในการจัดการข้อมูล ภำษำในกำรจัดกำรข้อมูลจำแนกเป็น 2 ประเภทคือ 1. ภาษาอธิบายข้อมูล (Data Definition Language : DDL) เป็นภำษำที่ใช้ในกำรอธิบำยโครงสร้ำง (Schema) ของข้อมูลที่เก็บอยู่ในฐำนข้อมูล 2. ภาษาสาหรับการดาเนินงานข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) เป็นภำษำที่ใช้ในกำรจัดกำรกับข้อมูลที่อยู่ในฐำนข้อมูลตั้งแต่กำรเรียกดู จนถึงกำรแก้ไข เปลี่ยนแปลง ภำษำที่นิยมมำกที่สุดคือ SQL (Structure Query Language) ซึ่งมีกำรใช้งำนอย่ำง กว้ำงขวำง ตัวอย่าง การใช้ SQL INSER INTO Faculty VALUE (‘101’, ‘คณะวิทยำศำสตร์’); ความหมาย ให้ใส่ข้อมูล 2 ตัวคือ 101 และ คณะวิทยาศาสตร์ ลงในตาราง Faculty DELETE faculty WHERE fac_name = ‘คณะมนุษย์ศำสตร์’; ความหมาย ให้ลบข้อมูลในตาราง faculty ที่มี fac_name เป็นคณะมนุษย์ศาสตร์ SELECT fac_name FROM faculty;
  • 31. ควำมหมำย เลือกข้อมูล fac_name จำกตำรำง faculty มำแสดง โครงสร้างของระบบจัดการฐานข้อมูล โครงสร้ำงของระบบจัดกำรฐำนข้อมูลจำแนกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ระบบฐำนข้อมูลศูนย์กลำง (Central database system) เป็นลักษณะที่ฐำนข้อมูลและระบบจัดกำรฐำนข้อมูลอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว หรือ Site เดียวกันเท่ำนั้น ดังรูป 2. ระบบฐำนข้อมูลแบบกระจำย (Distributed Database System) เป็นลักษณะที่ฐำนข้อมูลและ DBMS จัดเก็บอยู่บนเครื่องหลำยเครื่อง หรือ Site ต่ำงกัน (หรือเรียกว่ำโหนด-node) ซึ่งจะทำกำรเชื่อมโยงถึงกันผ่ำนระบบกำรสื่อสำร ดังรูป สำมำรถเลือก ตัดสินใจได้ว่ำควรเลือกข้อมูลจำก site ใด และสำมำรถฟื้นฟูได้เมื่อมีปัญหำ ซึ่งเหมำสำหรับข้อมูล บำงประเภทที่ต้องมีกำรเก็บไว้อย่ำงกระจำยอย่ำงข้อมูลกำรเงินของธนำคำรต่ำงสำขำแต่หลำย ๆ สำขำก็คือธนำคำรแห่งเดียวกันเป็นต้น ทำให้สำมำรถใช้ข้อมูลร่วมกันได้และเพิ่มประสิทธิภำพใน กำรทำงำนได้อย่ำงดี ระบบงำนที่เหมำะสำหรับกำรใช้ฐำนข้อมูลแบบกระจำย ได้แก่ ระบบกำรเบิก ถอนเงินจำกธนำคำร ระบบกำรซื้อขำยจองสำยกำรบิน ระบบบัตรเครดิตของสถำบันกำรเงิน เป็นต้น เครือข่ำยสื่อสำร Application Process Application Process Data Process Application Process
  • 34. หน่วยที่ 4 เรื่อง ระบบปฏิบัติกำรและโปรแกรมประยุกต์ใช้งำน 1.ระบบปฏิบัติการ (Operation System) ระบบปฏิบัติกำร หมำยถึง ชุดของโปรแกรมที่อยู่ระหว่ำงฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ มีหน้ำที่ในกำรควบคุมกำรปฏิบัติงำนของฮำร์ดแวร์ และสนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมกำรทำงำน ของฮำร์ดแวร์ให้กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ ตัวอย่ำงเช่น MS-DOS , UNIX , Windows ,Mac OS และ Linux เป็นต้น ระบบปฏิบัติกำรมีหน้ำที่หลัก ๆ คือ  ควบคุมและจัดกำรกำรดำเนินงำนของทรัพยำกรในระบบ เช่น ซีพียู หน่วยควำมจำ โปรแกรมที่เข้ำมำทำงำนในระบบ ไฟล์ต่ำง ๆ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้ำ-ออก  จัดกำรงำนในส่วนของกำรติดต่อกับผู้ใช้  ระบบปฏิบัติกำรบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จัดกำรระบบสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว ใช้งำนได้ง่ำย ผู้ใช้ต้องเลือกใช้โปรแกรมประยุกต์ที่ พัฒนำสำหรับใช้สำหรับระบบปฎิบัติกำรนั้น ตัวอย่ำงเช่น DOS , Windows ,Mac OS และ Linux ใน ยุคใหม่มีกำรพัฒนำโปรแกรมแบบแพลตฟอร์มฟรี คือ ไม่ผูกติดกับระบบฮำร์ดแวร์และระบบ ปฎิบัติกำรทำให้ผู้พัฒนำโปรแกรมทำงำนง่ำยขึ้นไม่ต้องเขียนโปรแกรมงำนเดียวกันหลำยชุด สำหรับหลำยแพลตฟอร์ม เช่น เปรียบเทียบระหว่ำง DOS กับ Windows
  • 35.  ระบบปฏิบัติกำรดอส (DOS : Disk Operating System) ลักษณะกำรติดต่อกับผู้ใช้เป็นบรรทัดของตัวอักษรและผู้ใช้ต้องพิมพ์คำสั่งเป็นรำย บรรทัด Windows OS สนับสนุนกำรทำงำนของ DOS ตัวอย่ำงคำสั่ง DIR ,RENAME ,COPY, DELETE, MKDIR, CLS  ระบบปฏิบัติวินโดวส์ (Windows OS) เป็นระบบปฏิบัติกำร ที่ได้รับกำรพัฒนำโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เพื่อใช้สำหรับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์หลักกำรทำงำนของวินโดวส์เป็นแบบ Multitasking ติดต่อกับผู้ใช้แบบกรำฟฟิก (Graphical User Interface : GUI) มีลักษณะใช้งำนง่ำย (User Friendly)ใช้เมำส์ช่วยในกำรเลือกคำสั่ง ผู้ใช้ไม่ต้องจำรูปแบบคำสั่งมำก ไม่ต้องพิมพ์มำก  ระบบปฏิบัติกำรเครือข่ำย (Network Operating System หรือ NOS) เป็นระบบปฏิบัติกำรที่ได้รับกำรออกแบบและพัฒนำมำเพื่อให้เกิดกำรติดต่อสื่อสำร ระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ และช่วยให้เกิดกำรใช้ทรัพยำกรร่วมกันได้ทั้ง -ซอฟต์แวร์ -ฮำร์ดแวร์ เช่นเครื่องพิมพ์ฮำร์ดดิสก์ -ข้อมูล เช่น ฐำนข้อมูล หรือไฟล์ โดยใช้หลักกำรของไคลแอน/เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server)  ระบบปฏิบัติกำรบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่
  • 36. สำมำรถรองรับกำรทำงำนหลำยงำน ณ เวลำเดียวกัน (Multitasking) จำกผู้ใช้หลำยคน (Multi User) ได้พร้อมกัน และมีระบบรักษำควำมปลอดภัยสูง ตัวอย่ำง ซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติกำร Note:CE (Consumer Electronic) ซอฟต์แวร์สาหรับการพัฒนาโปรแกรม (Translator) ทำหน้ำที่กำรแปลภำษำคอมพิวเตอร์เป็นภำษำเครื่อง  แอสแซมเบลอ (Assembler) แปลโปรแกรมภำษำแอสแซมบลี  คอมไพเลอร์ (Compiler) แปลโปรแกรมภำษำระดับสูงเป็นโปรแกรมภำษำเครื่อง  อินเทอพรีเตอร์ (Interpreter) ใช้กำรแปลและดำเนินกำรทีละคำสั่ง คอมไพเลอร์แปลโปรแกรมทาได้หลายแบบ ประเภท DOS WINDOWS UNIX LINUX PcDOs Ver. 95 A/UX OpenLinux MsDos Ver. 98 AIX Red Hat DRDos Ver. 2000 BSD/OS TimeSys CP/M NT SCO-Unix SuSE DVD APPLE Dos Macintosh SunOS WindowsCE Tru64 สิ น ค้ า